NAIVE ART
PREFACE ปจั จุบนั มีศลิ ปะลัทธิตา่ ง ๆ เกิดขน้ึ มากมายจากความคิด สร้างสรรค์ของมนุษย์ที่แสดงออกมาในรูปแบบตา่ ง ๆ ใหป้ รากฏซ่ึงความ สนุ ทรียภาพ ความประทับใจ หรอื ความสะเทอื นอารมณ์ สะทอ้ นให้เหน็ ความคิดความสามารถของศลิ ปิน ผู้เขยี นจึงไดห้ ยบิ ยกลิทธิ NAIVE ART ซึ่งเป็นรูปแบบ ศลิ ปะไรม้ ายา ศลิ ปะทไี่ ร้เดียงสาอาจถูกมองว่าเป็นงานศลิ ปะทสี่ ร้างข้ึนโดย คนที่ \"ไม่รู้ว่ากำลังทำอะไรอย่\"ู เป็นแรงบนั ดาลใจให้ผู้คนที่คล่งั ไคล้ศลิ ปะ ไดส้ มั ผัสอีกแง่มมุ หน่ึงของศิลปะ \" NAIVE ART\" นายกิตติภพ ซือ่ ตรง 631310466
CONTENT 01 CHAPTER 1 WHAT IS NAIVE ART? 11 CHAPTER 2 THE BEGINNING OF NAIVE ART 14 CHAPTER 3 ARTISTS OF NAIVE ART 39 REFERENCES
CHAPTER 1 WHAT IS NAIVE ART? ศิลปะ นาอีฟ NAIVE ART เป็น ศิ ลปะที่ถ่ ายทอด ด้ ว ยวิ ธี เ ฉพ าะ ตั ว โ ด ยมิ ไ ด้ อ า ศั ย คว ามรู้ แ ละ ห ลัก เ ก ณ ฑ์ ท าง ศิ ลป ะ ท่ั ว ๆ ไ ป ศิ ลป ะ มี ลั ก ษ ณะ ธ ร ร ม ด า มี มิ ติ ที่ ไ ม่ ถู ก ต้ อ งกั บ หลัก คว า มเ ป็ นจ ริ ง เ นื่ อ งจ า ก ศิ ลปิ น ข า ดค ว ามรู้ ห รื อ หลัก เ ก ณฑ์ ก าร ถ่ า ย ทอ ดนั่ นเ อ ง “ศิลปะนาอีฟ เป็นรูปแบบศิลปะไร้มายาที่ไม่มี หลักการกฎเกณฑ์ กำเนิดจากส่ิงท่ีเห็น สิ่งท่ีสัมผัส จิตสำนึก หรือ สุดแท้แต่ศิลปินจะสร้างสรรค์ให้ตรงตามความ ต้องการและสามารถสื่อความรู้สึกได้อย่างแท้จริง” 1
2 ความหมายของคำว่าศิลปะนาอีฟ NAIVE ART ศิลปะนาอีฟ หมายถึง ผลงานศิลปะที่ทำโดยศิลปินสมัครเล่น (AMATEUR) ด้วยวิธีการถ่ายทอดเฉพาะตัวโดยมิได้อาศัยความรู้และ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ท างศิ ล ป ะ ท่ั ว ๆ ไ ป ห รื อ มิ ไ ด้ ศึ ก ษ าเ ก่ี ย ว กั บ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ท าง ด้ า น ศิลปะมาก่อน
3 AMATEUR คำว่า “AMATEUR” มีรากศัพท์มาจากคำละตินว่า \"AMARE\" ซ่ึงแปลว่า รัก คำว่า AMATEUR จึงหมายถึงทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดด้วยความ รั ก เ พื่ อ ค ว า ม สุ ข ใ จ แ ล ะ ห ม า ย ร ว ม ถึ ง บุ ค ค ล ที่ มิ ใ ช่ ผู้ รู้ ผู้ ช ำ น า ญ ใ น สิ่ ง ที่ ต น ทำน้ันซึ่งตรงกันข้ามกับคำว่า PROFESSIONAL ซ่ึงหมายถึงผู้ท่ีมีความรู้ ค ว าม ช ำน าญ ห รื อ ผู้ ที่ ท ำส่ิ งใ ดสิ่ งห นึ่ งเ พื่ อ ยั งชี พ ห รื อ เ พ่ื อ เ งิ น ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง งานศิลปะนาอีฟ
ลักษณะของงานศิลปะนาอฟี NAIVE ART ลักษณะของงานศิลปะนาอีฟ ศิลปะนาอีฟส่วนใหญ่จะมี ลักษณะของการแสดงออกชื่อๆง่ายๆ ศิลปินนาอีฟแก้ปัญหาด้านมิติ (PERSPECTIVE) ในงานจิตรกรรมด้วยลักษณะง่ายๆตามความ เข้าใจของตน ดังนั้นจึงมักมองเห็นความผิดพลาดด้านมิติ เช่น แ ส ด ง อ อ ก แ บ บ ส ลับ ด้ า น ห รื อ สั ด ส่ ว น ท่ี ค ล า ด เ ค ลื่ อ น ผิ ด ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง (ดูด้วอย่างในภาพ) งานจิตรกรรมนาอีฟมีคุณสมบัติใ นการเล่าเรื่อง จะบันทึกรายละเอียดส่วนต่างๆ ของภาพอย่างถ่ีถ้วนทุกแง่มุม การ ร ะ บ า ย สี มั ก อ ยู่ ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ บ น ๆ แ ต่ ใ น ง า น น า อี ฟ บ า ง ชิ้ น จ ะ พ บ ว่ า ศิ ล ปิ น น า อี ฟ บ า ง ค น เ ริ่ ม บั น ทึ ก แ ส ง เ ง า ใ น ลั ก ษ ณ ะ แ ร เ ง า เ พ่ื อ ส ร้ า ง ภ า พ ล ว ง ด า ข อ ง มิ ติ ท่ี ส า ม ใ ห้ แ ก่ จิ ต ร ก ร ร ม ข อ ง เ ข า ซึ่ ง เ ป็ น อิ ท ธิ พ ล ที่ ไ ด้ รั บ จากงานศิลปะของศิลปินอาชีพ แต่การแรเงาน้ันก็อาจยังอยู่ใน ลั ก ษ ณ ะ ผิ ด พ ล า ด ด้ า น มี ที่ อ ยู่ 4
5 ภาพชื่อ “หญิงสาวกับแมวแองโกลาย” (Girl with Angora Cat) ของมอริส เฮริสค์ฟิลด์ (Morris Hirschfield) ปี 1970 หนังสือจิตรกรรมนาอีฟ (Naive Painting)
6 ความต่างท่ลี งตวั ของศลิ ปะนาอฟี เม่ือครั้งที่ยังไม่มีการจัดแยกหมวดหมู่ศิลปะประเภทน้ี ศิลปะ นาอีฟมักจะถูกระบุรวมกับศิลปะ ประเภทอนารยศิลป์ (PRIMITIVE ART) หรือศิลปะพ้ืนบ้าน (FOLK ART) ทั้งนี้สาเหตุที่ว่าลักษณะของ งานเหล่านี้คล้ายคลึงกัน แต่จากหลักการพิจารณาบางประการจะ พบว่ามีความแตกต่างกัน ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 นักศิลปะจึงจัดแยก ห ม ว ด ห มู่ โ ด ย ใ ช้ ช่ื อ ต่ า ง กั น ภาพพอร์เตรทครอบครัวยอร์ค ( The York Family at home ) ของศิลปินนาอีฟนิรนาม ปี 1837 จากหนังสืออนารยศิลป์ของ อเมริกา (American Primitive Painting)
7 ศิลปะนาอีฟ มีลักษณะคล้ายอนารยศิลป์และศิลปะพ้ืนบ้าน เ พ ร า ะ ศิ ล ป ะ เ ห ล่ า นี้ ส ร้ า ง โ ด ย บุ ค ค ล ที่ ฝึ ก ฝ น ด้ ว ย ต น เ อ ง ป ร า ศ จ า ก ความรู้หลักเกณฑ์ด้านศิลปะทั่วไปศิลปะของเขาจึงมีลักษณะช่ือ ๆ ง่ า ย ๆ มี มิ ติ ไ ม่ ถู ก ต้ อ ง ต า ม ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง เ น่ื อ ง จ า ก ข า ด ค ว า ม รู้ แ ล ะ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ถ่ า ย ท อ ด น่ั น เ อ ง ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ต่ า ง กั บ อ น า ร ย ศิ ล ป์ เ พ ร า ะ ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ส ร้ า ง โ ด ย บุ ค ค ล ซ่ึ ง อ ยู่ ใ น ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ มี อ า ร ย ธ ร ร ม ค ว า ม เ จ ริ ญ ก้ า ว ห น้ า ใ น ข ณ ะ ที่ อ น า ร ย ศิ ล ป์ ส ร้ า ง โ ด ย บุ ค ค ล ใ น ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ที่ ยั ง ล้ า ห ลั ง ค ว า ม เจริญชนชาติท่ีปราศจากภาษาเขียนในกลุ่มของตน (ซ่ึงเป็นลักษณะ หน่ึงท่ีระบุให้เห็นถึงความที่มิได้เป็นอารยชน) บุคคลที่อยู่กับ ธ ร ร ม ช า ติ จึ ง คุ้ น เ ค ย กั บ ธ ร ร ม ช า ติ ถ่ า ย ท อ ด รู ป แ บ บ ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ บ น งานศิลปะอย่างเรียบๆง่ายๆ เช่น งานศิลปะของพวกชนเผ่าต่างๆ ศิ ล ป ะ ข อ ง ช น เ ผ่ า ใ น แ อ ฟ ริ ก า ศิ ล ป ะ ข อ ง พ ว ก ช น เ ผ่ า โ บ ร า ณ ก่ อ น ส มั ย ประวัติศาสตร์ อาจใช้ลวดลายง่ายๆแบบเรขาคณิต เช่น ลาย เส้นหยัก ๆ แทนภูเขาเส้นวงก้นหอยหรือเส้นโค้งแทนเส้นคลื่นหรือ สัตว์น้ำถ่ายทอดลงบนเครื่องใช้อาวุธหรือตกแต่งร่างกาย (body adornment) แต่ศิลปินนาอีฟถ่ายทอดสิ่งแวดล้อมของตนซ่ึงเป็น ส่ิงแวดล้อมของชีวิตคนเมือง เช่น ภาพงานเทศกาลภาพตึกรามบ้าน ช่องผู้คนปฏิบัติงานในสถานที่ต่าง ๆ เป็นต้น
ศิลปะนาอีฟต่างกับศิลปะพื้นบ้านโดยศิลปะพ้ืนบ้านนั้น แม้ ไม่อาศัยหลักเกณฑ์ของศิลปะทั่ว ๆไป แต่ก็มีลักษณะบ่งชี้ว่าในแต่ละ ท้ อ ง ถิ่ น ค ง จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ค ำ นึ ง ถึ ง ก ฎ เ ก ณ ฑ์ บ า ง ป ร ะ ก า ร ใ น ก า ร ส ร้ า ง ง า น ศิ ล ป ะ ร่ ว ม กั น ศิ ล ป ะ น า อี ฟ มิ ไ ด้ เ ป็ น เ ช่ น น้ั น ไ ม่ มี ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ช้ิ น ใ ด เ ห มื อ น อีกช้ันหน่ึงแม้บางช้ินอาจถ่ายทอดเนื้อเรื่องเดียวกัน เช่น สภาพ ผู้คนในเมือง แต่ศิลปินแต่ละคนอาจถ่ายทอดกันต่างรูปแบบต่าง วิธีการ ดังนั้นจึงมีผู้กล่าวว่า ไม่สามารถมีสถาบันสอนประเภท ศิ ล ป ะ น า อี ฟ เ พ ร า ะ ศิ ล ป ะ ช นิ ด น้ี ส อ น กั น ไ ม่ ไ ด้ ถ่ า ย ท อ ด ใ ห้ กั น ไ ม่ ไ ด้ เพราะไม่มีกฎเกณฑ์ร่วมกันศิลปินน าอีฟแต่ละคน มีการรับรู้และ เทคนิคการถ่ายทอดที่ต่างกัน ศิลปะนาอีฟในไทยย่อมต่างไปจาก ศิลปะนาอีฟในอเมริกา ฝรั่งเศส หรือ สเปน เพราะศิลปินถ่ายทอด สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมที่ต่างกัน ศิลปินมีทัศนคติและความเช่ือที่ แ ต ก ต่ า ง กั น 8
ภาพชื่อ“ หิมะตก” (Snowing) ของมาร์ค ชากัลล์ (Marc ChagaII) จากหนังสือสารานุกรม จิตรกรรม(Encyclopedia of Painting) ศิ ล ปิ น มี ทั ศ น ค ติ แ ล ะ ค ว า ม เ ชื่ อ ที่ แ ต ก ต่ า ง กั น บ า ง ค รั้ ง มี ผู้ เ รี ย ก ศิลปะเด็ก (Child art) ว่าศิลปะนาอีฟ ซ่ึงก็เป็นเพราะศิลปะเด็ก สร้างข้ึนอย่างซ่ือๆง่ายๆตามประสาเด็ก ซึ่งมิได้อาศัยกฎเกณฑ์ความรู้ ด้านศิลปะศิลปะเด็ก มักจะอยู่ในลักษณะเล่าเร่ืองราวเช่นเดียวกับ ศิลปะนาอีฟ แต่ศิลปะนาอีฟต่างกับศิลปะเด็ก 9
10 ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ต่ า ง กั บ ศิ ล ป ะ เ ด็ ก เ พ ร า ะ ศิ ล ป ะ น า อี ฟ เ ป็ น ศิ ล ป ะ ข อ ง ผู้ ใ ห ญ่ ซ่ึ ง รั บ รู้ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ต่ า ง กั บ เ ด็ ก ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ง า น จึ ง ส ะ ท้ อ น ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง ทั ศ น ค ติ ที่ แ ต ก ต่ า ง จ า ก เ ด็ ก วิ ธี ก า ร ถ่ า ย ท อ ด ก็ ต่ า ง จ า ก ศิ ล ป ะ ข อ ง เ ด็ ก เ พ ร า ะ ศิ ล ป ะ น า อี ฟ จ ะ พ ย า ย า ม ทุ ก วิ ถี ท า ง ท่ี จ ะ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ข อ ง ส่ิ ง แ ว ดล้ อ ม ห รื อ เ ล่ า เ รื่ อ ง ร าว ท่ี ป ร ะ ทั บ ใ จ อ อ ก ม าเ ป็ น ผ ล ง า น ใ ห้ ดู จ ริ ง จั ง ต า ม ข้ อ เ ท็ จ จ ริ ง ที่ มี อ ยู่ ใ น ข ณ ะ ที่ เ ด็ ก ส ร้ า ง ง า น ศิ ล ป ะ เ พ่ื อ สื่ อ ค ว า ม ห ม า ย ร ะ ห ว่ า ง ตั ว เ อ ง กั บ ส่ิ ง แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง ต น โ ด ย มิ ไ ด้ คำนึงถึงหรือพยายาม
CHAPTER 2 THE BEGINNING OF NAIVE ART จุดเรม่ิ ต้นของศิลปะนาอีฟ งานศิลปะประเภทที่เรียกว่า นาอีฟ ทำกันมานานแล้วในแต่ ละประเทศ แต่มิได้รับความสนใจจากวงการศิลปะมาก่อน จนกระท่ัง พวกนักสะสมงานศิลปะให้ความสนใจกับงานประ ติมากรรมแอฟริกัน เช่น รูปแกะสลักไม้หรือหน้ากากที่ใช้ในพิธีกรรมและอื่น ๆ จึงมีผู้ให้ ค ว า ม ส น ใ จ กั บ ง า น ใ น ลั ก ษ ณ ะ น า อี ฟ ไ ป ด้ ว ย เ ริ่ ม ต้ น จ า ก ก า ร ป ฏิ วั ติ ด้ า น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ใ น ค ริ ส ต์ ศ ต ว ร ร ษ ที่ ๑๙ ซ่ึงเกิดขึ้นในประเทศฝร่ังเศสถึงแม้จะล้าหลังประเทศอังกฤษ แต่ดู เ ห มื อ น ว่ า ฝ ร่ั ง เ ศ ส จ ะ ค ำ นึ ง ถึ ง ค ว า ม สู ญ เ สี ย บ า ง ป ร ะ ก า ร ข อ ง ม นุ ษ ย์ ท่ี ถู ก ค ร อ บ ง ำ โ ด ย ร ะ บ บ จั ก ร ย น ต์ ก ล ไ ก ข อ ง เ ค รื่ อ ง จั ก ร ก่ อ น อั ง ก ฤ ษ บุ ค ค ล ต่ า ง ๆ ในแวดวงการประพันธ์ของฝรั่งเศสได้แสดงความรู้สึกต่อต้านลงใน บ ท ป ร ะ พั น ธ์ ซึ่ ง ภ า ย ห ลั ง ก็ ร ะ บ า ด เ ข้ า ไ ป ใ น ว ง ก า ร ศิ ล ป ะ เ ช่ น กั น ง า น ศิลปะแขนงต่าง ๆ 11
12 แ ส ด ง ทั ศ น ค ติ ถึ ง ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ ชี วิ ต ใ น อ ดี ต อ อ ก ม า ใ น ผ ล ง า น ภ า พ พ จ น์ ข อ ง ชี วิ ต ใ น เ มื อ ง ห ล ว ง ถู ก น ำ ไ ป เ ป รี ย บ เ ที ย บ กั บ ชี วิ ต ง่ า ย ๆ ส ง บ สุ ข แ ล ะ บ ริ สุ ทธิ์ ส ะ อ า ดข อ งชี วิ ต ช น บ ท ผู้ คน เ ร่ิ ม ค ำนึ งถึ ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ เ ร่ิ ม แ ล เ ห็ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ค ว า ม สุ น ท รี ย์ ใ น ธ ร ร ม ช า ติ ซึ่ ง เ ป็ น ส่ิ ง ท่ี ใ ห้ ค ว า ม สุ ข ท า ง จิ ต ใ จ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ช่ ว ง เ ว ล า นี้ เ ป รี ย บ เ ส มื อ น โ อ ก า ส ท อ ง ที่ เปิดให้ศิลปะนาอีฟงอกงามข้ึนในประ เทศฝรั่งเศษ ใ น ร ะ ย ะ แ ร ก น้ั น ยั ง มิ ไ ด้ มี ก า ร จั ด แ ย ก ศิ ล ป ะ ป ร ะ เ ภ ท น้ี อ อ ก จ า ก ศิลปะประเภทอนารยศิลป์และศิลปะพื้นบ้านอย่างชัดเจน ศิลปินนา อีฟได้รับสมญานามหลายต่อหลายชื่อเช่น \"จิตรกรแห่งสัญชาติญาณ (Painters Of Instinct) จิตรกรด้วยดวงใจศักดิ์สิทธ์ิ (Painters Of The Sacred Heart) ศิลปินอนารยศิลป์ใหม่ (Neoprimitives) และ “จิตรกรวันอาทิตย์” (Sunday painters) เป็นต้น
13 จนกระท่ังในคริสต์ศตวรรษท่ี ๒๐ สเตฟาน ทคัช (Stefan Tkac) ให้ความเห็นว่า “นาอีฟ” (naive) ซ่ึงเป็นภาษาสลาฟเป็นคำ ท่ีมีความหมายเหมาะสมกับลักษณะและวิถีทางการสร้ างงานของ ศิลปะประเภทนี้ ดังน้ันศิลปะลักษณะน้ีต่อมาจึงเรียกว่า “ศิลปะนา อีฟ” อย่างเป็นทางการ แม้ว่าฝร่ังเศสจะเป็นบ่อเกิดของความงอกงามของศิลปะ นา อีฟ แต่ก็ยังมิได้รับความสนใจอย่างจริง ประเทศแรกท่ีให้ความสนใจ ต่อศิลปะประเภทน้ี ได้แก่ สหรัฐอเมริกา วงการสะสมงานศิลปะใน ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ กั บ ศิ ล ป ะ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ท่ี มี อ ยู่ ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ก่ อ น ต่ อ ม า ภ า ย ห ลั ง จึ ง ใ ห้ ค ว า ม ส น ใ จ กั บ ศิ ล ป ะ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ต น เ อ ง ในปีคริสต์ศักราช 1958 มีการจัดนิทรรศการศิลปะนาอีฟ นานาชาติขึ้นท่ีประเทศเบลเยียม จึงทำให้วงการศิลปะเริ่มให้ ค ว า ม ส ำ คั ญ กั บ ศิ ล ป ะ ป ร ะ เ ภ ท นี้ ต่ า ง ไ ป จ า ก เ ดิ ม
14 CHAPTER 3 ARTISTS OF NAIVE ART
15 Henri Julien Félix Rousseau
ออ็ งรี ฌวู เ์ ลียง เฟลิกซ์ รโู ซ 16
Henri Julien Félix Rousseau (1844-1910) จิ ต ร ก ร ช า ว ฝ ร่ั ง เ ศ ส จ า ก น า ย ด่ า น ก ร ม ศุ ล ก า ก า ร สู่ จิ ต ร ก ร ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ที่ มี ชื่ อ เ สี ย ง ลัก ษ ณะ คล้ า ยภ า พ เ ขี ยน ข อ งเ ด็ ก แ ต่ ก็ แ ฝ งด้ ว ย คว า มคิ ดแ ล ะ ป รั ช ญ า ที่ ลึกซ้ึง แม้รูโซจะไม่ได้รับการศึกษาศิลปะจากสถาบันศิลปะแต่รูโซกลับ มีกระบวนการสร้างสรรค์ เป็นข้ันเป็นตอนต้ังแต่การศึกษาหาข้อมูลสิ่ง ที่ต้องการวาดมีหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ การควบคุมวรรณะของ สี ต ล อ ด จ น บ ร ร ย า ก า ศ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ เ นื้ อ ห า ข อ ง ต น เ อ ง อ ย่ า ง เ ป็ น ระบบผลงานจิตรกรรมของรูโซ มีอัตลักษณ์ของตนชัดเจนชีวิตและ ผลงานของรูโซ แสดงให้เห็นว่าคนทั่วไปที่สนใจศิลปะสามารถ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ง า น ศิ ล ป ะ ไ ด้ โ ด ย ไ ม่ จ ำ เ ป็ น ต้ อ ง ผ่ า น ส ถ า บั น ศิ ล ป ะ 17
ผลงานทโ่ี ดดเด่น The War - The Ride of Discord ,1894 18
The War - The Ride of Discord Henri Julien Félix Rousseau, 1894 สีน้ำมนั บนผา้ ใบ ขนาด 144 x 105 CM ภ าพ ส ง ค ร า ม ข อ ง รู โ ซ ฝั น เ ฟื อ ง ต่ า ง จ า ก ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง รู โ ซ ส ร้ า ง รูปสัญลักษณ์ของความชั่วช้าด้วยภาพนางฟ้าในชุด ขาวถือคบไฟที่มี แ ต่ ค วั น สี ด ำ นั่ ง อ ยู่ บ น ห ลั ง ม้ า สี ด ำ ที่ ก ำ ลั ง ท ะ ย า น ไ ป บ น ซ า ก ศ พ ที่ ระเกะระกะเบื้องล่างขณะที่อีกากำลังลิ้มรสเลือดสด ๆ จากซากศพ เ ห ล่ าน้ั น รู โ ซ ไ ด้ ค ว า ม คิ ด ม าจ าก พ ร ม แ ข ว น ผ นั ง เ กี่ ย ว กั บ ศ า ส น า ที่ เ ข า ไ ด้ ดู ใ น วั ย เ ด็ ก รู โ ซ ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ใ ห้ เ ยื อ ก เ ย็ น ด้ ว ย สี ด ำ เ ท า น้ ำ เ งิ น ข า ว เป็นต้นภาพสงครามของรูโชต่างไปจากผลงานของศิลปินคนอื่น ๆ ที่ มักแสดงให้เห็นความโหดร้ายของสงครามด้วยสีสัน ที่เร่าร้อน แต่รูโซ กับแสดงความโหดร้ายของสงครามด้วยความเงียบเย็นชา แต่แฝง ความทารุณอยู่เบื้องหลังภาพนี้สร้างความตื่นเต้นให้กับเพื่อน ๆ ศิ ล ปิ น อ ย่ า ง ม าก นั บ เ ป็ น ก า ร เ ริ่ ม ต้ น ที่ ดี รู โ ซ ไ ด้ จั ดแ ส ด ง ผ ล ง า น จิ ต ร ก ร ร ม ข อ ง เ ข า เ รื่ อ ย ม า กั บ ว ลี ที่ ว่ า “The War, terrifying, she passes, leaving despair, crying and ruin everywhere.” 19
20 Tiger in a Tropical Storm , 1891
21 Tiger in a Tropical Storm Henri Julien Félix Rousseau, 1891 สีน้ำมนั บนผา้ ใบ ขนาด 129.8 x 161.9 CM ภาพเสือกำลังกระโจนไปตามแรงพายุกลางป่าซ่ึ งปกคลุมด้วย ต้ น ไ ม้ ใ บ ห ญ้ า ที่ ลู่ ไ ป ต า ม แ ร ง ล ม เ ข า ว า ด ต้ น ไ ม้ ใ บ ไ ม้ ด้ ว ย สี สั น ส ด ใ ส แ ล ะ เ ก็ บ ร า ย ล ะ เ อี ย ด ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ว ร ร ณ ะ ข อ ง สี โ ด ย ร ว ม เ ป็ น สี เ ขี ย ว อ ม เ ห ลื อ ง ก่ อ น ท่ี รู โ ซ จ ะ ว า ด ภ า พ นี้ เ ข า ต้ อ ง ร่ า ง ภ า พ สั ต ว์ แ ล ะ พื ช พ ร ร ณ ไ ม้ เพื่อศึกษารูปทรงโครงสร้างและรายละเอียดของ ต้นไม้และสัตว์แต่ละ ช นิ ด ใ ห้ เ ข้ า ใ จ อ ย่ า ง ถ่ อ ง แ ท้ เ สี ย ก่ อ น จึ ง ล ง มื อ ว า ด ซึ่ ง เ ป็ น แ น ว ท า ง ท่ี ศิ ล ปิ น อ า ชี พ ก ร ะ ท ำ กั น ทั่ ว ไ ป รู โ ซ มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ว า ด ภ า พ สั ต ว์ ต้ น ไ ม้ แ ล ะ พื ช เ ป็ น พิ เ ศ ษ เ ฉ พ า ะ สั ต ว์ ป่ า ที่ ก ำ ลั ง ล่ า เ ห ยื่ อ ห รื อ ต่ อ สู้ กั น นั้ น รู โ ซ จ ะ ถ่ า ย ท อ ด สั ญ ช า ต ญ า ณ ข อ ง ผู้ ล่ า แ ล ะ ผู้ ถู ก ล่ า อ อ ก ม า ไ ด้ อ ย่ า ง ดี
ภาพ Tiger in a Tropical Storm ได้รับการวิจารณ์จาก เฟลีกซ์วา โลตอง (Felix Edouard Vallotton , 1865-1925) จิตรกรศิลปินภาพพิมพ์และนักประพันธ์ชาวสวิส เซอร์แลนด์ ที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มศิลปินที่รู้จักกันในช่ือ Les Nabis เขาเป็นบุคคล สำคัญในการพัฒนารูปแกะสลักสมัยใหม่ เขาวาดภาพบุ คคลทิวทัศน์ ภาพเปลือยสิ่งมีชีวิตและวัตถุอ่ืน ๆ ในรูปแบบที่สมจริงและปราศจาก อารมณ์ ได้วิจารณ์ผลงานช้ินน้ีของรูโซไว้ว่า “ ประชาชนขนลุก ป ร า ศ จ า ก เ สี ย ง เ งี ย บ งั น เ มื่ อ อ ยู่ เ บื้ อ ง ห น้ า ภ า พ รู ป เ สื อ ต ะ ป บ เ ห ยื่ อ อ ย่ า ง หิวกระหายของรูโซ ” แม้รูโซจะมีความพึงพอใจกับการวาดภาพ น้ีก็ ตาม แต่เขาก็ยังคงสร้างผลงานอยู่สม่ำเสมอ 22
เฟลีกซ์วา โลตอง 23
The Sleeping Gypsy , 1897 24
The Sleeping Gypsy Henri Julien Félix Rousseau, 1897 สีน้ำมันบนผา้ ใบ ขนาด 129.5 x 200.5 CM ภาพยิปซีกำลังนอนหลับอยู่กลางหาดทราย ข้ างกายมีกีต้าร์ และแจกัน ภาพน้ีให้อิทธิพลในการสร้างงานหุ่นน่ิง (Still life) แบบ คิวบิสม์ (Cubism) ของปีกัสโซในเวลาถัดมาด้านหลังยิปซีเป็นรูป สิงโตถัดไปเป็นทะเลทรายท่ีเวิ้งว้างท่ามกลางแสงจันทร์สลัว ๆ รู้สึก คร่ึ ง หลั บ ครึ่ ง ตื่ น คล้ า ยกั บ จิ ต ร ก ร ร มแ น ว เ หนื อ จ ริ งที่ เ กิ ด ขึ้ น ภ า ย หลั ง แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม นิ ย ม แ พ ร่ ห ล า ย รู โ ซ มั ก ใ ช้ ส่ิ ง ท่ี มี ชี วิ ต แ ล ะ ไ ม่ มี ชี วิ ต ภาพน้ีเป็นส่ือแสดงความรู้สึก เช่น สิงโตและยิปซีเป็น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง สิ่ ง มี ชี วิ ต ท ะ เ ล ท ร า ย เ ป็ น สั ญ ลั ก ษ ณ์ ข อ ง ส่ิ ง ไ ม่ มี ชี วิ ต แสดงความโหดร้ายและความแล้งน้ำใจ ของมนุษย์ที่ปฏิบัติต่อเพ่ือน มนุษย์ด้วยกันอย่างชาวยิปซีที่ร่อนเร่อยู่ในยุโรป เป็นสัญลักษณ์ของผู้ ยากไร้ผลงาน จิตรกรรมลักษณะนี้แสดงให้เห็นความชาญฉลาดใน ก า ร น ำ เ ส น อ ข อ ง รู โ ซ น่ั น เ อ ง 25
26 The Snake Charmer , 1907
27 The Snake Charmer Henri Julien Félix Rousseau, 1907 สนี ้ำมันบนผา้ ใบ ขนาด 169 x 189 CM เ ป็ น ภ า พ ที่ แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จั ด อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ศิลป์และการใช้วรรณะสีอย่างแยบยลของรูโซ แม้เขาจะไม่ได้ศึกษา ทฤษฎีองค์ประกอบศิลป์และหลักการใช้สีจากสถาบันศิลปะก็ตาม แต่ การฝึกฝนและศึกษาด้วยตนเอง ทำให้เขาสามารถสร้างองค์ประกอบ ศิ ล ป์ ไ ด้ ง ด ง า ม แ ล ะ คุ ม ว ร ร ณ ะ ข อ ง สี ใ ห้ ก ล ม ก ลื น กั น ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี น อ ก จ า ก นี้ รู โ ซ ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง บ ร ร ย า ก า ศ ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม ฝั น แ ล ะ จิ น ต น า ก า ร ไ ด้ อ ย่ า ง ล้ ำ ลึ ก แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น วิ ญ ญ า ณ อั น เ ร้ น ลั บ ข อ ง ป่ า สั ต ว์ แ ล ะ ม นุ ษ ย์ ใ น ภ า พ รู โ ซ ใ ช้ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ศิ ล ป์ แ ล ะ ห ลั ก ก า ร ใ ช้ สี จ า ก จินตนาการและความรู้สึกที่ได้สัมผัสจากสีที่เคยเห็น และถ่ายทอด อ อ ก ม า ผ่ า น ผ ล ง า น ศิ ล ป ะ ช้ิ น นี้
The Dream , 1910 28
The Dream Henri Julien Félix Rousseau, 1910 สนี ้ำมันบนผา้ ใบ ขนาด 204.5 x 299 CM เป็นผลงานที่เขาทุ่มเทมาก ใช้เวลาถึง ๓ เดือนต้ังแต่เช้าจด ค่ำทุกวันไม่มีวันหยุด รูโซเร่ิมวาดจากด้านบนของภาพลงมาด้านล่าง อย่างช้า ๆ อาร์เดนโก ซอฟฟีซี (Ardengo Soffici : 1879-1964) เ พ่ื อ น จิ ต ร ก ร ช า ว อิ ต า ลี ซ่ึ ง เ ฝ้ า ดู ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง รู โ ซ อาร์เดนโก ซอฟฟีซี ได้บันทึกไว้ว่า รูโซจะระบายสีสีเดียวจน เต็มพื้นที่ก่อนที่จะลงสีต่อไปส่วนมากใช้สีเขียวที่ระบายให้มีน้ำ หนัก ต่าง ๆ กันมากถึง 50 น้ำหนัก ผลงานจิตรกรรมชุดความฝันรูโซได้รับ ความบันดาลใจบางส่วนมาจากเม็กซิโก ซึ่งเขาใช้ชีวิตขณะที่เป็น ทหารอยู่ระยะหนึ่ง ประกอบกับการศึกษาต้นไม้ในสวนชาร์แดงเดป ลองต์ (Jardin des Plantes) ในกรุงปารีสศึกษารูปร่างและชีวิต สัตว์และนกต่าง ๆ ในสวนสัตว์ ส่วนโซฟาและนางแบบได้แบบอย่าง มาจากภาพถ่าย (Kathy Rooney, 1986: 354) 29
30 เสนห่ ใ์ นงานศิลปะของ Henri Julien Félix Rousseau เ ล่ า ภ า พ เ ห ตุ ก า ร ณ์ ชี วิ ต ร ะ ห ว่ า ง เ พ่ื อ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ ภาพเหมือนตนเอง มีภาพทิวทัศน์กรุงปารีสและปริมณฑล ประกอบด้วยคนเดินคนตกปลาทิวทัศน์ธรรมดา ๆ แสดงความรู้สึก สบาย ๆ อีกท้ังภาพทิวทัศน์ที่ลึกลับแสดงให้เห็นความบริสุทธิ์ของป่า ภ า พ สั ต ว์ ป่ า ข ณ ะ ล่ า เ ห ยื่ อ แ ล ะ ภ า พ ก า ร ต่ อ สู้ กั น ข อ ง สั ต ว์ ป่ า ซ่ึ ง เ ป็ น ง า น จิตรกรรมที่ได้รับการยกย่องและกล่าวถึงมากที่สุด ยังมีภาพเกี่ยวกับ การเมืองความรักชาติกีฬาประจำชาติ ภาพที่แฝงความหมายต่าง ๆ แ ล ะ ภ า พ ค ว า ม รื่ น ร ม ย์ ข อ ง ป่ า แ ล ะ ส ว น ด อ ก ไ ม้ ผู้คนที่สนใจงานศิลปะของรูโซ สามารถชื่นชมผลงาน จิตรกรรมของรูโซได้ไม่ยาก เพราะเขานำเสนอเร่ืองราวด้วย ภาพเหมือนจริงที่มีรูปทรงง่าย ๆ ตรงไปตรงมาสีสวย แต่ถ้าต้องการ ให้ได้สุนทรียรสและสารลึก ซ่ึงคงไม่ง่ายนักเพราะงานจิตรกรรมของรู โซเป็นเหมือนบทสนทนาของจิตมนุษย์ เก่ียวกับเรื่องราวในอดีตที่ ซ่ อ น อ ยู่ ใ น จิ ต ใ ต้ ส ำ นึ ก กั บ เ ที่ แ ว ด ล้ อ ม ด้ ว ย ป่ า แ ล ะ สั ต ว์
31 Louis Vivin
ลยุ ส์ วแี วง 32
Louis Vivin (1861-1936) จิ ต ร ก ร ช า ว ฝ ร่ั ง เ ศ ส จิ ต ร ก ร ผู้ มี อ า ชี พ บุ รุ ษ ไ ป ร ษ ณี ย์ ม า ก่ อ น วแี วงได้เรียนรู้การสร้างสรรค์ผลงานดว้ ยตนเอง เขามีความ กระตือรือร้นในการวาดภาพต้ังแต่ยังเป็นเดก็ แต่อาชีพของเขาทำใหเ้ ขาชัง แตกต่างไปจากส่ิงท่ีเขาไว้มากมาย เขาใชเ้ วลาฝึกฝนฝมี ือของเขาจากเวลาใน การทำงานศิลปะ ภาพของวแี วง มลี ักษณะมิตไิ ม่ตรงตามสัดสว่ นจริง แสงและเงาไม่ ถกู ต้อง ทำให้งานดเู ป็นศลิ ปะไรเ้ ดยี งสา ไม่มีหลกั การหรือกฎเกณฑ์ แตแ่ ฝงไป ดว้ ยเสน่ห์ของผลงาน ซึ่งรจู้ กั กนั ในชื่อ “Sacred Heart Painters” และเปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการวาดภาพไร้เดียงสาของฝร่ังเศส ผลงานของวีแวงเปน็ ท่ี ทราบกันดีว่ามีธมี ทีน่ ่าเศร้าและน่าหดหู่สำหรับพวกเขา เขายงั เป็นที่ร้จู กั ในเรอื่ ง การวาดภาพจากความทรงจำของเขา ผลงานของวีแวงแสดงถึงฉากประเภท ช้ินสว่ นดอกไมฉ้ ากลา่ สตั ว์และทวิ ทศั น์ของกรุงปารีส “โดดเดน่ ในเรอ่ื งเอฟเฟกต์ มมุ มองทส่ี ั่นคลอนอย่างมีเสน่ห์” 33
34 ผลงานทโี่ ดดเดน่ Venice: Canal Scene with a Church Louis Vivin, สีน้ำมันบนผา้ ใบ
35 Vivin's Le Moulin de la Galette Louis Vivin,1926 สีน้ำมนั บนผา้ ใบ
36 Louis Vivin ถ่ายทอดความรู้สึกผ่านผลงาน ผ ล ง า น ศิ ล ป ะ น า อี ฟ ข อ ง วี แ ว ง ส่ ว น ใ ห ญ่ มั ก เ ป็ น ป ร ะ เ ภ ท ภ า พ ทิวทัศน์ ตึก อาคาร บ้านเรือนต่าง ๆ โดยใช้เส้นพ้ืนฐานมา สร้างสรรค์ผลงาน ดูภาพแล้วไม่มีมิติใกล้ไกล ภาพกลมกลืนเป็นภาพ เดียว มีการไล่สี โดยแสดงอารมณ์อารมณ์ความรู้สึกของตนเองไว้ใน ภาพ แต่มุมมองของนักศิลปะเอง เช่ือว่า เป็นผลงานไร้มายา ไร้ เดียงสา เพราะศิลปินไม่เคยร่ำเรียนจากสถาบันศิลปะที่ใด เป็นหนึ่ง ในเสน่ห์ผลงานของวีแวง ที่ทำให้ผู้คนที่สัมผัสต่างชื่นชมในผลงาน ของเขา
37 Morris Hirshfield
มอรสิ เฮริสฟิลด์ 38
Morris Hirshfield (1872-1946) จติ รกรเกิดในโปแลนด์ใกล้ชายแดนรสั เซีย เมอื่ เขาอายุ 18 ปเี ชน่ เดียวกบั ชาวยวิ หลายคน เขาอพยพไปยงั สหรฐั อเมริกา เขาทำงานในอุตสาหกรรมเส้อื ผ้าจากนั้นก็สร้าง บริษัท รว่ มกบั พชี่ ายของเขาซ่ึงเป็น บรษิ ัทผลิตเส้ือโค้ทและรองเทา้ แตะสำหรบั ผู้หญงิ ในปี 1935 เขาลาออกจากธุรกจิ จากน้ันเขากเ็ ร่ิมวาดภาพ เขาวาดภาพหญงิ สาวและ สตั ว์ป่าหรือสตั วเ์ ลี้ยงเป็นหลกั 39
40 ผลงานทโ่ี ดดเดน่ Femme avec pigeon Morris Hirshfield ,1942 สีน้ำมนั บนผา้ ใบ
41 Deux femmes devant un miroir Morris Hirshfield ,1943 สนี ้ำมันบนผา้ ใบ
42 REFERENCES
REFERENCES กำจร สนุ พงษ์ศรี. (2523), ศลิ ปะสมัยใหม่ กรงุ เทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . มะลิ เออื้ อานันท์ (2545), ศลิ ปะนาอีฟ. พจนานกุ รมศลิ ปะ กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (2542), พจนานุกรมศพั ทศ์ ิลปะอังกฤษ – ไทย. พิมพค์ รั้งท่ี ๒. กรุงเทพฯ : ราชบัณฑติ ยสถาน. วิบลู ย์ ลี้สุวรรณ (2548),อองรี รูโซ จิตรกรไร้ครู ผ้สู ร้างโลกไร้มายา : The Journal of the Royal Institute of Thailand Anna C.Krausse. (1995). The Story of Painting From The Renaissance to the Present. Germany: Konemann Verlagsgesellschaft mbh Bonner Str; 1995. Caroline Mathieu. (1992). Guide to the Musee d'Orsay. Paris: de la Réunion des musées nationaux, lan Chilvers, Harold Obsborne, Dennis Farr. The Oxford Dictionary of Art. Oxford University Press: Great Britain. Kathy Rooney. (1986). Techniques of The Great Masters of Art. London: Chartwell Book. Le Pichon Yann. (1982). The World of Henri Rousseau. New York: Arch Cape Press. Pierre Courthion (1956). Henri Rousseau Painting. France: The Little Library of Art.
Search
Read the Text Version
- 1 - 48
Pages: