FRANCIS BACON FRANCIS BACON
คำนำ หนังสือเลมนี้เปนสว นหนึ่งของวชิ า 082101 มนษุ ยก บั ศิลปะ ช้ันอดุ มศกึ ษาปที่ 1 มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร โดยมีจุดประสงคค ือการใหขอ มลู เก่ียวกับจิตรกรชาวอังกฤษ “ฟรานซิส เบคอน” โดยเน้อื หาภายในเก่ยี วกับชีวประวตั ิ แนวการทำงาน ผลงานแตล ะช้ินของฟรานซสิ เบคอน โดยฟรานซิส เบคอนนั้น เปนงานทส่ี ามารถถา ยทอดอารมณ ออกมาไดดี ไมวาจะเปนแนวคิด หรือวธิ กี ารสรางงานของเขา หากขอมูลมีขอผดิ พลาดขา พเจา ขออภัยมา ณ ท่นี ่ีดว ย วิศรตุ ศรีพุธสมบูรณ ผูจัดทำ พฤษภาคม 2560
สารบญั 3 4 ชวี ิตประวตั ิ 9 ประวัตสิ วนตัว ชวี ติ วยั เด็กและจุดเรมิ่ ตนในวงการศลิ ปะ 17 ชว งการสรา งสรรคผลงานจติ รกรรม 25 ในป ค.ศ.1940 และ 1950 31 ชวงการสรา งสรรคผ ลงานจิตรกรรม หลงั ป ค.ศ. 1960 และชวงบน้ั ปลายของชวี ิต แนวคดิ ในการสรา งสรรคผ ลงาน ผลงานของฟรานซิส เบคอน
Francis Bacon ฟรานซิส เบคอน 1
ชวี ประวตั ิ 2
BIOGRAPHY ฟรานซิส เบคอน (อังกฤษ: Francis Bacon) เปน ศิลปน ชาวอังกฤษในยุคสมยั สงครามโลกครั้งทีส่ อง ทส่ี รา งสรรคผ ลงานใน ลทั ธสิ ำแดงพลงั อารมณ หรอื ลัทธิแสดงพลังอารมณ( expressionism) ลทั ธแิ สดงพลังอารมณถือเปนความเคลอ่ื นไหวในชว ง ตนคริสศตวรรษที่ 20 งานเหลา น้มี ักแสดงถึงความเปน จรงิ ทีบ่ ิดเบอื น และอารมณอ ันรุนแรง ดังจะเหน็ ไดในผลงานของเบคอนที่มักจะใชล ายเสน แสดงความบดิ เบย้ี ว และอารมณความรูสึกเรารอ นรนุ แรง โดยศิลปน มกั สะทอ นแนวคดิ ดานรายของสังคม การเมือง หรอื เรอ่ื งทางเพศผานผลงานของตน 3
ชวี ติ วยั เดก็ และจดุ เริม่ ตน ในวงการศิลปะ ฟรานซิส เบคอน เกิดวนั ที่ 28 ตุลาคม ค.ศ. 1909 ในครอบครวั ชาวองั กฤษทเ่ี มอื งดบั ลิน ในชว งแรกครอบครวั เบคอนอาศยั อยูใ นประเทศไอรแ ลนด แลวกย็ า ยกลบั มายงั ลอนดอนในชวงสงครามโลกคร้ังท่หี นง่ึ เพราะเอ็ดวารด ผเู ปน พอ ตอ งเขารว มรบกบั กองทพั หลังจบสงครามพวกเขากย็ ายกลบั มายังประเทศไอรแลนดอ ีก ในป ค.ศ. 1916 เบคอนมปี ระสบการณในการศกึ ษาอยางยาวนานที่ The Dean Close School ในเมืองเชลตน ัม ประเทศอังกฤษ การใชชีวิตในบาน เตม็ ไปดวยความเยน็ ชา พอเปน คนหัวรุนแรง แมเ ปน คนชอบเขาสงั คม ซึง่ มักจะหมกมนุ อยกู บั ตวั เอง และในวัยเด็กเบคอนเปน โรคหอบหดื เร้อื รงั ทำใหมผี ลตอ การศกึ ษาซ่ึงเขาจะตองเรยี นหนงั สอื อยูท่ีบา น ภายในบานเบคอนมคี วามสนิทสนมกบั พ่ีเล้ียงคอื เจสซี่ ไลทฟุท (Jessie Lightfoot) มากท่สี ดุ ซ่ึงตอ มาทง้ั สองก็จะเดนิ ทางไปยงั ลอนดอนดว ยกนั ความสัมพนั ธในครอบครวั ของเบคอนย่ำแยล ง เนอ่ื งจากฟรานซสิ เบคอนเปน พวกรักรว มเพศ เขาจงึ ถูกไลอ อกจากบาน ในป ค.ศ. 1926 ตอนอายุ 16 ป หลังจากทพ่ี อ จับไดวาเขากำลงั ลองสวมชดุ ของแม เขาเดินทางไปยังลอนดอน และหลงั จากนัน้ ก็ ไดเ ดนิ ทางไปยงั กรงุ เบอรล นิ ประเทศเยอรมนี โดยเขาไปเปนสว นหนึ่งในสถานที่ยามคำ่ คนื ของกลุม คนรกั เพศเดียวกัน ซง่ึ ไดพ สิ จู นส ภาวะทางจิตใจของเขาวา เปนเชนนนั้ จรงิ จากนั้นกไ็ ดเดนิ ทางไปยังกรงุ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ซึง่ เปน สถานทท่ี ีท่ ำใหฟ รานซิส เบคอนเร่ิมสนใจการเขาชมแกลอรี่ศิลปะ 4
เม่อื เขากลบั มายังลอนดอนในป ค.ศ. 1920 ก็เร่มิ ทำงานการออกแบบตกแตงภายใน ท้ังออกแบบเฟอรนเิ จอร และพรม ซง่ึ หน่ึงในลกู คา ของเขาคือรอย เดอ ไมสทยี ศิลปนคนหนง่ึ ซง่ึ ตอมาไดกลายมาเปนทป่ี รกึ ษา และไดสนบั สนุนใหเ บคอนวาดภาพสนี ้ำมัน โดยเบคอนเริม่ วาดภาพผลงานชน้ิ แรกของเขา Crucifixion 1933 ซ่ึงไดร ับแรงบนั ดาลใจ จากปาโบล ปกสั โซ ในแนวบาศกนยิ ม ซง่ึ จะกลายเปน ตนแบบใหกับงานของเขาในยุคหลังดวย CCrucifixion [ 1903 ] ภาพนีถ้ กู ตพี มิ พพ รอมกนั ลงในหนงั สือของเฮอรเ บิรต รีด้ (Herbert Read) และอารท นาว (Art Now) และผลงานของเขาก็ถกู ซือ้ ไปอยา งรวดเรว็ โดยไมเคลิ แซดเลอร จากความสำเร็จของเขา ในปต อ มาเบคอนก็จดั นทิ รรศการของตวั เองขนึ้ แตไมไ ดร บั ผลตอบรบั เทาทคี่ วร ตอ มาในภายหลังเบคอนเริม่ ทำงานใน แนวลทั ธิเหนอื จริง (Surrealism) และเฮอรเ บริ ต ร้ีดก็ไดสงภาพวาดของเขาเขารวมในนทิ รรศการ The International Surrealist Exhibition อกี ดวย แตไ ดรับการปฏเิ สธวา ผลงานของเบคอน ยงั มคี วามเหนือจรงิ ไมพ อ เบคอนจงึ กลับไปใชชวี ติ พเนจรและทำงานวาดภาพอยบู า ง ในชว งป ค.ศ. 1936-1944 และในป ค.ศ. 1937 ไดเขา รว มกลุมจัดแสดงนทิ รรศการ ภายใตช อ่ื Young British Painters อกี ดว ย 5
6 STUDY FOR PROTRAIT [ 1949 ] Oil on canvas 147.3 x 130.8 cm. Museum of Contemporary Art, Chicago. Gift of Joseph and Jory Shapiro.
7
ชวงการสรา งสรรค ผลงานจติ รกรรม ในป ค.ศ. 1940 และ 1950 8
ชว งการสรา งสรรคผ ลงานจติ รกรรมในป ค.ศ. 1940 และ 1950 กอ นทจี่ ะเกดิ รูปแบบงานที่เปนเอกลษั ณของตนเอง ฟรานซิส เบคอนได พัฒนารูปแบบการสรา งสรรคผ ลงานในแนวลัทธเิ หนอื จริง (surrealism) ไปสูรูปแบบลทั ธิการแสดงพลงั อารมณ (expressionism) โดยหยบิ ยืมการเคล่อื นไหวของบุคคลจากภาพยนตรและภาพถาย เขาเรียนรลู กั ษณะทาทางของมนษุ ยจ ากภาพถา ย โดยเฉพาะจากภาพถายของชา งภาพทม่ี ีช่อื วา เอ็ดเวิรด มายบริดจ จงึ ไมเ ปนเพยี งการที่เบคอนเร่มิ คนพบวธิ กี ารเคล่อื นไหวในภาพวาด แตเปนการนำภาพวาดและภาพถา ยมาใชอ ยา งสอดคลอ งกัน ฟรานซสิ เบคอนประสบความสำเร็จและเขาสกู ารเปนจิตรกรเตม็ ตวั ในป ค.ศ. 1944 โดยเปนชวงเวลาทีเ่ บคอนไดอ ทุ ศิ ตนเพ่ือการวาดภาพและสรา งสรรคผลงาน ผลงานเหลานคี้ ือ ภาพวาดบคุ คลขนาดใหญบ นผนื ผา ใบ (canvas) โดยสว นมากมักจะเปน รูปบคุ คลเพียงคนเดยี ว อยูในหองทว่ี างเปลา ในกรงหรอื อยูก ับพื้นหลังสดี ำ และเปน ชว งท่ีเกรแฮม ซเู ธอรแลนด เพอื่ นทีร่ วมจัดแสดงงานศลิ ปะไดแนะนำใหเขารจู ักกบั ผอู ำนวยการของ Hanover Gallery ซึ่งตอ มาสถานทีน่ จี้ ะกลายเปนสถานท่ที เ่ี ขาไดจ ัดแสดง นทิ รรศการเดยี่ วเปน คร้งั แรกในป ค.ศ. 1949 9
HEADS COLLECTION HEAD II [ 1949 ] Oil on canvas 80.5 x 65 cm HEAD III [ 1949 ] Oil on canvas 81 x 66 cm HEAD I [ 1948 ] Oil on composition board 103 x 75 cm การจัดแสดงในครัง้ น้เี บคอนไดวาดภาพภายใตช อ่ื ชุด Heads ซง่ึ เปน งานทีม่ นี ยั ยะสำคญั ส่ือถึงผลงาน 2 แบบของเบคอน ไดแก แบบแรก \"The Scream\" ที่รบั มาจากภาพยนตร เร่อื ง Battleship Potemkin ของเซอรไ ก ไอเซนสไตน (Sergei Eisenstein) ซงึ่ แสดงฉากกรีดรองของครูท่ไี ดร บั บาดเจ็บ แบบทส่ี องคอื ภาพวาดที่ไดร บั แรงบันดาลใจจากภาพวาด สมเดจ็ พระสนั ตะปาปาอนิ โนเซนตท ี่ 10 (portrait of Pope Innocent X) ผลงานของดเี อโก เวลาสเควส (Diego Velázquez) ซงึ่ เบคอนไมไ ดเหน็ ภาพจรงิ เห็นเพียงสำเนาของภาพนี้เทา นั้น โดยเบคอนไดส รา งสรรค ผลงานตามสไตลของตนเอง ดวยการใชส โี ทนมืด ใชฝแปรงแบบหยาบ ๆ และวาดใบหนาของบคุ คลทน่ี ง่ั อยใู หบิดเบอื น ซ่ึงผลงานเหลา นี้ของเบคอน กลายมาเปนท่รี ูจ ักวาเปนภาพวาดพระสันตะปาปากรดี รอ ง (screaming pope) ในป ค.ศ. 1953 Hanover นำผลงานของเบคอนมาจดั แสดงรวมไปถงึ ภาพ Two Figure ซึ่งเปน ภาพผูช าย 2 คนนอนกอดกันบนเตยี ง ทำใหกลายเปน ทอี่ ้อื ฉาวเปนอยางมาก 10
“The Scream” From Battleship Potemkin 11 Portrait of Innocent X [ 1649 - 1651 ] Oil on canvas 141 x 119 inch. By Diego Velázquez
HEAD VI [ 1949 ] 12 Oil on canvas 93 x 76.5 cm. Arts Council collection, Hayward Gallery, London
13 STUDY FOR PORTRAIT I 1953
14 STUDY FOR PORTRAIT OF VAN GOGH IV 1957
15
ชวงการสรา งสรรค ผลงานจติ รกรรม หลังป ค.ศ. 1960 และชวงบน้ั ปลาย ของชวี ติ 16
ชวงการสรา งสรรคผลงานจติ รกรรม หลงั ป ค.ศ. 1960 และชวงบั้นปลายของชีวิต ในชว งระยะเวลาการสรางสรรคศลิ ปะสมยั ใหมของเบคอน ภายใตแนวคิดลทั ธนิ ามธรรม เบคอนยงั คงวาดภาพเกยี่ วกบั รางกายและใบหนาของบคุ คล การแสดงอารมณ ผา นพกู ันและสี เชน เดยี วกันกับรูปแบบลักษณะที่เกนิ จรงิ ของเบคอน ทำใหเขาไดร บั การขนานนามวา เปนจติ รกรในลัทธสิ ำแดงพลงั อารมณ หรือแสดงพลงั อารมณ ผลงานบางสว นของเบคอนในชวงป ค.ศ. 1960 วาดภาพผูชายท่ีสวมชุดสทู คลาย ชดุ ทำงานของนักธุรกจิ อยเู พยี งผูเ ดยี วในภาพ สวนภาพอ่ืน ๆ ทแี่ สดงลกั ษณะเปลือยกาย กม็ กั จะถกู ปรับเปลย่ี นลักษณะและสดั สว นใหดพู ิลึกกกึ กือ เบคอนมักจะวาดภาพบคุ คล ทีเ่ ขารจู ักอยูบอยคร้งั ทั้งลเู ซยี น ฟรอยด (Lucian Freud) และจอรจ ไดเออร (George Dyer) เพ่อื นสนิทของเขาโดยใชส สี นั ท่สี ดใส PORTRAIT OF GEORGE DYER IN A MIRROR [ 1968 ] Oil on canvas 198 x 147.5 cm , Museo Thyssen-Bornemisza, Madrid 17
ในชว งนเ้ี ขาก็หันมาวาดภาพตวั เอง (self-portrait) มากขึน้ โดยอา งวา “ผคู นรอบ ๆ ตัวเขาเหมอื นแมลงวันทก่ี ำลังจะตาย ไมเ หน็ มีอะไรทนี่ า จะนำมาสรา งสรรคเปนผลงานเลย” Three Studies for Self-Portrait [ 1976 ] และยังคงสรางสรรคผ ลงานเรอื่ ยมา โดยเบคอนไดว าดภาพจำนวนหนึ่งเพอ่ื เปนความทรงจำ ถงึ จอรจ ไดเออร ซ่งึ ภาพทัง้ หลายเหลา นีอ้ ยใู นรปู แบบสามตอน (triptych) ขนาดใหญ ทง้ั ผลงานชดุ Black Triptych ทไ่ี ดร บั การยกยองวา เปนผลงานท่ดี ี โดยเลารายละเอยี ด ที่ผานมาของจอรจ ไดเออรด วย แตอยางไรกต็ ามลักษณะแนวคดิ หลกั ในการสรา งสรรค ผลงานของเบคอนกค็ ือ ความรุนแรงและความตาย ชว งกลางป ค.ศ. 1970 เบคอนไดพบกบั จอหน เอด็ เวดิ ส (John Edwards) ซงึ่ เขามา แทนท่ไี ดเออรก บั ดีกนิ โดยเปนชา งภาพและเพ่อื นสนิทกับเบคอน ป ค.ศ. 1973 เบคอนกลายเปน จิตรกรศลิ ปะรว มสมยั ชาวองั กฤษคนแรกทีไ่ ดจัดแสดงนทิ รรศการ ขนาดใหญท ีพ่ พิ ธิ ภัณฑศิลปะเมโทรโพลิทัน (The Metropolitan Museum of Art) ในนิวยอรก ซึ่งผลงานของเขาไดรบั การจดั แสดงในระดับนานาชาติมาตลอดในชว ง ปส ดุ ทายของชวี ติ รวมไปถึงการจดั นทิ รรศการรำลึกถงึ เบคอนที่ The Hirshhorn Gallery และ The Tate Gallery ดวย และฟรานซสิ เบคอนยังคงเก็บรักษาบานและสตดู โิ อรก อันฉาวโฉใ นกรงุ ลอนดอนไว และเขากย็ ังสรางสรรคผลงานของตนเองเร่อื ยมาจนกระท่ัง ถึงบ้ันปลายของชีวิต ฟรานซสิ เบคอนไดเ สียชวี ิตในวันท่ี 28 เมษายน ค.ศ. 1992 ทเ่ี มอื งมาดรดิ ประเทศสเปน ดวยอายุ 82 ป 18
The Black Triptychs [ 1972 - 1974 ] Oil on canvas 19
เปนภาพทฟ่ี รานซิส เบคอน วาดจากความรูสึกของการสูญเสียคนรกั และนายแบบหลักของเขา ซ่ึงกค็ ือ George Dyer ซง่ึ จากไปดว ยการฆา ตัวตาย เน่ืองดวยโดนความทุกขรุมเรา จากการติด แอลกอฮอล 20
“Two Studies for a Self-Portrait” [ 1970 ] 21
22
23
แนวคิดในการ สรางสรรคผ ลงาน 24
แนวคดิ ในการสรางสรรคผ ลงาน ฟรานซิส เบคอน คอื นิยามสำหรบั งานสมยั ชวงสงครามโลกครั้งทส่ี อง ดว ยการแสดง ภาพใบหนา ของมนุษยแ ละตัวบุคคลทีผ่ านการแสดงออก สว นมากเปนรูปแบบทีพ่ ลิ กึ และดปู ระหลาด ในชว งแรก เขาเรม่ิ วาดภาพสนี ำ้ มนั ในรูปแบบคิวบสิ ม(Cubism) และรปู แบบสจั จะนิยม (surrealism ) แตผ ลงานในชวงนัน้ ไมไ ดรบั การยอมรับเทาทคี่ วร จนในชวงหลงั ที่เขาไดพ ัฒนารปู แบบสจั จะนยิ มไปสงู านท่ีเปนเอกลักษณของตนเอง นั่นคือ ลทั ธิสำแดงพลังอารมณ หรือ expressionism โดยศกึ ษาการเคล่ือนไหวของบุคคล จากภาพถา ยและภาพยนตร หลังจากนนั้ ผลงานของฟรานซสิ เบคอน จงึ เปนทร่ี จู กั กนั ในการแสดงออกถงึ อารมณท ่ใี สไวในผลงาน ซง่ึ งานโดยรวมมักมีนัยยะทส่ี ำคญั หลักๆ 2 เรอื่ ง คอื การตรงึ กางเขน และเสียงกรีดรอง การตรงึ กางเขน เบคอนคอนขางใหความสำคญั กับการตรึงกางเขนในผลงานของเขา เขายอมรบั วาเขาเหน็ สงิ่ เหลานเ้ี ปน เกราะอนั งดงามทค่ี ุณสามารถแขวนทกุ อารมณ และความรสู กึ เขาเชอื่ วาภาพการตรงึ กางเขนนน้ั ยินยอมใหเขาตรวจสอบพ้ืนทบี่ างสวน ของพฤตกิ รรมมนษุ ยในลกั ษณะพเิ ศษ ราวกับเปน เกราะของชุดรูปแบบทเ่ี ปน ข องสะสมของเจา นายเกาแกจ ำนวนมาก ฉากตรงึ กางเขนพบไดใ นงานท่ีเกา แกสดุ ของเบคอน คอื ในป 1933 ภาพวาดในชว งตน ไดร ับอิทธิพลจากเหลาศลิ ปนผเู ช่ยี วชาญ เชน มทั ธอี ัส กรีเนวลั ด , เดยี โก เบลัซเกซ และแรมบรนั ต แตยงั คงไดอทิ ธิพลปก สั โซ ชว งปลาย 1920 รวมถงึ งานชีวะรูปและผลงานสัจจะนิยมชว งตน 1930 AFTER PICASSO 'LA DANSE' [ 1933 ] Chalk, gouache and pencil on paper 64 x 48 cm Private collection 25
เสียงกรีดรอ ง แรงบันดาลใจสำหรับบรรทดั ฐานของปากทีส่ งเสียงกรีดรอ งในหลายๆผลงาน ของเบคอนชว งปลาย 1940 และชวงตน 1950 ถกู ดึงมาจากหลายแหลง ไมว า จะเปน ตำราการแพทย , ผลงานของมัทธอี สั กรีเนวัลด และภาพถายของพยาบาลใน ฉาก Odessa Steps ในหนังเงียบเรื่อง The Battleship Potemkin ป 1925 ตัวอยางผลงานทเี่ ปนลักษณะเสยี งกรดี รอง เชน งาน Head VI ท่วี าดในป 1949 ซง่ึ ถอื เปนภาพแรกๆทเี่ บคอนวาดเกีย่ วกบั พระสนั ตะปาปา STUDY OF A HEAD [ 1952 ] Oil on canvas , 50 x 40.5 cm Yale University, New Haven. Gift of Beekman C and Margaret H Cannon 26
STUDY OF A BABOON [ 1953 ] Oil on canvas 198 x 137 cm The Museum of Modern Art, New York. James Thrall Soby bequest, 1979 นอกจากนั้นแลวเบคอน ยงั ตง้ั ใจศกึ ษาเรื่องสรรี ะของคนและสตั ว ไมว าจะเปนจากผลงาน ของศลิ ปนคนอนื่ ถาเปน สัตวก ็จะศกึ ษาจากซากศพจรงิ ๆของสตั ว PAINTING [ 1946 ] Oil on canvas 198 x 132 cm Museum of Modern Art, New York 27
28 Oil on canvas 152.5 x 116.5 cm Private collection TWO FIGURES [ 1953 ]
29
ผลงานของ ฟรานซสิ เบคอน 30
31
CRUCIFIXION [ 1933 ] Oil on canvas 62 x 48.5 cm Private collection ภาพนมี้ คี วามผดิ จากธรรมชาติ ที่มคี วามเปนไปไดว าไดแ รงบันดาลใจ มาจากปกสั โซ การใชส ขี าวบนสวนของรา งกาย ซ่งึ ตดั กับสโี ทนมืดที่ เปน พ้ืนหลงั ทำใหภาพมีความนากลัวมากขน้ึ พรอมทง้ั มีเอกลกั ษณ ดว ยการตรงึ กางเขนซ่ึงทำใหเ กดิ ความความเจ็บปวดและความกลวั พรอมทั้งองคประกอบของภาพท่ดี แู ลวไมส งบ 32
33
STUDY AFTER VÉLÁZQUEZ [ 1953 ] Oil on canvas 153 x 118 cm Nathan Emory Coffin collection, Des Moines Art Center, Iowa. Purchased with funds from the Coffin Fine Arts Trust เปน ภาพทไี่ ดแรงบันดาลใจจากภาพ portrait of Pope Innocent ของ Diego Velazquez เบคอนใชม กี ารสะบดั ฝแปรงหยาบ ทำใหรสู ึกถึงความสน่ั สะเทอื นของภาพ สีมวงและสเี หลือง ทำใหองคประกอบภาพดตู งึ เครียดมากขึ้น จนทำให รูสกึ ไดย ินถงึ เสียงกรดี รอง โดยเบคอนมองวาพระสันตะปะปาเองกเ็ ปน มนุษย สามารถรสู ึกและสามารถเจ็บปวดได 34
Three Studies for Figures at the Base of a Crucifixion [ 1944 ] Oil on board Tate Gallery, London 35
แสดงออกถึงความผิดและบดิ เบ้ียวของมนษุ ย ซ่ึงมีความนา กลัวและความเจ็บปวด นอกนั้นยังแสดงใหเห็นถงึ ความอดึ อดั การถูกจองจำ และความทรมาณ 36
Study for Self-Portrait Triptych [ 1985-86 ] แมแ ตภาพวาดของตัวเบคอนเอง ก็ยงั แสดงใหเ ห็นถึงความบดิ เบีย้ วของมนุษย มนษุ ยท ุกคนน้ันมีความรูส กึ และความไมแนนอน 37
38
39
40 STUDY FOR CROUCHING NUDE [ 1952 ] Oil on canvas 198 x 137 cm The Detroit Institute of Arts. Gift of Dr Wilheim R Valentiner
41
42 FIGURE WITH MEAT [ 1954 ] Oil on canvas 130 x 122 cm The Art Institute of Chicago. Purchased with funds from the Harriot A Fox Fund
Bacon (left) with William F. Burroughs
บรรณานุกรม Francis Bacon, [ออนไลน] , เขาถึงเมือ่ 28 พฤษภาคม 2560, แหลง ทมี่ า http://spenceralley.blogspot.com/2008/08/francis-bacon.html Francis Bacon, [ออนไลน] , เขาถึงเมื่อ 28 พฤษภาคม 2560, แหลง ทม่ี า http://francis-bacon.com/artworks/paintings ฟรานซสิ เบคอน (ศลิ ปน), [ออนไลน], เขาถงึ เมื่อ 28 พฤษภาคม 2560, แหลงที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/ฟรานซิส_เบคอน_(ศลิ ปน) Francis Bacon Biography, Art, and Analysis of Works | The Art Story, [ออนไลน], เขา ถงึ เมอ่ื 29 พฤษภาคม 2560, แหลงทีม่ า http://francis-bacon.com/artworks/paintings 45
Search