Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Max Beckmann

Max Beckmann

Published by Kachornpon, 2020-05-20 01:27:37

Description: Max Beckmann_621310144_ณัฐรดา ศรีสันต์

Search

Read the Text Version

MAX BECKMANN

บทนาํ             ศลิ ปนทั้งฝง ตะวนั ออกและตะวันตกเปน ผูท ่สี นใจศึกษาศาสตรของศิลปใน ยุคสรางสรรคศลิ ปะมีหลากหลายทาน แตละทา นไดสรา งสรรคผ ลงานทีแ่ ตกตา งออก ไปตามความถนดั สภาพแวดลอ มรอบตัว และลกั ษณะนสิ ัยของศิลปน ซ่ึงศิลปน บาง ทานอาจมีชอ่ื เสียงที่โดง ดัง เปน ทร่ี จู กั ของผูค นทว่ั โลก แตศ ิลปน บางทานอาจจะไมไ ด โดง ดงั เหมือนศลิ ปนทานอื่นๆ แตมผี ลงานท่โี ดดเดน มคี ุณภาพ ส่อื ความหมายได อยา งลึกซงึ้ ดังเชนศิลปนทม่ี ีชอ่ื วา Max Beckmann หนังสือเลมเล็กเร่อื ง Max Beckmann เปนหนงั สอื ทใ่ี หข อมูลเกย่ี วกบั Max Beckmann ศิลปนชาวเยอรมันชนั้ นําของศตวรรษที่ 20 ไมว าจะเปน ชีวติ ในวัย เด็ก สญั ลกั ษณ ตลอดจนผลงานศลิ ปะท่ี Max Beckmann ไดส รางสรรคเ อาไวใหค น รนุ หลังไดนําไปศึกษาตอ ผเู รียบเรียงหวังวา ผูอานจะไดรับความรแู ละประโยชนจ าก หนังสือเลมนี้ หากผดิ พลาดประการใด ตองขออภัย ณ ทนี่ ี้ดวย   นางสาวณัฐรดา ศรีสนั ต ผูเ รยี บเรียง

สารบัญ 1                                           ชวี ประวตั ิโดยยอ 3                                        ชีวประวัติตามชว งเวลา 13                                       ผลงานประเภท Self-Portrait 36                                       ผลงานประเภท Portrait 51                                       ผลงานประเภท Painting 56                                       สรปุ 58                                       บรรณานกุ รม

biography

1

Max Beckmann, ถายโดย Hans Möller, 1922 ชาตะ                วันอังคารท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ ค.ศ.1884 มรณะ               วนั พธุ ที่ 27 ธันวาคม ค.ศ.1950 สญั ชาติ               เยอรมนั 2

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1884 Max Beckmann เกดิ วนั ที่ 12 กุมภาพนั ธ ค.ศ.1884 ที่เมือง Leipzig เขาเปนลกู คนสดุ ทอ งและพีน่ องรวมกันอกี 2คน พอ ของเขาช่ือ Carl Heinrich Christian Beckmann เปน พอคาแปง แมข องเขาช่ือ Antoinette Henriette Bertha มาจากครอบครวั ทําฟารมที่รา่ํ รวย ในKonigslutter ใกล Brunswick พ่ชี ายของเขาช่อื Richard อายุ 10 ป และพีส่ าวของเขาชอื่ Margarethe อายุ15 ป 1892 Beckmann อาศัยอยูก ับพ่สี าวของเขาช่วั คราวใน Falkenburg ใน Pomerania และเขา เรียนท่เี มืองนี้ 1894 พอ ของBeckmann เสยี ชวี ิต แมของเขายา ยมาอยทู ี่ Brunswick กับลูกๆ จน กระทง่ั ค.ศ.1899 Max Beckmann เขา เรยี นในเมอื ง BrunswickและKonig- slutterและเขาโรงเรยี นประจําใน Gandersheim และเรมิ่ วาดรปู ตัง้ แตอ ยทู ี่ โรงเรยี น 3

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1901 เขามีเพื่อนชอ่ื Ugi Battenberg เปน นักเรยี นใน the Nature course ซึง่ สอน โดย The Norwegian portrait และ Frithjof Smith เปนนักจิตรกร Beckmannไดน าํ วธิ ีเตรยี มการสเกต็ ซบนผนื ผา ใบดวยชาโคล จากSmithโดยตรง 1902 ณ.งานcarnival ท่ีKunstschule ใน Weimar Beckmann ไดพบภรรยา ในอนาคตของเขาชอื่ Minna Tube เธอเรียนมหาวทิ ยาลัยเดียวกบั Beckmannตงั้ แต 21 ตุลาคมและเรียน Ladies course สอนโดย Hans Olde 1903 หลังจากการเรยี นภาคฤดูรอ นในปค.ศ.1903 Beckmannกไ็ ดเ รียนจบในWeimar เขายายมาที่ปารสี และเชาสตูดิโอทนี่ ่ี งานของPaul Cezanne สรา งแรงบันดาลใจใหก ับเขา ปลายเดอื นมีนาคม ค.ศ.1904  เขาไปเท่ียวGeneva ผานFontainebleau และ Colmar ตอ จากนั้นไปBerlinอีกดว ย 4

Max Beckmann 5

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1905 ฤดูรอ นเขาไปชายฝง ดานตะวันตกเฉียงเหนอื ของDenmark ซึ่งเปน สถานที่ทีทะเล มากมายและภูมิทัศนทางทะเล Beckmann สรางผลงานทม่ี ีช่อื วา Young Men by the Sea และเขียนเลข1 ในคลังผลงาน ครง้ั แรกเขาเซน็ ผลงานดวยอักษรยอ เพอื่ Minna Tube HBSL มาจาก Herr Beckmann seiner Liebsten Mr. Beckmann to his darling ซึ่งแปลจากภาษาเยอรมันไดวา เธอคือทรี่ ักของฉนั เขาใชล ายเซน็ นจ้ี นกระท่ัง ค.ศ. 1913 1906 Beckmann มีสวนรวมในนทิ รรศการของ Deutscher Kunstlerbund (สมาคม ศิลปน เยอรมนั ) ใน Weimer ซง่ึ เปนสถานทที่ เี่ ขาไดร บั รางวลั แหงเกยี รติยศจาก รปู g men by the sea ไดทุนเรยี นที่ Florence รูปนถ้ี ูกThe Weimar Museum ซอื้ ไป  แมของBeckmann ไดเ สียชวี ติ จากโรคมะเร็งในชว งฤดูรอน เขาวาดภาพชอื่ วา Large Death Scene and Small Death Scene  เขาแตงงานกับ Minna Tube ใน วนั ท่ี 21 กนั ยายน ค.ศ1906 และไปเดทท่ีปารสี 1907 Beckmann อาศัยอยทู ี่ Florence ตัง้ แตเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1906 จนถงึ ฤดู ใบไมผ ลิ ค.ศ.1907 เขาสรางผลงานชอ่ื วา Self-Portrait in Florence เขาไดเ ขา รวมนิทรรศการ The First German Nation Art Exhibition ใน Dusseldorf และนิทรรศการในเมอื งเบอรล นิ ท่ี The Berlin Secession และท่ี The Paul Cassirer’s gallery เขาไดสรา งบานทเ่ี มอื ง Hermsdorf, Berlin ซึ่งบา นหลงั นี้ ออกแบบโดย Minna Beckmann Tube 6

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1908 Beckmann มลี กู ชายช่อื Peter เกิดในวนั ที่ 31 สงิ หาคม ค.ศ.1908 เขาไดเ ขา รว มหลายนทิ รรศการไมวาจะเปน Paul Cassirer’s Gallery ที่ Berlin Secession , The Great Exhibition of art ท่ี The Kunstpalast ใน Dresden เพือ่ วางแผนหา ‘New Secession’ 1909 Beckmann พบกับนกั วิจารณศ ิลปะชอ่ื วา Julius Meier Graefe หนงึ่ ในภาพ วาดของBeckmann แสดงในนทิ รรศการนานาชาตศิ ลิ ปะ  ที่ The Glaspalast ใน Munich และเขานาํ เสนอผลงานครง้ั แรกท่ี The Salon d’Automne ใน the Grand Palais กรุงปารีส เขาสรางDouble Portrait ชอื่ วา Max Beckmann and Minna Beckmann Tube and Scene from the Destruction of Messina 1910 Beckmann ถกู เลือกเปนคณะกรรมการของ the Berlin Secession ซึง่ อายุ นอ ยทีส่ ุด แตเ ขาลาออกจากตําแหนง ภายหลังทําไดเพียง6เดือน เขาเขารวม นิทรรศการอกี หลากหลายทเี่ ชน Berlin, Bremen, Darmstadt, Dresden, Leipzig และ Munich ในกรงุ เบอรลินเขาไดสรา งการตดิ ตอกับ Israel Ber Neumann ซ่ึงเผยแพรงานกราฟฟคของเขา 7

MAX BECKMANN in his studio in Amsterdam ,1938 8

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1912 Beckmann พบกับ Reinhard Piper จากสาํ นักพิมพมิวนิค ท่สี ตดู ิโอของBeckmann ใน Hermsdorf   นวารสารช่ือวาPan เขาไดเ ผยแพร Thoughts on Timely and Untimely Art ซงึ่ เปนการตอบกลับบทความของFranz Marc ช่อื วา The new Painting  ซงึ่ เขาปฎเิ สธ the modern formalism ของกลมุ Blue Rider 1924 ในเมือง Vienna ระหวา งชวงฤดใู บไมผลิ Beckmann ไดพ บกบั Mathilde von Kaulbach ซง่ึ เปนลกู สาวคนสดุ ทอ งของจติ รกร August Friedrich von Kaulbach เธอเปนนักเรยี นดนตรี อาศยั อยูก ับครอบครวั Motesiczky ซงึ่ ใหชอ่ื เลนเธอมาวา Quappi 1925 Beckmann และ Minna Beckmann Tube ไดตกลงหยา กนั และเขาไดหมัน้ กับ Mathilde von Kaulbach   พวกเขาท้ังสองคนแตง งานกนั ในวันที่ 1 กันยายน ค.ศ.1925 ท้ังคูอาศยั อยทู โ่ี รงแรม Monopol-Metropol ซึง่ อยูตรงขามสถานี รถไฟสายหลกั ท่ี Frankfurt จนกระท้ังปค .ศ.1926 ผลงานของBeckmann เปน หน่ึงในงานหลักของ New objectivity (Neue Sachlichkeit) นทิ รรศการที่ the Stadtische Kunsthalle ใน Mannheim ชวงมิถนุ ายนจนถึงกันยายน ใน เดอื นตุลาคมเขาไดรบั การแตง ตงั้ เปนเวลาหา ปใ นการสอนระดับปรญิ ญาโทท่ี Stadelschule-Kunst- gewerbeschule 9

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1927 เน่ืองในโอกาสวันเกิดอายคุ รบหกสิบ ของMeier Graefe ผลงานทีม่ ีชอื่ 1933 วา The bark ของBeckmann ไดถ กู แสดงที่ the Nationalgalerie ที่ เมอื งเบอรล ิน โดยผูอ ปุ ถมั ภศลิ ปะ น้นั คอื งานแรกของ Beckmenn ใน แกลลอร่ี บทความของBeckmannชือ่ The artist in the State  ถกู ตี พิมพในนิตยสารชอ่ื Europaische Revue The Beckmann ยา ยไปอยทู ่ีกรุงเบอรลนิ หลังจากทอ่ี ํานาจของฮลิ เลอรมาก ขึ้น Beckmann ถกู ไลออกจาก Baumeister, Scheibe และ Nussbaum หอ งของ Beckmann ท่ี Nationalgalerie ในกรงุ เบอรลนิ ถกู ร้อื ถอนหลงั จาก ถอดถอน Ludwig Justi และนิทรรศการผลงานของbeckmann ทพ่ี พิ ธิ ภัณฑ ใน Erfurt ถกู หา ม 1937 หลังจากไดยินฮิลเลอรพ ดู ที่ Haus der Deutschen Kunst ในMunich เขา และภรรยากย็ า ยออกจากเยอรมันในวันท่ี 19 กรกฎาคมไปอยู Amsterdam ผลงานของเชาเชน 10 ภาพวาด และ12 งานกราฟฟค ถูกไปจดั แสดงใน นิทรรศการ Entartete Kunst (Degenerate Art) เยาะเยยศิลปะ และผลงาน ของเขารวม 590 งานใน German museums ถกู ยึด 10

Beckmann in Amsterdam,1938 11

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1938 ในเดือนตลุ าคม Beckmann ยา ยไปทปี่ ารีส ถึงแมวาพวกเขาจะมอี พารทเมนต อยูท ี่ Amsterdam บางงานของเขาถกู ยดึ จาก German museums ถกู เสนอ ขายใหตางประเทศใหท างตวั แทนจาํ หนายงานศิลปะในเยอรมัน Karl Buchholz และ Gunther Franke ซอ้ื ไปหลายภาพซึ่งไมไ ดรับอนุญาตใหแสดงในสาธารณะ 1940 Beckmann ไดร บั คอรสฤดูรอนที่สถาบันศลิ ปะท่ซี คิ าโก อยา งไรกต็ ามสถาน กงสลุ ใหญใ นอเมริกากป็ ฎเิ สธการใหว ซี ากับเขา 1948 ในเดือนพฤษภาคม มเี ปด งานนิทรรศการผลงานของBeckmann ท่ี The City Art Museum ใน St Louis ประเทศอเมริกา และวนั ท่ี 5 ตลุ าคม Beckmann และภรรยาสมัครสญั ชาตอิ เมริกนั 1949 ชว งฤดูรอ น Beckmann สอนทโี่ รงเรยี นศิลปะของ The University of Colorado และชวงปลายเดอื นกันยายนเริม่ สอนที่ The Brooklyn Museum Art School 11

Timeline MAX BECKMANN 1884-1950 1950 เขาวาดรูปตัวเองรปู สดุ ทายช่อื วา the Self portrait in Blue Jacket และวันท่ี 27 ธนั วาคม Beckmann ออกไปจากอพารท เมนตเพื่อจะไป Metropolitan Museum of Modern Art ซง่ึ เปนสถานท่ีจัดแสดง Self-Portrait in Blue Jacket ชอื่ นิทรรศการวา American Painting Today เขาหวั ใจวายทีม่ ุมถนนที่ Central Park West 12

PoSerltrfa- it

SELF-PORTRAIT WITH SOAP BUBBLES, 1898-1900 14

Beckmann ใชเ วลาวาดรูปในช้ันเรียนของเขา เขาตั้งใจจะเปน ศิลปน ตั้งแตอ ายุ 16 ป ภาพน้ีชอื่ ภาพวา Self-Portrait with Soap Bubbles, 1898-1900 เมื่อเขาอาย1ุ 5ป ในภาพเปนเด็ก ผูช ายคอื Beckmannเอง เอนตวั ลงบนเกาออ้ี ยา งลมื ตัว ไมจองภมู ิ ทัศนทม่ี ลี ักษณะเมฆทีเ่ ปน ฝอยๆระดบั ต่ํารอบๆตัวเลย แตฟองสบู น้ันหละคือโลกสว นตัวของเขา 15

SELF-PORTRAIT, 1901 16

ระหวา งปค.ศ.1900 Beckmann อาย1ุ 6ป มรี ปู วาดตวั เองอยู 3 รปู ท่นี า ตกใจ ท้งั หมดนว้ี าดเปนจดุ หรือไมก็วาดดว ยดนิ สอ จนกระทงั่ อาย1ุ 7 ป เขากไ็ ดสรางผล งานช่ือ Self-Portrait, 1901 ขน้ึ ส่งิ น้ีแสดงใหเหน็ วา เขาชน่ื ชมผลงานของ Rembrandt ทเี่ รม่ิ อาชพี จากการวาดภาพตัวเอง ความนาสนใจของรูปนค้ี ือ Beckmann ที่กาํ ลงั ตะโกนเพราะความสขุ โกรธ หรือกําลังเจบ็ ปวดกันแน REWARD OFFERED! 17

SELF-PORTRAIT, 1901 18

เขาไดทุนไปเรยี นท่ี Florence ในค.ศ.1907 เขาไดวาดภาพตัวเองครั้งแรกดว ยสี น้าํ มนั ภาพวาดน้ีมชี ่ือวา Self-Portrait in Florence ,1907 โดย Beckmann ใส สทู และถือบหุ ร่ี มองตรงมาขา งหนา ดว ยความม่ันใจอยางสมบูรณ สง่ิ ท่นี าสนใจของ ภาพนี้คือการผสมผสานของสไตลการวาดรูป หลงั Beckmann คือเมอื ง Florence เมอื งอันนา ตื่นตะลงึ สองประกายระยิบระยับและลอยไปดว ยสสี ันอันนาประทบั ใจ แมแตบารทห่ี นา ตางทเ่ี หมอื นกั้นเขาออกหางเมอื ง ท้งั โยกเยกและแกวงไปมาขาด ความม่ันคง แจกนั ขา งๆตวั เขาดวย สง่ิ เหลา นไ้ี มเหมอื นจรงิ ท้ังหมดแตBeckmann ก็ไมไดวาดตามใจ ทั้งใบหนา สชี มพแู ขง็ แกรงไปจนถึงมือท่ถี อื บหุ รี่ราวกบั เขาทนไม ไดท ่จี ะปลอยใหต ัวเองเช่ือใจในโลกภายนอกนัก 19

SELF-PORTRAIT AS MEDICAL ORDERLY, 1915 20

ภาพวาดน้ีมชี อ่ื วา Self-Portrait as Medical Orderly, 1915 เขาพยายามตอสู เพอ่ื ดึงบางส่ิงออกจากตัวเอง Beckmann เขา รบั การรกั ษาที่โรงพยาบาลแลว ยัง คงใสเคร่ืองแบบ แสงในรปู แบง ไดสองสว นคือ สวนที่เรามองเหน็ เปนสวนทสี่ อ ง สวา งอยา งเตม็ ที่ ขณะที่อกี สว นของภาพอยใู นเงามดื ซึ่งแสดงถึงตวั ของเขาเอง 21

SELF-PORTRAIT WITH RED SCARF, 1917 22

สองปข องการพกั ฟนผา นไป Beckmann ก็ยงั หาตวั เองไมพ บ เขาถอดเคร่ืองแบบ ของตัวเองและใสเพียงเสอ้ื ผาธรรมดาอีกครั้ง ภาพนมี้ ีช่อื วา Self-Portrait with Red Scarf, 1917 เปน ภาพของBeckmann ท่พี นั ผา พันคอสีแดง หลังของเขา โคงและรางกายผอม ดา นหลังเปน หนา ตา งทึบแสง ใบหนา เครียดและหงดุ หงิด ผา พันคอสแี ดงเหมอื นบวงรอบคอ 23

SELF-PORTRAIT WITH CHAMPAGNE GLASS ,1919 24

Beckmann ไมไดฟน ตวั จากความสน้ิ หวงั และความเหงาของเขา ภาพน้มี ชี อ่ื วา Self-Portrait with Champagne Glass ,1919 เปนภาพท่ี Beckmann ใสชุด สทู ถือแกว แชมเปญ ขา งๆมีเครือ่ งดื่มใสถงั ที่มนี ้าํ แขง็ อยู เขายม้ิ มมุ ปากหวงั จะ ผา นทา ทางการตอนรับ เคร่อื งด่ืมฉลองของเขามไี วสาํ หรบั การถอื ไว ไมใ ชเพื่อ ความเพลดิ เพลนิ 25

SELF-PORTRAIT AS CLOWN ,1921 26

ภาพน้มี ขี ื่อวา Self-Portrait as Clown ,1921 เปน ภาพทีB่ eckmann อยูใน ฐานะตัวตลก บนตักมหี นากากและแตร ขางๆมแี มวอยูห นึง่ ตวั นง่ั อยูบนเกาอี้ตวั เดียวกัน ภาพเหลา น้ีลวนเปนภาพแหง ศกั ดิศ์ รอี ันยงิ่ ใหญ Beckmann คิดวา ชวี ติ ชางนา หวั เราะและตลกจรงิ ๆ 27

SELF-PORTRAIT IN TUXEDO ,1927 28

ภาพน้มี ชี ื่อวา Self-Portrait with Horn, 1938 เปน ภาพหลังจากทB่ี eckmann ตอ งออกจากเยอรมนั เพราะนาซีไปอยูท ี่ Amsterdam แทน ความรสู ึกของเขาที่ ถูกเนรเทศแสดงออกมาผา นแววตาที่เหลือบไปดานขาง หมายความวา เขายงั จม อยกู ับความคิดมดื มนของตวั เองอยู แตBeckmann กใ็ หความสาํ คัญของดนตรี 29

SELF-PORTRAIT WITH HORN, 1938 30

ภาพน้มี ชี ื่อวา Self-Portrait with Horn, 1938 เปน ภาพหลงั จากทB่ี eckmann ตอ งออกจากเยอรมนั เพราะนาซไี ปอยทู ่ี Amsterdam แทน ความรูสึกของเขาที่ ถูกเนรเทศแสดงออกมาผา นแววตาทเ่ี หลือบไปดา นขา ง หมายความวา เขายังจม อยกู ับความคิดมดื มนของตวั เองอยู แตBeckmann กใ็ หความสําคัญของดนตรี 31

SELF-PORTRAIT WITH SAXOPHONE, 1930 32

ภาพนมี้ ชี อ่ื วา Self-Portrait with Saxophone โดย Beckmann ช่ืนชอบเซก โซโฟน เพ่อื แสดงลกั ษณะที่ทันสมยั และเซกโซโฟนเปนสญั ลักษณข องดนตรที ีไ่ ด รบั อทิ ธพิ ลจากดนตรีแจสอเมรกิ ัน Beckmann ช่ืนชอบความบนั เทิงนี้ ในภาพ คือBeckmann ถอื เซกโซโฟน เปน รูปเกอื บเต็มตัว ไมเ ห็นเทา เขาใสเ สอ้ื คลุมสี เหลืองมีลายอีกดวย 33

SELF-PORTRAIT IN BLACK ,1944 34

ภาพนมี้ บี างสิง่ ทลี่ กึ ซึ้งมีช่อื วา Self-Portrait in Black ,1944 เปนภาพ Beckmann ใสช ดุ สทู สีดํา มีการเลน แสงเงาเปลง ประกายบรเิ วณคอและขอมอื ใบหนา ของเขามเี งาเกือบท้งั หมด ไมม ีอารมณใดใด ไมสามารถอานความรสู กึ ได แสงมาจากดานซาย แตเ ขากลับไมสนใจ จองมองมาทางดา นมดื แทนทีจ่ ะมอง แสง นัน้ แสดงวาเขากาํ ลังปดบงั อะไรบางอยาง 35

Portrait 36

Double-Portrait Carnival, 1925 37

ภาพนี้มีชอื่ วา Double-Portrait Carnival, 1925 ปนเี้ ขาไดแตง งานกับ Quappi ในรูป แสดงถึงความกลาหาญ ทั้งคอู ยบู นเวที ผามา นสที องปดลง Quappi ปลอมตัวเปนนกั ขี่มา สวน Beckmann เปนตวั ตลกหรือไมก็นกั กายกรรม เขาถือบุหรี่ Quappi มองไปดานขวา อยางจริงใจราวกับกาํ ลงั รอดวยความวิตกกังวลแตกตางจาก Beckmann 38

Carnival Mask Green,Violet and Pink, Columbine , 1950 39

ภาพนี้มีชอื่ วา Double-Portrait Carnival, 1925 ปนเี้ ขาไดแตง งานกับ Quappi ในรูป แสดงถึงความกลาหาญ ทั้งคอู ยบู นเวที ผามา นสที องปดลง Quappi ปลอมตัวเปนนกั ขี่มา สวน Beckmann เปนตวั ตลกหรือไมก็นกั กายกรรม เขาถือบุหรี่ Quappi มองไปดานขวา อยางจริงใจราวกับกาํ ลงั รอดวยความวิตกกังวลแตกตางจาก Beckmann 40

Portrait of Minna Beckmann-Tube ,1924 41

ผหู ญิงในรปู ช่อื วา Minna Beckmann-Tube ภรรยาคนแรกของ Beckmann มดั ผมทรง มวยตํ่า เปน รูปท่ีเธอใสช ุดสดี ําน่งั บนเกาอ้ใี นแนวหันขาง ขอมือใสก าํ ไล นิ้วใสแหวน มี กระจกรูปสเ่ี หลี่ยมผนื ผา ตงั้ อยูใกลๆ เธอ 42

Portrait of Minna Beckmann-Tube ,1924 43

ผูหญิงในภาพคอื ภรรยาคนที่สองของBeckmann ชอื่ Quappi ภาพน้มี ีชอ่ื วา Quappi in Blue, 1926 โดยเธอไวผ มสนั้ ทาปากสีแดง ใสเ สอ้ื แขนกุดสฟี า คอกลม มือขา งหนึ่งเทาเอว ไว สายตามองไปทางดา นขาง 44