ค�ำ นำ�ผู้เขยี น ความช่นื ชอบทางดา้ นศิลปะแตไ่ มไ่ ดม้ คี วามสนใจทางดา้ นน้โี ดยตรงทำ�ให้ฉันพอรเู้ ร่ืองศลิ ปะได้บ้างประปราย ฉันไม่ได้มีความคดิ ท่ีอยากศกึ ษาศลิ ปะใดๆเพ่ิมเติมจนกระท่งั การเรยี นวชิ ามนษุ ย์กบั ศลิ ปะไดส้ อนฉนั ใหม้ องศิลปะลึกลงไปจากส่งิ ทฉี่ ันเคยพบเจอ ฉนั หลงใหลในศิลปะมากข้ึนเพราะได้ร้ถู ึงท่มี าของส่งิ เหล่านัน้ สำ�หรับฉนั ศิลปะในแตล่ ะยคุ มคี วามแตกตา่ งแต่ตา่ งแฝงเรอื่ งราวท่นี า่สนใจไวท้ ั้งนัน้ การศึกษาศิลปะในลักธสิ จั นิยมก็เช่นกัน ฉันพอจะทราบถึงความเป็นมาของเรอ่ื งราวในศิลปะยุคนม้ี าบา้ งแตก่ ็พอรู้เทา่ ทีฉ่ นั เคยฟังมา ความสนใจเพ่ิมเตมิ เกย่ี วกบั ความเป็นจริงท่ีไม่ประดษิ ฐห์ รือถกู ปรงุ แต่งใดๆท�ำ ใหฉ้ นั เลือกที่จะศึกษาเรื่องราวเหล่าน้เี พิ่มมากข้ึนผา่ นผลงานการวาดภาพของจติ รกรท่ีชื่อ“กสุ ตาฟว์ ครู ์เบย”์ การศึกษาเรอื่ งราวของสจั นิยมจากศิลปนิ ทา่ นนแี้ สดงให้เหน็ ถงึ ความเป็นจรงิ ในแง่มุมต่างๆมากมายไม่เพียงแค่ดา้ นสังคม แตย่ งั รวมถึงด้านธรรมชาตดิ ้วย ฉันหวงั เพียงวา่ การศกึ ษาศาสตรแ์ ห่งความเป็นจรงิ ที่ฉันไดร้ วบรวมจากผลงานของศิลปินท่านนี้จะช่วยน�ำ ผ้อู า่ นหนงั สอื เลม่ นี้ให้เขา้ ถึงความจรงิ ทเ่ี กิดขึ้นในแงม่ ุมทแี่ ตกตา่ งออกไป รวมถึงสามารถนำ�ส่ิงเหลา่ นี้มาประยกุ ต์ใชไ้ ด้ไมม่ ากก็นอ้ ย
- แดผ่ ู้ท่หี ลงใหลในศลิ ปะแหง่ ความเปน็ จรงิ - ชลนิภา
สารบญับทน�ำ หน้าบทท่ี 1: Gustave Courbet 9บทที่ 2: สจั นยิ มแหง่ ชวี ติ 12-13 14-23 Realism of Life - The Stone Breakers (1849) 24-31 32-41 - A Burial at Ornans (1851) 42-43 - The Meeting or Bonjour Monsieur Courbet (1854) - The Artist’s Studio (1855)บทท่ี 3: สัจนิยมแห่งธรรมชาติ Realism of Nature - Stormy Sea (1869) - The Cliff at Etretat after the Storm (1870) - The Wave (1870)Gallery de Courbetบรรณานกุ รม
-8-
บทน�ำ ความเพอ้ ฝันและความวิลศิ มาหราเกนิ กวา่ ทม่ี นุษยจ์ ะแตะตอ้ งได้ การเทิดทนู ในสถาบันของชนชน้ั สูง รวมถงึ ศลิ ปะทต่ี อบสนองเพยี งชนช้ันที่มบี ทบาททางสงั คมของลกั ธทางศลิ ปะในยคุ ท่ีผา่ นมาทำ�ให้ “กสุ ตาฟว์ คูรเ์ บต”์ จิตรกรชาวฝรง่ั เศสหันมาสร้างผลงานท่ีเปน็ ภาพสะทอ้ นชีวติ ประจำ�วนั ของมนษุ ย์ โดยท�ำ ลายกฏเกณฑด์ ้านศลิ ปะในยคุ แรกทง้ั หมด หันมาสนใจสง่ิ ทเ่ี กิดขนึ้ ตามความเปน็ จรงิโดยปราศจากการปรุงแต่งใดแมก้ ระทัง่ การนำ�ทศั นคตขิ องตนลงไปในภาพ ซ่งึแสดงให้เห็นถึงแก่นแทข้ องความเปน็ จริงท่ีเกิดขน้ึ ในสงั คม โดยเนน้ รายละเอียดทเ่ี หมือนจริงตามสิ่งท่ีศิลปนิ เห็น นอกจากนค้ี วามเป็นจริงท่เี กิดขนึ้ ไม่เพยี งแค่สะท้อนสภาพสงั คมเทา่ นนั้ แต่ยังมกี ารเสียดสีการเมืองรวมทั้งระบบชนชน้ั ทางสงั คมในสมัยนนั้ ท่มี คี วามเหลือ่ มลำ้�กนั ในทกุ ด้านไมว่ ่าจะเป็นดา้ นความเปน็ อยู่หรือแม้แตด่ า้ นความคดิ ความกล้าทีจ่ ะแตกต่างจากศลิ ปนิ ท่านอนื่ ท�ำ ให้ครู เ์ บต์กลายเป็นศลิ ปินทไี่ ด้รบั ความสนใจอย่างกว้างขวางในแง่ตา่ งๆมากมายและถูกวิพากษ์วิจารณอ์ ยา่ งหนัก จนกลายมาเปน็ ศลิ ปนิ ผซู้ ง่ึ เป็นผ้นู �ำ ของลกั ธิศิลปะแห่งความเปน็ จริง หรือ ลกั ธสิ ัจนยิ ม -9-
“All I have tried to do is to derive, from a complete knowledge of tradition, a reasoned sense of my own independence and individuality.” “ทกุ สง่ิ ที่ฉันพยายามทจ่ี ะท�ำ คอื พยายามสืบทอดสง่ิ ต่างๆจากความรู้เรอื่ ง ขนบธรรมเนียมประเพณที ส่ี มบรู ณ์ เหตุผลของความรูส้ กึ ของความเปน็ อสิ ระและความแตกตา่ งในตัวฉัน” - Gustave Courbet - - 10 -
- 11 -
บทท่ี 1CGouustrabveet - 12 -
กสุ ตาฟว์ คูร์เบต์ เกิดในชว่ งฤดูรอ้ นในป1ี 819 ในชนบทของเมอื งออรน์ านส์ ใกล้เทอื กเขาแอลป์ ครู เ์ บตเ์ ติบโตมาในสภาพแวดล้อมทส่ี วยงามโดยมคี รอบครวั คอยสนบั สนุนเขามาโดยตลอด ครอบครัวของเขาเปน็ ชาวนาที่ตอ่ ต�ำ้ นระบบกษัตริยแ์ ละขนุ นาง คูรเ์ บต์สนใจศลิ ปะมาตงั้ แต่เดก็ โดยเร่มิ ตน้จากการ วาดภาพนอ้ งสาวสามคน กสุ ตาฟว์ ครู เ์ บต์เปน็ ผ้นู ำ�ทเี่ รียกไดว้ ่าเป็นศุนย์กลางของลกั ธสิ ัจนยิ มในชว่ งกลางศตวรรษท่1ี 9 เขาต่อตา้ นแนวคิดด้ังเดิมและการละครตา่ ง รวมถงึตอ่ ตา้ นศิลปะในยคุ ท่ีผ่านมา ผลงานของเขาสื่อถงึ ความเปน็ จริงทางกายภาพในสงั คมทเ่ี กดิ จากการสงั เกตของตวั เขาเอง แมก้ ระท่ังพดู ถงึ ความเปน็ จรงิ ท่ีธรรมดาและความเป็นจรงิ ในสังคมท่ไี ม่ได้สวยงามเฉกเชน่ ภาพวาดในยคุ กอ่ นนอกจากนค้ี รู ์เบตย์ งั มคี วามเชื่อในระบอบสาธารณรัฐอีกดว้ ย เขาเสียชีวิตลงจากการโดนเนรเทศไปยังสวติ เซอร์แลนด์เพราะเขาตอ้ งรับผิดชอบเรือ่ งคา่ใชจ้ ่ายในการปรบั ปรุงจัตรุ ัส ปารีส วอ็ ง โดม(Paris’ Vendome Column)อยา่ งไรกต็ าม นกั ประวัตศิ าสตรไ์ ดเ้ ห็นผลงานของคูร์เบตแ์ ละไดเ้ ห็นว่าผลงานศลิ ปะของเขามีความส�ำ คัญต่อศลิ ปินในศลิ ปะในยคุ ต่อมาเชน่ เอดวั ร์ มาเน่ต์และโคลด โมเนต่ ์ ในปคี .ศ.1839 เขาเดินทางเขา้ มาอยูใ่ นกรุงปารีส เพือ่ เรียนกฎหมายแต่แล้วกต็ ัดสนิ ใจเปน็ จิตรกรแทน โดยภาพวาดสว่ นใหญจ่ ะนำ�เสนอความเปน็จรงิ จากสงิ่ ทเี่ ขาพบเหน็ ทง้ั ทางด้านสงั คมและด้านธรรมชาติ ไมใ่ ชค่ วามเพ้อฝนัเหมอื นผลงานศิลปะในยคุ ท่ีผา่ นมา ผลงานของครู เ์ บตท์ ำ�ใหผ้ คู้ นสามารถเข้าใจไดถ้ งึ ความเปน็ จริงของสงั คมทถ่ี ูกครอบง�ำ ทางความคดิ ที่เขาไดม้ าจากความไม่พอใจในการศกึ ษาในฝร่งั เศส เขาต่อต้านศิลปะยุคด้งั เดมิ (Neo-Classic) และยุคจินตนิยม(Romanticism) ท่ีรกั ษาความอ่อนนอ้ มถอ่ มตนของชวี ติ ในชนบท และมกัน�ำ ผูเ้ ยาว์มาเป็นแบบในการวาดภาพแลว้ ทำ�เหมอื นพวกเขาเป็นเพยี งสงิ่ ของประกอบฉากในการแสดงผลงานศิลปะ - 13 -
บทที่ 2สRัจeนยิaมlแiหs่งmชวี ิตof Life
TBhreeaSktoenres 1849 - 16 -
Dimensions: 1.65 m x 2.57 mPeriod: RealismCreated: 1849Media: Oil on canvas ภาพ The Stone Breakers เป็นภาพที่โดดเด่นท่ีสดุ ของครู เ์ บต์ เปน็ภาพทีแ่ สดงถงึ ชนชน้ั แรงงานที่เขาไดพ้ บ ภาพนแ้ี สดงใหเ้ ห็นถึงชาวนาธรรมดาสองคน คูร์เบต์แสดงออกถงึ ความเป็นจริงโดยไม่ได้แสดงความรูส้ ึกส่วนตัวใดๆผ่านการวาดภาพน้ี เขาวาดผชู้ ายสองคนซึง่ คนหนึ่งเป็นเด็กผชู้ ายทเ่ี ด็กเกนิ กว่าจะทำ�งานที่หนักขนาดน้ีได้ สว่ นอีกคนก็แก่เกนิ กวา่ จะทำ�งานนไ้ี ด้เช่นกัน คูรเ์ บตแ์ สดงถึงความร้สู กึ ยากลำ�บากและความออ่ นเพลยี ของชาวนาทัง้ สองดว้ ยความเห็นใจและรังเกียจชนชน้ั ที่สงู กวา่ นักปรชั ญาทางการเมืองด้านอนาธปิ ไตยไดต้ คี วามภาพนีว้ า่ เป็นภาพที่เป็นสญั ลกั ษณข์ องชาวนาทั่วโลก แต่ส�ำ หรับครู ์เบตแ์ ลว้ ภาพนี้เปน็ เพยี งภาพวาดท่เี ขาวาดไว้เพ่อื เกบ็ ไว้เป็นความทรงจำ�ถึงสง่ิ ทเี่ ขาได้เจอเท่าน้นั เขาได้กล่าวกบั เพอ่ื นของเขาทเ่ี ป็นนกั วิจารณ์ทช่ี อื่ ฟราซิส เวย์ และแชมปฟ์ ลวั รีวา่ มันไม่ใชก่ ารเผชิญหนา้เพือ่ แสดงออกถงึ ความยากจน ฉันแค่ไดค้ วามคดิ เพือ่ วาดภาพในเวลานนั้ และสถานทน่ี น้ั ฉันบอกพวกเขาใหม้ าหาฉนั ท่ีสตดู ิโอในวนั พรุ่งน้เี ชา้ ภาพวาดส่วนใหญข่ องกุสตาฟว์ คูรเ์ บต์ ให้ความสำ�คัญกบั ชีวติ ธรรมดาทว่ั ไปของคนและสถานทน่ี ั้นๆในฝรั่งเศส คูร์เบต์พยายามวาดภาพชีวิตคนธรรมดาทว่ั ไปโดยแฝงสัญลักษณด์ ้านการปกครองเอาไว้ เขาวาดภาพตามความจรงิ โดยไม่ตกแต่งมนั เพมิ่ เติมเกินกว่าส่งิ ที่เขาเห็น ปลีกตวั ออกจากความงดงามที่เติมแตง่ จากความเป็นจริงเฉกเชน่ จติ กรทา่ นอ่ืน และนน่ั ทำ�ใหค้ รู เ์ บต์กลายเป็นผนู้ �ำ ลกั ธิสัจนยิ ม - 17 -
1851A Burial at Ornans - 18 -
Dimensions: 3.15 m x 6.6 mLocation: Musée d’OrsayPeriod: RealismCreated: 1849–1850Media: Oil on canvas ภาพ A Burial at Ornans เป็นผลงานท่ีสรา้ งชอ่ื เสยี งใหแ้ ก่ครู เ์ บตอ์ ยา่ งมาก เปน็ ภาพทแี่ สดงถงึ ความเศร้าหมองของชนช้นั กลางทีย่ นื รายล้อมหลุมศพท่ีตง้ั อยูใ่ นเมอื งบา้ นเกิดของเขา ภาพข้างตน้ ท�ำ ใหผ้ คู้ นตคี วามได้ในหลายแง่ มีการถกเถียงกนั ถงึ ความคิดที่แทจ้ รงิ ของศิลปนิ ทต่ี อ้ งการจะสอื่ ในภาพ มีการแสดงถึงการปกครองในฝรัง่ เศสในสมยั นน้ั ครู ์เบตจ์ งใจวาดตัวเองใสช่ ุดประจำ�ทอ้ งถ่นิ สีดำ�ลงไปในภาพเพ่ือเปน็ สญั ลักษณ์ของความทกุ ขท์ รมานตามความเป็นจริงปกตโิ ดยไมไ่ ด้แสดงออกถึงอดุ มคตขิ องตน ภาพวาดขนาด 22 ฟตุ ทีไ่ ม่แสดงการจัดองคป์ ระกอบแบบด้ังเดมิ รปูทรงต่างๆถกู ระบายไปในโทนสีมืดทึม ไมม่ ีการเน้นไปท่รี ปู ทรงของคนใดคนหนึง่ในภาพแสดงใหเ้ หน็ ถงึ จุดเดน่ ของลกั ธสิ ัจนิยมไดเ้ ป็นอย่างดี ภาพนี้ยงั แสดงให้เห็นถึงพิธฝี งั ศพที่แทจ้ รงิ ปราศจากมโนมยั หรือความรูส้ ึกดา้ นจติ ใจ เนน้ ความเปน็ จริงในธรรมชาตแิ ละชวี ติ มนุษย์ คูรเ์ บตจ์ งใจไม่แสดงแสงตา่ งๆท่ีเพมิ่ เติมเข้ามานอกเหนอื จากสิง่ ทเ่ี ขาเหน็ เพอ่ื ส่อื ถงึ ความเปน็ จรงิ ในขณะทีแ่ สงของพระอาทิตย์ตกตามความเป็นจรงิ ขณะนั้นแสดงออกถงึ ความเปลย่ี นแปลงทางด้านจิตวิญญาณจากภายในสภู่ ายนอกได้อย่างดี ครู เ์ บตว์ าดท้องฟ้าในยามเย็นทีถ่ กู ปกคลมุ ไปดว้ ยเมฆเป็นเหมอื นทางเดนิ ผา่ นจากกลางวนั ไปยังกลางคืนซ่งึ เปน็ เสียงสะท้อนจากโลงผ่านแสงสว่างไปยังความมืด นกั วจิ ารณ์บางทา่ นเหน็ ถึงความยึดม่นั ท่จี ะแสดงถึงความเป็นจรงิ ของความตายของคนนชนบทจากการถูกดูแคลนในศาสนา กลุม่นักวจิ ารณท์ ี่เปน็ พวกอนาธปิ ไตยไดอ้ นมุ านถึงภาพนวี้ า่ เปน็ ภาพท่ีสื่อถึงความเท่าเทยี มกนั และคณุ ธรรมของมนุษยท์ ุกคน - 19 -
The ASrttiust’sdio1855 - 20 -
Location: Musée d’OrsayPeriod: RealismCreated: 1854–1855Media: Oil on canvas ภาพวาดในสตดู โิ อขนาดใหญ่ทีค่ รู ์เบต์จดั องคป์ ระกอบภาพไว้ไดอ้ ยา่ งซบัซอ้ นซง่ึ สามารถตคี วามออกมาได้หลายแงม่ ุม คนกลุ่มแรกทางด้านขวามือ เราสามารถตีความไดว้ า่ ผชู้ ายที่มหี นวดเคราคือนกั สะสมผลงานศิลปะท่ีคอยสนบั สนนุ คูร์เบยท์ ่ีช่อื อลั เฟรด บรูยาส สว่ นคนท่ีอยู่ด้านหลังของเขาคือนักปรัชญาอนาธิปไตย นกั วจิ ารณท์ ่ีชอื่ แชมป์ฟลัวรี นัง่อยู่บนม้านง่ั ในขณะที่ บูวเดอเลีย กำ�ลงั หมกมุ่นอยกู่ บั การอ่านหนังสือ คูร่ ักท่ีอยู่ข้างหนา้ เปน็ ตัวแทนของผู้ที่รักในศลิ ปะ และครู่ ักทีอ่ ยูร่ มิ หน้าตา่ งเปน็ ตัวแทนของความรักที่ไมม่ ีขอ้ จำ�กัดใดๆ ในอีกดา้ นหนง่ึ คูรเ์ บตแ์ สดงใหเ้ ห็นถึงชวี ติ ธรรมดาในทกุ วันของมนุษย์เราสามารถมองเหน็ บาทหลวง พอ่ คา้ นักล่าทมี่ ีรปู ร่างหน้าตาค่อนขา้ งคลา้ ยกบัจกั รพรรดนิ โปเลียนที3่ หรือแมแ้ ต่ผ้วู ่างงานและเดก็ ขอทานซง่ึ เปน็ สัญลักษณข์ องความยากจน คูร์เบต์วาดภาพกีต้า ดาบสน้ั และหมวกอยกู่ ับนายแบบผู้ชายเพื่อเสยี ดสีการศกึ ษาศลิ ปวิชาการรูปแบบเดิม แตล่ ะรูปทรงในภาพ คูร์เบตใ์ หค้ วามหมายทีแ่ ตกต่างกัน หญิงสาวท่มี ีลกั ษณะดั่งเทพธดิ าเปลือยกายอยแู่ สดงถึงเรอื นรา่ งที่แทจ้ ริง นอกจากนย้ี งั มเี ดก็ชายยืนอยกู่ ับแมวสีขาวทน่ี อนอยู่ ตรงกลางภาพคูรเ์ บตไ์ ด้วาดตวั เองลงในภาพด้วย ดว้ ยเหตนุ ที้ ำ�ให้เราสามารถเข้าใจได้วา่ คูรเ์ บตม์ ีบทบาทมากต่อสังคม คูรเ์ บต์ได้สรา้ งศาลาของลกั ธสิ จั นยิ ม(Pavilion of Realism)ดว้ ยเงนิ สว่ นตวั ของเขา และได้จดั แสดงผลงานส่สู าธารณะ ร่วมกับผลงานท่ีช่อื A Burial at Ornans ของเขาและนนั่ ทำ�ใหผ้ ลงานของเขาเปน็ ท่รี ู้จกั ในสังคม - 21 -
The Meeting orBonjour Monsieur Courbet 1854 - 22 -
Dimensions: 1.29 m x 1.49 mPeriod: RealismCreated: 1854Media: Oil on canvas ภาพจิตรกรรมขนาดใหญข่ องคูรเ์ บตช์ ้ินนถ้ี ูกวาดขึน้ ในขณะทีเ่ ขาพบปะกบั อลั เฟรด บรยู าส ผทู้ ีค่ อยอปุ ถัมภแ์ ละใหก้ ารสนบั สนนุ เขา ด้านขวาของภาพคืออัลเฟรด บรยู าสที่มาพร้อมกบั ผ้ตู ิดตามของเขาซึง่ เหน็ ไดจ้ ากท่าการยืนท่ีนอบน้อมของชายดา้ นขวาสดุ ของภาพ จดุ สำ�คัญของภาพน้ีคือภายในภาพแสดงให้เหน็ ถงึ ความชื่นชมซ่ึงกันและกันของศิลปิน คอื ครู ์เบตแ์ ละผู้สนับสนุนผลงานของเขา คอื อลั เฟรด บรยู าส - 23 -
บทที่ 3สจั นิยมแหง่ ธรรมชาติ
Realism of Nature
Stormy Sea 1869 - 26 -
Date: 1819-1877Style: RealismGenre: landscapeMedia: Oil on canvas ภาพ Stormy Sea ในปี 1869 โดยกุสตาฟว์ คูรเ์ บต์ถือเปน็ หนึง่ ในจิตรกรรมสัจนยิ ม โดยการวาดทัศนยี ภาพ ววิ ชายทะเลแสดงถงึ ความเปน็จริงท่วั ไปในธรรมชาติโดยใช้จังหวะแปรงหนักและสีจำ�กัด คูรเ์ บตป์ ฏเิ สธอุดมการณ์ทางศาสนา และเปรียบเทียบจ�ำ นวนของภาพวาดแบบดั้งเดิมเขาวาดผู้คนทว่ั ไปในแตล่ ะวนั ก่อนหน้าน้สี �ำ หรบั จติ รกรรมประวตั ิศาสตร์ครู เ์ บต์เป็นแรงบันดาลใจใหก้ บั ศิลปนิ ในลกั ธปิ ระทับใจในเวลาต่อมา และช่วยปทู างใหศ้ ลิ ปะสมัยใหม่ ภาพของครู ์เบตเ์ ป็นภาพทะเลฉกี โดยพายแุ บง่ เปน็ 2 สว่ น คือส่วนครึ่งล่างของฉากที่ถูกยดึ ครองโดยคลนื่ ตที ต่ี ีเข้าสฝู่ งั่ ขณะที่เมฆหนักลอยเหนือพ้ืนนำ�้ การเคล่อื นไหวในทะเลถูกวาดออกมาดง่ั ภาพจริงทคี่ ูร์เบตเ์ หน็ - 27 -
1870The Calfitffeart tEhtreetSattorm - 28 -
Date: 1869-1870Style: RealismGenre: landscapeMedia: oil on canvasDimensions: 162 x 133 cm Etretat สามารถดึงดดู จิตกรหลายท่านให้มาเยือนต้ังแตต่ อนต้นศตวรรษท่ี 19 ฤดูร้อนในป1ี 869 มาถึงตาของครู เ์ บต์ในในการมาเยอื นเมืองนอรแ์ มนขนาดเลก็ น้ี เขาอาศยั อยูใ่ นบา้ นตดิ ทะเลและตดิ กับหนา้ ผาทางซา้ ยของอา่ ว Falaise d’aval ซงึ่ เขาวาดภาพนี้มาหลายครัง้ แล้ว ในภูมทิ ศั นท์ ่ีบรสิ ทุ ธิ์ ปราศจากผคู้ นแหง่ น้ี ท�ำ ใหค้ รู ์เบต์สามารถสรา้ งดลุ ยภาพของแผ่นดินและหนิ ทอ้ งฟ้าและทะเล เขาท�ำ ใหแ้ ตล่ ะองค์ประกอบทางธรรมชาตเิ กอื บชัดเจน ความชัดเจนของอากาศและแสงท่ีสดใสหลงั พายุ นักวิจารณ์ที่ชือ่ คาสตาจนารี เพอ่ื นของครู เ์ บตไ์ ด้กลา่ วไว้ว่า“ความอิสระท่ีเอิกเกริกในภาพเกิดจากอากาศที่ไหลเวียนอยใู่ นผ้าใบและห่อหมุ้ รายละเอยี ดตา่ งๆ” คูรเ์ บตส์ ่ง The Etretat Cliffs after the Storm และ TheStormy Sea ซ่งึ เปน็ ภาพวาดในเวลาเดยี วกัน ไปในงานศิลปะประจำ�ป1ี 870 และการจดั แสดงนท้ี ำ�ใหช้ อื่ เสยี งของครู เ์ บตเ์ ป็นท่รี ู้จกั อยา่ งแพรห่ ลาย - 29 -
T1h8e7W0 ave - 30 -
Location: Musée D’Orsay, Paris, FranceYear: 1870Dimensions: 62.99 inch wide x 46.06 inch highOrientation: Landscape ในช่วงฤดรู อ้ นปี 1869 คูรเ์ บตไ์ ด้ไปพกั อาศัยอยทู่ ่ี Etretat เขาเสนอ มมุ มองทแ่ี รงกลา้ ของเขาด้วยภาพทะเลที่มพี ายโุ หมกระหนำ�่ สภาพอากาศที่ แปรปรวนแสดงให้เหน็ ถึงความรนุ แรงที่มอี ยูใ่ นธรรมชาติ ครู ์เบต์ประสบความ สำ�เร็จอย่างมากกบั การถา่ ยทอดความประทับใจอนั เป็นนริ ันดรโ์ ดยครู ์เบต์แบง่ ส่วนประกอบในรูปของเขาเป็น 3 กล่มุ ตามแนวนอน ประกอบดว้ ยชายหาดทม่ี ี เรือประมงตง้ั อยู่ คลน่ื ทะเลทร่ี ะบายดว้ ยสเี ขียวทึบโดยเพิ่มความโดดเด่นใหแ้ ก่ ภาพด้วยฟองคลน่ื สีขาว และสว่ นสุดท้ายคือสว่ นทอ้ งฟ้าอันมดื คร้ึม ในเมือง Gill Blas วนั ที่ 28 เมษายน 1886 ผชู้ ายทชี่ ื่อมอวพาสซาน เลา่ ถึงการไปเยยี่ มเยอื นครู ์เบต์ในช่วยที่เขาอาศยั อยู่ Etretat “ในห้องใหญแ่ ละ วา่ งเปล่า ผชู้ ายรปู รา่ งอวบเน้อื ตวั มันแผร่บกำ�ลังตบสีขาวลงบนหน้าผาที่ยังว่าง เปลา่ อยู่ดว้ ยมดี ส�ำ หรับทำ�อาหาร เวลาผา่ นไปเขากย็ ังคงเอาหน้าแนบกระจก แลว้ มองออกไปที่พายนุ อกหนา้ ต่าง นำ้�ทะเลทหี่ อ่ หุ้มดว้ ยฟองคล่นื ทเี่ ป็นเหมือน เสยี งคำ�รามของตัวมันเองใกล้เขามาเหมอื นจะซัดบา้ นทต่ี งั้ อยู่ไปท้ังหลัง น�ำ ้ ทะเลซัดกระทบและไหลลงตามกำ�แพง” - 31 -
Gallery deCourbet
Study for Les Demoiselles des bords de la Seine (1856)Jo, the Beautiful Irish Girl (1866) - 34 -
Julieta Courbet a la edad de diez años(ca. 1841 - ca.1841) - 35 -
Three Young Englishwomen by a Window (1865) - 36 -
Trellis (1862)Gypsy in Reflection (1869) - 37 -
Sleeping Nude (1858)Woman with a Parrot (1866) - 38 -
The Weir at the Mill (1866)- 39 -
Autumn Sea (1867)Sunset, Vevey, Switzerland (1874) - 40 -
Low Tide at Trouville (1865) Soleil Couchant, Marine (1865 or 1869) - 41 -
บรรณานุกรม“Gustave Courbet.” [ระบบออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า http://www.theartstory.org/artist-cour-bet-gustave.htm (26 เมษายน 2559).“Gustave Courbet Art works.” [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทมี่ า http://www.theartstory.org/artist-cour-bet-gustave-artworks.htm#pnt_1 (26 เมษายน 2559).“The Artist’s Studio, 1855 by Gustave Courbet.” [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ทีม่ า http://www.gustave-courbet.com/the-artists-studio.jsp (27 เมษายน 2559).“A Burial at Ornans, 1851 by Gustave Courbet.” [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า http://www.gustave-courbet.com/a-buri-al-at-ornans.jsp (27 เมษายน 2559).“The Stone Breakers, 1849 by Gustave Courbet.” [ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ท่มี า http://www.gustave-courbet.com/the-stonebreakers.jsp (27 เมษายน 2559).“The Etretat Cliffs after the Storm.” [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ท่มี า http://www.musee-orsay.fr/en/collec-tions/courbet-dossier/biography.html#c19268 (27 เมษายน 2559). - 42 -
“La falaise d’Etretat après l’orage [The Etretat Cliffs after theStorm] 1870.”[ระบบออนไลน]์ . แหล่งทีม่ า http://www.musee-orsay.fr/en/collections/works-in-focus/painting/commentaire_id/the-etre-tat-cliffs-after-the-storm-10341.html?tx_commentaire_pi1%5B-pidLi%5D=509&tx_commentaire_pi1%5Bfrom%5D=841&-cHash=ceeb00199 (27 เมษายน 2559).“Stormy Sea, 1869 by Gustave Courbet.”[ระบบออนไลน]์ . แหล่งทม่ี า http://www.gustave-courbet.com/stormy-sea.jsp (27 เมษายน 2559).“The Wave, 1870 by Gustave Courbet.”[ระบบออนไลน์]. แหล่งทมี่ า http://www.gustave-courbet.com/the-wave.jsp (27 เมษายน 2559).“Gustave Courbet Art Project.”[ระบบออนไลน]์ . แหลง่ ที่มา https://www.google.com/culturalin-stitute/entity/%2Fm%2F01dqt1?projectId=art-project(28 เมษายน 2559). - 43 -
Search
Read the Text Version
- 1 - 46
Pages: