Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Abstract Artist : Piet Mondrian

Abstract Artist : Piet Mondrian

Published by Kachornpon, 2016-08-24 11:14:23

Description: Piet Mondrian (Thai Edition)
13580496_ภัทราภรณ์-วิเชฏฐพงศ์_สาขาภาพยนตร์

Search

Read the Text Version

Piet Mondrian



บทนำ� ปตี มองเดรยี น (Piet Mondrian) เป็นศลิ ปนิ ผู้สร้างสรรคผ์ ลงานใหแ้ ก่วงการศิลปะไวม้ ากมาย โดยเฉพาะศิลปะนามธรรมท่ถี อื เปน็ ศลิ ปะไรร้ ปู แบบตายตัวไมแ่ สดงลักษณะ และไมพ่ รรณนาเรื่องราวตามความเปน็ จรงิ เขาสรา้ งผลงานท่มี ีเอกลักษณ์อันโดดเดน่ ด้วยการสร้างผลงานดว้ ยรูปทรงเรขาคณติ และเขายงั จ�ำกัดองค์ประกอบศลิ ปใ์ นงานของตนเองให้เหลือเพยี งเสน้ ตรงในแนวตั้ง-แนวนอน และสีพนื้ -ฐานไม่ก่สี ี เชน่ เหลอื ง น้ำ� เงนิ และแดง ได้ผลลัพธ์เป็นงานศลิ ปะทชี่ ัดเจน เป็นระเบียบและดโู ดดเด่น หนังสอื Abstract Artist : Piet Mondrian จงึ เปน็ หนงั สือท่จี ดั ทำ� ขน้ึ เพื่อศึกษาชวี ประวตั ิของปีต มองเดรียน และศกึ ษาผลงานก่อนและหลงั ท่ีจะเขา้ ส่กู ารสรา้ งผลงานศิลปะนามธรรม ทางผู้จัดทำ� ไดร้ วบรวมและเรียบเรียงประวตั สิ ่วนตวั และผลงานของปีต มองเดรียนไวด้ ้วยกัน ไวเ้ ปน็ องค์ความรทู้ ่ีมปี ระโยชน์ให้แก่ผทู้ ่สี นใจ และคนรนุ่ หลงั ต่อไป ท้งั นผี้ ูจ้ ดั ทำ� หวงั เป็นอย่างยิง่ ว่าหนงั สอื เล่มนจ้ี ะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้อา่ น หรือผ้สู นใจไม่มากกน็ อ้ ย หากผดิ พลาดประการใด ขออภยั ไว้ ณ ท่นี ้ี ภัทราภรณ์ วเิ ชฏฐพงศ์



สารบัญ 1 18รู้จักมองเดรยี น 20Timeline Infographic 69ผลงานของมองเดรียน 73การอ้างองิ ผลงานมองเดรยี นบรรณานุกรม



MLeot’ns gedt troikanonw Piet Mondrian | 1

ปีต มองเดรียน (Piet Mondrian) มชี ือ่ เตม็ ว่า ปีเตอร์ กอรเ์ นลิส มงดรีออง(ผลู้ กู ) (Pieter Cornelis Mondriaan, Jr.) เป็นศลิ ปินชาวดตั ช์ เกิดเมอ่ื วนั ท่ี 7มนี าคม ค.ศ.1872 ทเี่ มืองอาเมอร์สโฟรต์ ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ บ้านเกดิ ของปีต มอนเดรียน ปจั จุบนั คือพิพธิ ภณั ฑ์ The Mondriaan House มอนเดรยี นเปน็ บตุ รชายของปเี ตอร์ กอรเ์ นลสิ มงดรอี อง (ผพู้ อ่ ) (PieterCornelis Mondriaan, Sr.) และโจฮันนา ครสิ ตนี า โกก (Johanna Christina Kok) Pieter Cornelis Mondriaan, Sr. Johanna Christina Kok2 | Piet Mondrian

ในปี ค.ศ. 1880 ครอบครวั ของเขาไดย้ า้ ยไปยังเมอื งวนิ เตอรส์ ไวก์ (รัฐ-เจลเดอรแ์ ลนด,์ เนเธอรแ์ ลนด)์ ภายหลงั จากนน้ั เขาไดพ้ บกบั ครอบครัวของลงุ ฟริตส์มองเดรียน (Frits Mondrian) ผซู้ ่งึ เปน็ จิตรกร และเป็นผรู้ ิเรม่ิ สอนการวาดภาพให้แก่มอนเดรยี น ตั้งแตป่ ี ค.ศ. 1889 Frits Mondrian ตวั มองเดรียนนนั้ อยากเปน็ จติ รกร แตค่ รอบครัวของเขายืนยันวา่ เขาสามารถเล้ยี งตัวเองได้ และคิดวา่ ศิลปะเป็นเรือ่ งที่อนั ตรายเกินไป แตส่ ดุ ท้ายแลว้ เขาก็สามารถควา้ ใบประกาศนยี บตั รด้านการสอน เพ่อื มาสอนศลิ ปะได้ส�ำเร็จ ผลงานในชว่ งแรกยังเป็นแบบอมิ เพรสชนั นสิ ม์ (Impressionnism) เขาชอบออกไปวาดภาพธรรมชาติ ใช้สีค่อนข้างจะเศร้า มีโครงร่างเปน็ สเี ทาและเขยี วทบึ Dusk (1890) Piet Mondrian | 3

จนกระท่ังปี ค.ศ. 1892 มอนเดรียนได้ย้ายมาทกี่ รุงอมั สเตอรด์ ัมเพ่ือเข้าศกึ ษาดา้ นศิลปะทส่ี ถาบันทัศนศิลป์หลวง (Rijksakademie van Beeldende Kun-sten) จนถงึ ปี ค.ศ. 1897 เขาได้ศึกษา และฝกึ ฝนทางดา้ นงานจติ รกรรมอย่างหนกัหน่วง ไม่วา่ จะเป็นการวาดภาพทิวทศั น์ ภาพเหมือน และภาพห่นุ นิ่ง Rijksakademie van Beeldende Kunsten ค.ศ.1907-1910 ทั้งความคิดและผลงานตกอยภู่ ายใต้อทิ ธพิ ลของจติ รกรชาวดัตชผ์ ูม้ ีชื่อเสยี งอย่างย่งิ ในยคุ นั้น คอื จัน โตโรป (Jan Toorop) โดยมีการแสดงออกตามแนวของกลุม่ สญั ลกั ษณน์ ิยม Jan Toorop4 | Piet Mondrian

ช่วงนัน้ เขาได้วาดภาพทแ่ี สดงใหเ้ ห็นถึงสภาพบา้ นเกดิ ของเขาอย่างชดั เจนด้วยการวาดภาพกงั หนั ลม ท่งุ หญ้า และแม่นำ�้ ซ่งึ เป็นรูปแบบท่ีนิยมในกลมุ่ ดตั ช์อิม-เพรสชันนิสมจ์ ากศลิ ปะกรุงเฮก (The Hague School) ภาพวาดเหล่านเ้ี ปน็ การแสดงถึงจนิ ตนาการของมองเดรยี นทีไ่ ด้รบั อิทธิพลมาจากศิลปินหลายคน หลายกลมุ่ ซ่ึงรวมถงึ ลทั ธผิ สานจดุ สีและการใชแ้ สงสที ี่จัดจา้ นสว่างไสวของลทั ธโิ ฟวิสต์ ปัจจุบนั ทพ่ี พิ ิธภณั ฑ์กรุงเฮก (Gemeentemuseum Den Haag) มกี ารจัดแสดงภาพวาดของมองเดรียนในนั้นเชน่ กนั รวมทั้งผลงานในลัทธิประทับใจยุคหลังเชน่ The Red Mill และ Trees By The Gein At Moonrise หรืองานอ่นื ๆ เช่นEvening (Avond) : The Red Tree (1908) เปน็ ต้น Morning Ride on the Beach by Anton Mauve The Hague School (ศิลปะกรงุ เฮก) คอื กลมุ่ ศิลปินทอ่ี าศยั และ ท�ำงานอยู่ในกรุงเฮก ประเทศเนเธอร์แลนด์ ระหวา่ งปี ค.ศ.1860-1890 งาน ของพวกเขาส่งอทิ ธิผลต่อศิลปนิ ลัทธิสัจนยิ มแห่ง Barbizon school (ศิลปะ บารบ์ ิซง) ประเทศฝรงั่ เศสอย่างมาก จติ รกรของศิลปะกรงุ เฮก โดยท่ัวไปมักจะใช้สไี ปในโทนอึมครึมซ่ึง เป็นเหตุผลที่บางครงั้ ศลิ ปะกรุงเฮกก็ถูกเรียกว่าศลิ ปะสีเทา Piet Mondrian | 5

ผลงานของมองเดรยี นมกั จะเกีย่ วข้องกบั การศึกษาทางด้านปรัชญา ในปี ค.ศ. 1908 ได้หนั มาใหค้ วามสนใจกับหลกั ปรัชญาทด่ี �ำเนนิ การโดย เอเลนา เปตรอฟ- นา บลาวัตสกี (Elena Petrovna Blavatsky) และเปน็ เหตทุ ท่ี ำ� ให้ในปี ค.ศ. 1909 เขาเข้ารว่ มสมาคมเทวปรชั ญาของชาวดตั ช์ (Theosophical Society) Helena Blavatsky ผู้กอ่ ตงั้ Theosophical Society สมาคมเทวปรชั ญาของชาวดตั ช์ (Theosophical Society) คอื องคก์ ารที่เกิดขึน้ ในปี ค.ศ.1875 เพอื่ ความก้าวหน้าทางความคดิ ดา้ นปรชั ญา หรือศาสนาทย่ี ึดหลักเทววิทยา เปน็ คำ� สอนทลี่ ึกลบั ซึ่งประกอบขนึ้ จากค�ำ สอนของทกุ ๆศาสนา มนั เต็มไปด้วยเรื่องราวลึกลับและอาถรรพ์ ซึ่งถกู กอ่ ต้ัง โดย เอเลนา บลาวตั สกี (Elena Blavatsky) การทำ� งานของบลาวตั สกแี ละการเคล่อื นตัวศาสนาท่ีขนานกันอย่างมนุษย- วิทยาของ รูดอฟท์ สไตเนอร์ (Rudolf Steiner) มอี ทิ ธพิ ลส�ำคัญในการพัฒนางาน ศิลปะของมองเดรยี น ซง่ึ บลาวตั สกเี ชื่อวา่ มันเป็นไปไดท้ ่จี ะบรรลคุ วามคดิ ท่ีลกึ ซึ้งของ ธรรมชาตมิ ากกวา่ การจดั การท่ีไดจ้ ากประสบการณห์ รอื การทดลอง และงานสว่ นใหญ่ ของมองเดรียนในช่วงบน้ั ปลายชีวติ นั้น เขาไดร้ บั แรงบนั ดาลใจจากการคน้ หาเก่ยี วกับ ความรู้ทางจิตวญิ ญาณ6 | Piet Mondrian

มองเดรียนและการทำ� งานของเขาหลงั จากท่ีไดร้ บั อทิ ธิพลอย่างมากจากท่ีในปี ค.ศ.1911 นนั้ มกี ารจัดนิทรรศการ Moderne Kunstkring ซึง่ เป็นนทิ รรศการของศิลปะแนวควิ บสิ ม์ (Cubism) ที่กรงุ อมั สเตอร์ดมั การคน้ หาความเรยี บง่ายของเขามีปรากฏอยู่ 2 ฉบับซงึ่ เปน็ ภาพชดุ Still Life with Ginger Pot (Stilleven metGemberpot) ในสว่ นของฉบบั ในปี ค.ศ.1911 นน้ั เปน็ แบบคิวบิสม์ ในปี ค.ศ.1912วตั ถุถูกลดรปู วงกลมลงเป็นรปู สามเหลย่ี มและส่เี หล่ยี มStill Life with Ginger Pot I (1911-12)Still Life with Ginger Pot II (1912) Piet Mondrian | 7

ในปี ค.ศ.1911 น้นั มองเดรยี นได้ย้ายไปปารสี และเปลี่ยนชอ่ื (ลดตัว A ลง1 ตวั จาก Mondriaan) ในขณะที่อาศัยอยใู่ นกรงุ ปารสี นั้น อทิ ธิพลจากควิ บิสม์ของพาโบล ปิกซั โซ (Pablo Picasso) และ จอรจ์ บราค (Georges Braque) ปรากฏในผลงานของมองเดรยี นในทนั ทที นั ใด อย่างเช่นภาพวาด The Sea (1912) และการศกึ ษาตา่ งๆเกี่ยวกับต้นไม้ ยงั ประกอบด้วยความเป็นตวั เอง แต่ก็ถูกครอบง�ำด้วยรูปเรขาคณติ และระนาบทีป่ ระสานกนั มากขนึ้ ในขณะทม่ี องเดรียนกระตือรือรน้ ท่ีจะซึมซับอทิ ธิพลของคิวบิสม์ในการทำ� งานนั้น กลบั เห็นไดช้ ดั ว่าคิวบสิ มเ์ ปน็ เพยี งทา่อากาศยานทเี่ ปลีย่ นถ่ายเคร่อื งระหว่างประเทศสำ� หรบั การเดินทางของเขาเทา่ น้ันมากกว่าจะเป็นจดุ หมายปลายทาง The Sea (1912)8 | Piet Mondrian

ในปี ค.ศ.1914 เขาเดนิ ทางกลบั ไปเนเธอร์แลนดเ์ พราะพอ่ เสยี ชวี ติ และติดอย่ทู ่นี ่ันเนือ่ งจากเกดิ สงครามโลกครัง้ ท่ี 1 เปน็ ช่วงที่เขาไปสมาคมกบั ศิลปินแขนงต่างๆ ไดร้ ู้จกั กบั เตโอ วาน โดสบูรก์ (Theo van Doesburg) , วิลโมส ฮาสซาร์(Vilmos Haszar) , บารต์ วาน แดร์ เลค (Bart van der Leck) , เกอรติ รีตเวลด์(Gerrit Rietveld) ซึ่งมปี รัชญาในการเขยี นรปู แบบเดยี วกัน ท้ังน้ีเตโอ วาน โดสบูรก์เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการรวบรวมเพอ่ื นรว่ มอดุ มการณ์ และพิมพ์นิตยสารช่อื De Stijlเพือ่ เผยแพร่ความคดิ ของพวกตน และต่อมา De Stijl (เดอสไตล์) จงึ เปน็ ชือ่ เรียกกลมุ่ศลิ ปินกล่มุ น้ี เรียกศลิ ปะของกลมุ่ ตนเปน็ นีโอพลาสตซิ สิ ม์ (neoplasticism) Theo Van Doesburg แกนนำ� ผูก้ ่อต้งั กลมุ่ De Stijl De Stijl (หรือ the style) ก่อตัง้ โดย Theo van Doesburg สถาปนิกและจติ รกรชาวดัตช์ ในปี ค.ศ.1917 ประเทศเนเธอร์แลนด์ มีสมาชิก เชน่ Piet Mondrian, J.J.P. Oud, และ Gerrit Rietveld De Stijl เป็นที่รจู้ กั กนั ในอกี ช่ือ คือ neoplasticism ศลิ ปะชนดิ นี้ เปน็ การลดรปู ร่างและจ�ำนวนสใี นงานออกแบบ เลอื กใชเ้ พยี งสพี ื้นฐาน, เส้น ตรง, และสเ่ี หลย่ี ม สงั เกตงานลกั ษณะน้ไี ด้จากการใชเ้ ส้นแนวตัง้ และแนว นอนไขว้กนั ไปมา ใชแ้ มส่ ี(แดง เหลอื ง นำ�้ เงิน)และสีขาว-ด�ำในการตกแต่งภาพ หลกี เลย่ี งความสมมาตรโดยองค์ประกอบ แต่รกั ษาความสมดุลโดยภาพรวม ในอดตี De Stijl มอี ิทธพลต่องานออกแบบแนว Bauhaus ทห่ี ลายคนรจู้ กั กบั ประโยค “less is more” Piet Mondrian | 9

Piet Mondrian ผู้ใช้ค�ำวา่ ลัทธิรปู ทรงแนวใหมเ่ รยี กผลงานตนเอง ลัทธริ ูปทรงแนวใหม่ (neoplasticism) เกดิ ขน้ึ โดยมอนเดรยี นใช้ เรียกแบบอย่างในผลงานของเขา ซง่ึ เปน็ แบบนามธรรมท่ีใช้เสน้ เรขาคณิต เปน็ หลัก (geometric abstraction) แนวคิดหลกั ของลัทธิส่วนใหญ่ตีพิมพ์ใน นิตยสารเดอสไตลม์ าแลว้ ซึง่ ได้น�ำเอาจุดเดน่ บางประการจากลัทธิบาศกนยิ ม (cubism) มาใชใ้ นการท�ำงาน แต่ได้มีการละทง้ิ รปู ทรงทดี่ ูรเู้ รื่องของลัทธิ บาศกนยิ มไป นอกจากน้พี วกนิยมรูปทรงแนวใหมไ่ ม่นิยมเอาจดุ เร่มิ ตน้ มา จากรูปร่าง แต่ค่อยๆลดทอนรูปรา่ งออกจนเหลือเพียงนามธรรมดังเช่นศลิ ปนิ บางกลมุ่ ทำ� ส่วนใหญ่จะสรา้ งงานขน้ึ จากความคิดฝันของตนเอง ตัวอยา่ งเช่น มอนเดรียนยดึ ถอื การออกแบบองค์ประกอบอยา่ งเคร่งครัดในเรือ่ งการน�ำเสน้ ท่ตี ัดกันได้มมุ ฉากระหว่างเส้นระดบั สายตากบั เส้นตั้งใหม้ คี วามสมั พนั ธก์ ัน ภายในกรอบส่ีเหลี่ยมของภาพท่วี าด โดยค�ำนงึ ถึงดา้ นช่องไฟให้มีความงดงาม การใช้สจี ะใช้แมส่ ีอยา่ งสเี หลือง น�้ำเงนิ และแดง รวมท้งั สขี าว ด�ำ และเทา การสร้างสรรคผ์ ลงานของลัทธริ ูปทรงแนวใหมย่ งั ได้ส่งอิทธพิ ลก่อให้ เกิดกล่มุ ศิลปนิ อิสระขนึ้ อกี มากมาย แต่ทเี่ หน็ ไดช้ ัดเจนก็คอื กลุ่มอัปสทรักซยี ง เครอาซยี ง (Abstraction-Création) ท่ีกอ่ ตง้ั โดยเตโอ วาน โดสบูรก,์ ออกสุ เต เฮอร์บิน, จนี ส์ เฮรอี ง และจอรจ์ วานตองเกอลู เร่ิมต้นกอ่ ตัง้ เมอ่ื ปี ค.ศ.1931 ในกรงุ ปารีส น�ำโดย อังเดร เบอรต์ ง เพ่ือตอ่ ต้านอิทธิพลของลทั ธิ เหนอื จรงิ และสนับสนุนศิลปะ Abstract 10 | Piet Mondrian

หลังสงครามสิน้ สุดลงในปี ค.ศ.1918 มองเดรยี นได้ย้ายกลับไปยงั ประเทศฝรงั่ เศสอีกครงั้ หลงั สงครามจบลงนั้นกรุงปารีสกม็ คี วามเจรญิ รุ่งเรือง และมีเสรภี าพทางปญั ญา ท�ำให้มอนเดรยี นสามารถคน้ ควา้ เกยี่ วกบั ศิลปะนามธรรมไดอ้ ยา่ งเต็มท่ีเขาเร่ิมวาดภาพท่ีเป็นตารางในปี ค.ศ.1919 และในปี ค.ศ.1920 การวาดภาพรูปแบบน้กี ก็ ลายเปน็ ท่ีรจู้ ัก และมองเดรยี นเร่มิ มีชอ่ื เสียงข้นึ มา ชว่ งตน้ ของการวาดภาพรปู แบบน้ีจะเป็นการวางโครงร่างรปู ส่ีเหล่ียมผืนผ้าคอ่ นขา้ งมคี วามบาง รปู ร่างขนาดเลก็ ทมี่ ีในงานเขยี นมักใช้สีข้ันต้นอยา่ งสีดำ� และสีเทาและเปน็ แม่สีอย่าง สเี หลือง สีนำ้� เงนิ และสีแดง มีสว่ นสีขาวเพยี งนดิ เดยี ว ในชว่ งปลายปี ค.ศ.1920 และปี ค.ศ.1921 ภาพวาดของมองเดรียนนน้ั จะสังเกตไดว้ า่ มีรปู แบบทีช่ ดั เจนและพฒั นาขน้ึ จากเดิม เส้นสีดำ� ทึบตอนนกี้ ลายเปน็ เส้นแบง่ รูปร่างที่มขี นาดใหญ่และขนาดเล็ก ท่ีเหลือจะเป็นพื้นทีส่ ขี าว นไี่ ม่ใช่สดุ ยอดการพัฒนาศลิ ปะของเขา แม้ว่าความละเอียดของผลงานมคี วามชดั เจนมากข้นึ ก็ตามแต่ผลงานของมองเดรยี นยังคงพฒั นาตอ่ เน่ืองในขณะที่เขาอาศัยอย่ใู นกรุงปารีสTableau I (1921) Piet Mondrian | 11

ผลงานของมองเดรียนตง้ั แต่ปี ค.ศ.1920 เป็นแบบ Abstract ทีเ่ นน้ รูปแบบ และเมินเน้อื หา ภาพของเขาจึงมีพน้ื ขาวท่มี ีเส้นสดี ำ� พาดไปมา เปน็ เส้นต้งั และเสน้ นอนตดั กนั บางช่องใส่สแี ดง น้�ำเงิน เหลือง เป็นแมส่ ีลว้ นๆ จึงดโู ดดเด่น มองเดรยี น นั้นไดถ้ อนตัวจากกลุ่ม De Stijl ในปี ค.ศ.1921 (กลมุ่ น้สี ลายลงไปเม่อื เตโอ วาน โดสบูรกเ์ สียชีวติ ) ภาพวาดในตอนตน้ ปี ค.ศ.1921 น้ี มองเดรียนได้สร้างผลงานส่วนใหญท่ ่ีมี เสน้ สดี ำ� ท่ีมรี ะยะสนั้ ซ่งึ เป็นระยะที่ก�ำหนดเองตามที่ปรากฏจากขอบของผ้าใบ ทงั้ ๆ ที่มกี ารแบ่งส่วนระหวา่ งรูปสี่เหลีย่ มเหมือนเดิม รูปสี่เหล่ยี มสว่ นใหญ่ยงั คงมสี ีสันอยู่ (สามารถดูภาพผลงานในปี ค.ศ.1921 ตอนตน้ ไดท้ ีห่ น้า 54 จะสังเกตเหน็ ไดว้ า่ มอง- เดรยี นเขยี นเสน้ สีด�ำไมย่ าวจนถึงขอบของผ้าใบ แตม่ กี ารหยุดเสน้ ไว้ก่อนจะถึงขอบ ผา้ ใบ) หลังจากผา่ นปนี ีไ้ ป การทำ� งานของมองเดรียนไดม้ กี ารพัฒนาต่อไปเรอ่ื ยๆ เขา เรม่ิ มีการขยายเส้นให้ยาวไปจนถึงขอบผา้ ใบ และเขาก็เริม่ ใชเ้ สน้ สีดำ� ให้น้อยลง รวมถงึ มกี ารใชส้ ีท่ีนอ้ ยลงด้วย และเขากเ็ ร่มิ ชืน่ ชอบสขี าวมากขน้ึ แนวโน้มนป้ี รากฏเด่นชัดในชดุ ผลงาน Lozenge ผลงานชดุ ทม่ี อนเดรียนเร่มิ สร้างอยา่ งสม�่ำเสมอในช่วงกลางทศวรรษ 1920 ผลงานชุด Lozenge เป็นภาพวาด บนผ้าใบสีเ่ หล่ยี มท่ีมกี ารเอยี งประมาณ 45 องศา ดงั น้นั รปู แบบของผา้ ใบจึงเหมือนรปู สีเ่ หลีย่ มขนมเปียกปูน Schilderij No.1: Lozenge With Two Lines and Blue (1926) เป็นที่รูจ้ กั กันในภาพวาดทมี่ กี ารวางองคป์ ระกอบเส้นสดี ำ� สองเส้น สีขาวและสีฟา้ ซง่ึ ปัจจุบนั ตัง้ อยู่ทพี่ ิพิธภณั ฑ์ศลิ ปะฟิลาเดลเฟยี (Philadelphia Museum of Art, USA) เปน็ หนึง่ ในผลงานท่เี ป็น minimal มากที่สุดผลงานหน่ึงของมองเดรยี น ภาพ นี้ประกอบไปดว้ ยเพยี งเส้นสีด�ำสองเสน้ ทีต่ ้งั ฉากกนั จนเกดิ มุม 90 องศา และมีรูป สามเหล่ียมส่นี ้�ำเงนิ เล็กๆอยูต่ รงข้ามกับมมุ ฉาก เสน้ ลากยาวไปจนถึงขอบของผ้าใบ ให้ ความรู้สึกว่าภาพนี้นั้นเปน็ ภาพท่ียงั ไมส่ �ำเรจ็ Schilderij No.1: Lozenge With Two Lines and Blue อาจเปน็ ภาพท่ี เปน็ คำ� จ�ำกดั ความทด่ี ีทีส่ ดุ ของผลงานแบบ minimal ของมองเดรยี น เปน็ ปที ี่เขาเรม่ิ ให้ความส�ำคญั กับเส้นมากกว่ารูปรา่ งทางเรขาคณิตในผลงานของเขา ในช่วงทศวรรษ 1930 น้ัน เขาเริ่มท่จี ะใชเ้ ส้นในผลงานมากขึน้ มองเดรียนเช่ือว่าเสน้ เหลา่ นีจ้ ะนำ� เสนอ ผลงานของเขาในรูปแบบทม่ี ีชวี ติ ชวี า ในสง่ิ ทีเ่ ขามีความกระตอื รอื รน้ ในการค้นหามาก ข้ึนจากเดิม12 | Piet Mondrian

Schilderij No.1: Lozenge With Two Lines and Blue (1926) ในปี ค.ศ.1934-1936 ภาพวาดของมองเดรียนจ�ำนวนสามภาพถูกนำ� ไปเปน็ สว่ นหนึ่งในนทิ รรศการ “ศิลปะนามธรรมและรปู ธรรม” ท่ีเมืองออ็ กซฟ์ อรด์ ,ลอนดอน และลเิ วอรพ์ ลู ในประเทศองั กฤษ The ‘Abstract and Concrete’ exhibition, Lefevre Galley, London (1936) Piet Mondrian | 13

ศิลปะนามธรรม เป็นศิลปะไร้รูปแบบตายตัว มีรูปทรงที่เป็นอสิ ระ ไมม่ ขี อ้ จ�ำกัดในการสรา้ งผลงาน และเปน็ ศิลปะที่ไรภ้ าพลักษณ์ ซ่งึ ศลิ ปะ นามธรรมน้ไี มส่ ามารถตคี วามหมายไดอ้ ยา่ งตายตวั ผู้ชมผลงานอาจตีความ หมายไดแ้ ตกต่างกัน ตามความคดิ เหน็ ของตน ศลิ ปะนามธรรม สามารถแบ่งออกได้เป็นสองกลุ่ม คือ 1. Abstract Expressionism สามารถแบง่ ไดส้ องกลมุ่ ย่อย คอื - Action Painting (กมั มันตจติ รกรรม) - Color-Field Painting (จติ รกรรมสนามสี) 2. Geometric Abstraction กลุ่มนี้ไดร้ ับอิทธพิ ลจากผลงาน ของกลุ่ม Cubism ที่ว่า “การลดทอนทกุ ส่ิงทุกอยา่ งลง จนเหลอื แคโ่ ครงสรา้ ง เราขาคณิต” ผรู้ ิเร่มิ ผลงานศลิ ปะนามธรรม คือ วาสสิลี่ แคนดินสกี้ (Wassily Kandinsky) ส�ำหรับการถ่ายทอดผลงานออกมาเป็นงานศลิ ปะนั้น แคนดนิ สก้ี ได้คำ� นึงถงึ หลักสองอยา่ ง คือ 1.ความรู้สึกภายนอก (The Outer) คอื ความรู้สึกภายนอกที่รับ รูไ้ ด้ดว้ ยตา สง่ ไปกระตนุ้ การเกดิ ความรู้สึกภายใน 2.ความรสู้ กึ ภายใน (The Inner) คอื ความรู้สกึ ทส่ี ่งตอ่ จากตวั ศลิ ปนิ เพอื่ ปลุกเรา้ ความรูส้ กึ ของผูช้ มให้คลา้ ยคลงึ กนั เมอ่ื ความรู้สกึ ของศิลปิน และผู้ชมมีความคลา้ ยคลงึ กันมากเท่าใด ยอ่ มหมายถึงงานศลิ ปะนัน้ ๆประสบ ความสำ� เร็จในการถ่ายทอดความรสู้ ึกแกผ่ ชู้ ม แนวคิดหลกั ของศลิ ปะนามธรรม 1.เป็นศลิ ปะไรร้ ูปแบบตายตวั มหี ลากหลายรูปแบบ เชน่ รูปทรง เรขาคณิต, รูปทรงอิสระ เปน็ ต้น 2.ละทิง้ ค่านยิ มทม่ี ีการสร้างสรรคผ์ ลงานให้สมจริง ไม่สามารถ โยงกบั รปู ธรรมใดไดเ้ ลย 3.ใชส้ ี เส้น รปู รา่ ง แทนความรสู้ กึ ของศิลปินเอง ไม่ค�ำนึงถงึ ผู้ชม 4.ตดั ทอนส่ิงต่างๆลง ใหเ้ หลือเพยี งโครงสรา้ งงา่ ยๆ หรอื โครงสรา้ งแท้ 5.ภาพวาดที่ศลิ ปนิ สรา้ งขนึ้ ไม่ใชเ่ รอ่ื งราวที่แนน่ อน เป็นเพยี งสือ่ ทีใ่ หผ้ ู้ชมคดิ เท่านน้ั 14 | Piet Mondrian

ในขณะท่เี ขาอาศยั อยู่ในกรุงปารสี มองเดรียนมีสตดู ิโอเขยี นรปู ในย่านมงตป์ ารน์ าส (Montparnasse) ซงึ่ กลายเปน็ ที่ชมุ นมุ ของเพอ่ื นกลุ่มอาวองต์-การด์(avant-garde) Piet Mondrian and Pétro (Nelly) van Doesburg in Mondrian’s Paris studio (1923) Avant-garde (อาวองต์-การ์ด) ในภาษาฝรง่ั เศสแปลว่าแนวหนา้ หรือกองหน้า ซึง่ พวกเขาเป็นกลมุ่ คนท่ที �ำงานเกยี่ วกบั การทดลองนวตั กรรม ใหม่ๆ โดยเฉพาะกับงานศิลปะ วฒั นธรรม และการเมอื ง กลมุ่ อาวองต-์ การด์ ถกู พิจารณาให้เป็นสัญลกั ษณ์ของ modernism ซง่ึ แตกตา่ งจาก post-modernism ศิลปินบางคนประกาศสนบั สนุนการ เคลอ่ื นไหวของกลมุ่ อาวองต-์ การด์ และยงั คงทำ� เชน่ นน้ั จนถึงยคุ Dada ผา่ น กลุ่ม Situationist ถงึ ศิลปินยุคหลัง เชน่ บทกวีปี ค.ศ.1981 เปน็ ต้น Piet Mondrian | 15

ในเดอื นกนั ยายน ปี ค.ศ.1938 มองเดรียนเดนิ ทางออกจากกรงุ ปารีสท่ีมี การขยายตัวของลัทธฟิ าสซิสม์ เขามุง่ หนา้ ไปยังกรุงลอนดอน ทน่ี ัน่ เขาได้พบกบั เบน นิโคลสนั (Ben Nicholson), นาอมุ กาโบ (Naum Gabo) และบารบ์ ารา เฮปเวริ ท์ (Barbara Hepworth) ซ่งึ ได้ใหค้ วามชว่ ยเหลอื แก่เขาในด้านการหาที่พกั อาศัย แตเ่ ม่ือเนเธอร์แลนด์ถูกรกุ ราน และปารีสถกู เหลา่ ทหารนาซียดึ ครอง เขาจงึ เดินทางต่อไปยงั นิวยอร์กในปี ค.ศ.1940 และพ�ำนักท่นี ่ันจนเสยี ชวี ติ ในปี ค.ศ.1944 ท่ี นวิ ยอร์กเขาได้พบปะสงั สรรคก์ บั กลุ่มศิลปนิ อเมรกิ ัน และเขา้ รว่ มกลุ่ม American Abstract Artists เขาไดร้ ู้จกั กบั ศลิ ปินอเมรกิ ันมากมาย อาทิเชน่ มกั ซ์ เอิรน์ ส์ (Max Ernst) และแจค็ สัน พอลล็อค (Jackson Pollock) เป็นต้น Painting No.48 (1913) by Marsden Hartley (ศลิ ปินชาวอเมริกัน) American Abstract Artists (กลุ่มศิลปินนามธรรมอเมรกิ ัน) หรอื AAA ก่อต้งั ขนึ้ เมื่อปี ค.ศ.1936 ในเมอื งนวิ ยอร์ก กอ่ ตงั้ ข้นึ เพ่ือสนับสนุน และปลกู ฝงั ศิลปะนามธรรมใหแ้ กส่ าธารณชนไดเ้ ขา้ ใจและเข้าถึงงานศิลปะ นามธรรม การจัดนิทรรศการ การตพี ิมพ์ และการบรรยายจะช่วยสร้างองค์กร ใหเ้ ป็นเหมอื นเวทีสำ� คญั ในการแลกเปล่ียนและการนำ� เสนอความคิดทตี่ อ้ งการ น�ำเสนอศิลปะนามธรรมให้แก่สาธารณชนรบั รูใ้ นวงกว้าง16 | Piet Mondrian

ในท่ีน่นั เขาพบกบั สภาพบรรยากาศใหม่ ๆ ในนวิ ยอร์ก แสงสจี ากไฟนอี อนความเจรญิ ร่งุ เรือง ความรวดเรว็ ของชีวิต และเครื่องจกั ร เสียงดนตรีแจ๊สซ่ึงก�ำลังเปน็ทนี่ ิยมกนั อย่างมากในสมัยน้ัน และชวี ิตอันวุ่นวายของชาวเมืองนิวยอร์ก สิ่งเหล่าน้นัเองไดเ้ ขา้ มาปรากฏและมอี ิทธิพลในผลงานของมองเดรยี น เชน่ ผลงาน BroadwayBoogie-Woogie เปน็ ต้น ในฤดูใบไมร้ ่วงปี ค.ศ.1943 มองเดรยี นได้ยา้ ยไปอาศยั อย่ทู ส่ี ตดู ิโอแห่งท่ีสองของเขา ในเมืองแมนฮตั ตัน และสรา้ งสภาพแวดลอ้ มทถี่ กู ใจเขาขน้ึ มาเพอื่ กระตุ้นให้เกดิ การสรา้ งงานศิลปะของเขา เปน็ สถานอาศยั ทดี่ ที ี่สดุ ของมองเดรียน แตน่ า่ เศรา้ไมก่ ่เี ดอื นตอ่ มาเขากเ็ สยี ชีวติ ลงดว้ ยอาการปอดบวมในวันท่ี 1 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ.1944ขณะมอี ายุได้ 71 ปี ร่างของเขาถกู ฝังไวท้ ส่ี ุสานไซเพรสส์ฮิลส์ บรคู ลิน(Cypress Hills Cemetery) ในนิวยอรก์ หลังจากทีเ่ ขาเสยี ชีวิตลง ผสู้ นับสนุนในเมอื งแมนฮตั ตนั รวมถึงเพ่อื นของเขาอย่างแฮรร์ ่ี ฮอทซแ์ มน (Harry Holtzman) และฟริทซ์ การ์เนอร์ (Fritz Glarner)ร่วมกันถ่ายภาพยนตร์และภาพน่งิ กันอย่างระมัดระวัง ฮอทซแ์ มนซึ่งเปน็ ผ้รู บั มรดกของมอนเดรียน ตดั สินใจเปิดใหป้ ระชาชนเขา้ ชมนิทรรศการเปน็ เวลา 6 สัปดาห์ กอ่ นจะท�ำการร้อื สตูดิโอ Harry Holtzman and Piet Mondrianin Holtzman’s studio (New York City, 1941) Piet Mondrian | 17

Timeline Infographic of Piet Mondrianมีนิทรรศการ Moderne Kunstkring ย้ายไปกรุงปารีส (ฝรัง่ เศส) อิทธิผลท่ีกรงุ อัมสเตอรด์ มั เปน็ นทิ รรศการ ของคิวบสิ ม์ยงั คงปรากฏในผลงานงานศิลปะแบบควิ บสิ ม์ เขาไดร้ ับอิทธพิ ลในการทำ� งานจากลัทธิคิวบสิ ม์ ของมองเดรยี นความคิดและผลงานตกอยู่ภายใต้ มองเดรยี นหันมาสนใจหลกัอิทธพิ ลของจิตรกรชาวดัตช์ทม่ี ชี อ่ื ปรัชญา และเข้าร่วมสมาคมเสียงอย่าง “จัน โตโรป”ย้ายไปเมอื งวินเตอรส์ ไวก์ (รฐั เจล- เทวปรัชญาของชาวดตั ช์เดอร์แลนด์,เนเธอร์แลนด)์ และเรมิ่ ย้ายมาทก่ี รงุ อมั สเตอรด์ มั เพอ่ืวาดภาพเมอื่ ปี ค.ศ.1889 โดยลงุ เข้าศึกษาด้านศลิ ปะในสถาบันของเขาเปน็ คนสอนเขาวาด ทศั นศลิ ป์หลวง มองเดรยี นเกดิ18 | Piet Mondrian

ยา้ ยกลับกรุงปารีส ในปี ค.ศ.1919 เริ่มวาดภาพที่ อกี ครัง้ และเร่ิม เปน็ ตาราง และในปี ค.ศ.1920 ค้นควา้ เกี่ยวกบัศลิ ปะนามธรรม ภาพเหลา่ นกี้ เ็ ริม่ เปน็ ทรี่ จู้ กั ตัง้ แตป่ ีนี้เป็นต้นไปงานของเขา จะเป็นแบบนามธรรมเดนิ ทางกลับ มองเดรียนได้ถอนตัวเนเธอรแ์ ลนด์ ไดเ้ จอกบั ออกจากกลุ่มเดอสไตล์เตโอ วาน โดสบูรก์และต่อมาได้รว่ มกนั ก่อ และพฒั นางานแบบต้ังกลมุ่ De Stijl นามธรรมของตัวเองให้มี(เดอสไตล์) เริ่มใชเ้ สน้ เปน็ องค์ประกอบใน ความชดั เจนยงิ่ ขึ้น ผลงานของตนมากข้ึน เพราะเขา ภาพวาดจำ� นวนสามภาพ เชือ่ วา่ เส้นจะนำ� เสนอผลงานของ ของมองเดรยี นถกู น�ำไป เขาในรูปแบบมีชีวิตชวี า ในเดือนกนั ยายน ปี ค.ศ.1938 มองเดรียน จัดแสดงในนิทรรศการ เดนิ ทางออกจากปารีส เพราะการขยาย ศลิ ปะนามธรรมและรูป ตวั ของลทั ธิฟาสซิสม์ และมงุ่ หนา้ ไปท่ี ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ธรรม กอ่ นจะที่ถูกนาซยี ึดครอง ยา้ ยไปอยู่สตดู โิ อทีแ่ มนฮตั ตัน อยู่ได้ เขาก็ไดม้ ่งุ หน้าออกเดนิ เพียงไม่กเ่ี ดือนกเ็ สียชวี ติ ลงด้วยอาการ ปอดบวม เม่อื 1 กมุ ภาพนั ธ์ ค.ศ.1944 ทางไปยงั นวิ ยอร์ก และได้เข้ารว่ มกลมุ่ AAA Piet Mondrian | 19

SOME OF MONDRIAN’S WORKS20 | Piet Mondrian

Piet Mondrian | 21

Self-Portrait Painted 1918 Oil on canvas, 71 x 88 cm Gemeentemuseum (The Hague, Netherlands)22 | Piet Mondrian

Self-Portrait (1918) มองเดรยี นวาดภาพเหมือนของตัวเองหลายครัง้ มาก แตภ่ าพเหมอื นตวั เองในปี ค.ศ.1918 นัน้ เป็นสนี ้�ำมันทแ่ี ตกตา่ งกนั ออกไป ยกเว้นการวาดภาพหมอื นตัวเองโดยใชห้ มกึ ในการวาด เม่ือปี ค.ศ.1942 ซึง่ เปน็ คร้ังสุดท้ายท่ีเขาวาดภาพเหมือนตัวเองและเปน็ ส่งิ เดียวทแี่ สดงให้เห็นว่าเขาเปน็ จิตรกรจรงิ ๆ มนั เป็นมากกว่าอตั ชีวประวัติธรรมดาทั่วไป ภาพเหมือนตวั เองภาพนถี้ กู วาดขน้ึ โดยความรับผิดชอบของ S.B. Slijperคนทม่ี องเดรียนชื่นชม และเปน็ เพื่อนจากเมืองลาเรน (เนเธอรแ์ ลนด)์ ดว้ ยผลงานท่ีใหญโ่ ตแตก่ ลบั เลอื กผลงานของมองเดรยี น คุณ Slijper จึงแตง่ ตั้งมองเดรยี นใหเ้ ปน็บุคคลตวั อย่าง เปน็ สิ่งทีเ่ หมาะสมแลว้ ทีภ่ าพเหมือนตัวเองภาพนี้ของมองเดรยี นนั้น ได้รบั หนา้ ที่เปน็ ภาพเร่มิ ตน้ ของหนังสือเล่มนี้ เปน็ การเคารพตอ่ S.B. Slijper ภาพน้แี สดงสว่ นขา้ งล�ำตัวของมองเดรยี น หนั มองทางดา้ นซ้าย ศรี ษะและไหลเ่ อยี งไปขา้ งหลังเลก็ น้อย ทา่ น้ีเป็นอกี ท่าท่ีคุ้นเคย เคยใช้ในการวาดภาพเหมือนตัวเองในปี ค.ศ.1912 และ ค.ศ.1913 แสดงสีหนา้ มองตรงมายังผ้ชู มผลงาน รูปแบบน้ีมักจะปรากฏอยู่ในผลงานการวาดภาพเหมือนตวั เองอยเู่ สมอ เพอ่ื สรา้ งความเชื่อมโยงระหวา่ งโลกของผู้ชมผลงานและศลิ ปนิ ผู้สร้างผลงาน Piet Mondrian | 23

Dusk Painted 1890 Oil on canvas, 27.6 x 43.8 cm E.V. Thaw (New York, USA) Dusk แปลวา่ พลบค่ำ� - เขาวาดภาพน้ีตอนท่ีเขาอายุเพยี ง 18 ปี หลังจาก ที่เขาได้รบั ประกาศนียบตั รด้านการการสอน และเขาไดเ้ ข้าสอนเปน็ คร้ังแรก กอ่ นทีจ่ ะ ย้ายไปเรยี นศลิ ปะทก่ี รงุ อมั สเตอร์ดมั ผลงานในชว่ งน้ีของเขาเป็นแบบอิมเพรสชัน นสิ ม์ (Impressionnism) สไตล์เนเธอร์แลนด์ท่ีเรยี กวา่ The Hague school เขามกั จะเขยี นรปู ท้องท่งุ กงั หนั ลม และแม่น้�ำ24 | Piet Mondrian

House on the GeinPainted 1900Oil on canvas, 46 x 57 cmCollection Mr. and Mrs. Carl H. Gans (New York) ถอื เป็นภาพท่มี ีแนวคดิ ทด่ี ภี าพหนึง่ ของมองเดรียน เม่อื เขาอายุ 28 ปี และเร่มิ ทจ่ี ะวาดภาพภมู ทิ ศั น์ในอมั สเตอรด์ มั เพือ่ นของเขา ไซมอน มาริส (SimonMaris) ซง่ึ ท�ำงานอยูแ่ ถวแม่น�ำ้ Gein และอาศยั อย่ใู นเมอื ง Weesp น่อี าจเปน็ สาเหตุทท่ี �ำให้เขาวาดภาพน้ี ลักษณะฝแี ปรงของมองเดรียนเปน็ แบบเบาบางไม่ลงน้�ำหนักมากหนัก ให้ความรู้สกึ ถึงภาพรา่ งสีน�้ำมนั ของวตั เุ หมือนอยู่ในทโ่ี ล่ง Piet Mondrian | 25

Stammer mill with streaked sky Pianted 1905-06 Oil on canvas, 96.5 x 73.6 cm Collection Mr. and Mrs. William R. L. Mead (Belmont,Massachusetts) เปน็ อีกหนึ่งฉบับในชดุ ของภาพวาดกงั หันลมของมองเดรยี น มอี ีกหนึ่งภาพ ที่คล้ายกนั แตก่ ็แตกต่างกัน ภาพน้ถี ูกวาดในปี ค.ศ.1905-06 เปน็ ช่วงเร่ิมต้นการ ประกอบอาชีพจิตรกรของมองเดรียน ภาพวาดแสดงลกั ษณะการลงสที ีม่ องเดรียน ชืน่ ชอบ คือการลงสแี บบหมน่ ใช้สคี ่อนขา้ งเศรา้ เขาวาดภาพน้ีข้นึ ขณะอาศยั อยู่ใน เนเธอร์แลนด์26 | Piet Mondrian

The Red CloudPianted 1907Oil on canvas, 64.14 x 74.93 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) ภาพน้เี กดิ จากการท่เี ขารู้สึกเป็นอสิ ระจากการประชมุ ของกลุ่มศิลปะกรุงเฮก (The Hague School) และค้นพบการเชอ่ื มโยงรปู แบบใหม่ของการวาดภาพ ที่สามารถวาดไดท้ กุ เวลา อยา่ ง Expressionism หรือลทั ธโิ ฟวิสม์ของฝรง่ั เศส รูปแบบในการวาดภาพของยโุ รปนั้นมกั จะเนน้ ความสำ� คัญของสเี ปน็ หลกั ในปี ค.ศ.1907 มีการจดั นิทรรศการ Quadrennial ขึ้นทอี่ มั สเตอรด์ มั ซึง่ Kees van Dongen, Ottovan Rees, และ Jan Sluijters ทม่ี กั เน้นความสำ� คญั ของสีในภาพ กลายมาเปน็ แรงบันดาลใจในการวาดภาพของมองเดรียน Piet Mondrian | 27

Wood near Oele Painted 1908 Oil on canvas, 158 x 128 cm Gemeentemuseum (The Hague, Netherlands) ภาพนไี้ ด้รบั การยืนยนั จาก A. P. van den Briel ซ่ึงเปน็ เพอ่ื นเก่าของ มองเดรียน ภาพน้เี ป็นปา่ ใกลห้ มู่บา้ น Oele ในถนน Twente ทางทิศตะวันออกของ เนเธอร์แลนด์ ภาพนีแ้ สดงถึงผลงานของเขาในชว่ งเวลาน้นั เขากำ� ลงั มองทศั นียภาพ และเส้นขอบฟ้าทีอ่ ยเู่ หนือหวั ของตนเองขน้ึ ไป ซงึ่ รูปแบบการสรา้ งผลงานนีเ้ ขาไดร้ ับ การเรียนรจู้ ากศิลปนิ ชาวดัตชอ์ ย่าง Jan Toorop ในการสร้างผลงานของตนเอง28 | Piet Mondrian

Lighthouse at WestkapellePainted 1908Oil on canvas, 71 × 52 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) Piet Mondrian | 29

Lighthouse at Westkapelle มองเดรียนวาดภาพนี้เสร็จพรอ้ มๆกับภาพ Wood near Oele และ Mill In Sunlight: The Winkel Mill สองภาพทก่ี ล่าวขา้ งต้นเปน็ ภาพทด่ี สี ุดของการ เรมิ่ ต้นวาดภาพของมองเดรียน ในปี ค.ศ.1908 มอนเดรยี นไดเ้ ดินทางไปยงั เมือง Walcheren ทางตะวันตกเฉียงใต้ของเนเธอร์แลนด์ เป็นจงั หวดั หนึง่ ของ Zeeland ทกุ ๆหนา้ รอ้ น วตั ถใุ หมท่ ่เี ขาน�ำมาวาดภาพนค้ี อื ประภาคารที่ Westkapelle ใกล้ๆกับ Domburg (รสี อร์ทท่ตี ดิ กับทะเลเหนอื ) การใช้โทนสขี องภาพน้ี ท�ำใหห้ วนนกึ ถงึ ภาพ Wood near Oele เพราะมี โทนสีทค่ี ล้ายคลงึ กนั รวมถงึ ภาพนี้มีการปรากฏลกั ษณะและรายละเอยี ดตา่ งๆคลา้ ย กนั กับ Wood near Oele30 | Piet Mondrian

Mill In Sunlight: The Winkel Mill Painted 1908 Oil on canvas, 87 x 114 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) Piet Mondrian | 31

Mill In Sunlight: The Winkel Mill กงั หันลมเปน็ สถานท่ีสำ� คัญอีกท่หี นึง่ ในการวาดภาพของมองเดรียน ทำ� ให้ งานในปี ค.ศ.1908 นน้ั เขาสร้างผลงานแบบ Luminism (American art style) เทคนคิ ทางศิลปะที่ถกู ถา่ ยทอดออกมาจากจิตวิญญาณของศิลปินที่แสดงออกผา่ น แสงแดดท่ีลกุ โชน ความโดดเด่นในภาพนก้ี ารแรเงาทถ่ี ูกต้องและความกลมกลืนของสี แมว้ ่ามองเดรยี นจะใชช้ ดุ สที ี่แตกตา่ งและมีการไลส่ ีในภาพน้ี เขาจำ� กัดจานสี ของเขา ด้วยการใชส้ ีเพยี งสามสี เป็นสีขั้นตน้ อย่างสีแดง สเี หลอื ง และสนี �ำ้ เงิน ความ ส�ำคญั ของขอ้ จำ� กดั นค้ี ือในขณะน้ันเขาก�ำลังทดลองสี พยายามหาความเรียบง่ายและ ความทั่วไปในการสร้างผลงานท่เี ขาค้นหาอยตู่ ลอดส�ำหรับการวาดภาพรูปแบบท่เี ป็น ตัวของเขาเอง32 | Piet Mondrian

Avond (Evening): The Red TreePainted 1908Oil on canvas, 99 x 70 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) Avond (Evening): The Red Tree เป็นอีกหนึ่งผลงานทส่ี �ำคญั ในผลงานท่เี ปน็ ชุดตน้ ไม้ของมองเดรียน ในส่วนของสีและพกู่ ันและเหนือส่งิ อ่ืนใดคือความคดิ เปน็ เร่ืองเกย่ี วกับธรรมชาติ แสดงให้เห็นหลายจุดวา่ มีการเชอ่ื มโยงกับภาพอื่นๆ ดูเหมอื นว่าภาพน้จี ะได้รับอทิ ธิพลจาก Vincent van Gogh อยา่ งมาก ภาพต้นไม้ของแวนโกะอยา่ งต้นมะกอกและตน้ ไซเปรสนนั้ มกี ารใชส้ อี ย่างเรียบง่าย มกี ารเล่นกับความสำ� คัญของสี แต่ภาพเหลา่ น้นั คงไม่เพียงพอท่ีจะมาอธบิ ายลกั ษณะเด่นของ Avond (Evening): The Red Tree ได้ Piet Mondrian | 33

Lighthouse near Westkapelle Painted 1909 Oil on canvas, 39 × 29.5 cm Gemeentemuseum (The Hague, Netherlands)34 | Piet Mondrian

Lighthouse at Westkapelle ในการวาดโครงร่าง ลกั ษณะเดน่ ทัง้ หมดจะแตกต่างกันกันอย่างส้นิ เชิงกับความเป็นไปได้ของภาพ สเี ป็นตวั ทใี่ หค้ วามสำ� คญั กับงานของมองเดรียน เขาพยายามถา่ ยทอดความคมชัดท่ชี ัดเจนกับสภาพแวดลอ้ มของสถานที่ ในทางตรงกนั ข้ามเทคนคิDivisionism (เปน็ รปู แบบการสรา้ งผลงานหนึง่ ในลทั ธิ Neo-Impressionism) เปดิทางใหเ้ ขาไดห้ ลอมรวมทกุ ส่ิงอย่างธรรมชาติ ภาพวาดมเี อกภาพทก่ี ว้างใหญ่และนา่เช่อื ถือ และนคี่ อื สิ่งหนงึ่ ท่เี กดิ ขน้ึ ในภาพวาด ตวั ของอาคารที่พุ่งสูงขึ้นไปบนอากาศและสีของทอ้ งฟ้าทรี่ ู้สึกเคลอื่ นไหว เกิดการผสมผสานกลมกลนื รวมทงั้ ก่อให้เกิดความรู้สกึ สดช่นื และมพี ลัง Piet Mondrian | 35

Dune II Painted 1909 Oil on canvas, 37.5 x 46.5 cm Gemeentemuseum (The Hague, Netherlands) ภาพวาดเนนิ ทรายแถวชายฝัง่ ในเนเธอร์แลนด์ เป็นแรงบนั ดาลใจแก่ตัวของ มองเดรียนในช่วงทที่ อ่ งเทย่ี วอยใู่ น Zeeland ก็ลอยเข้ามาในหวั ของมองเดรียน ภาพ วาด Dune น้ี เป็นส่ิงทใ่ี หมส่ ำ� หรับตวั มอนเดรียน ความจรงิ แล้วเปน็ การปรากฏตวั คร้งั แรกของผลงานทมี่ องเดรียนวาดเป็นภาพธรรมชาติ มันกวา้ งมากและครอบคลุมทกุ พนื้ ทีข่ องผ้าใบ36 | Piet Mondrian

Lighthouse at Westkapelle Painted 1910 Oil on canvas, 135 × 75 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) Piet Mondrian | 37

Lighthouse near Westkapelle ภาพนม้ี คี วามคลา้ ยคลงึ กับภาพ Lighthouse at Westkapelle สอง ภาพกอ่ นหน้านี้ (หน้า 25 และ 30) แตก่ ลับแตกตา่ งกัน ภาพน้ีเปน็ ตัวอยา่ งของการ เปลี่ยนแปลงการสรา้ งผลงานของมองเดรยี น เขาหนั กลบั ไปสนใจเทคนิค Luminism (American Art Style) ที่มีสสี ันสดใส และมรี ปู ทรงทใ่ี หญ่โต การลงสีใหค้ วามร้สู ึกถงึ ความสมบรู ณแ์ ละพลังของสีนำ�้ มนั ในรปู ทรง เป็นวิวัฒนาการเดียวกันกบั ภาพ Dune และ Windmill38 | Piet Mondrian

Church Tower at DomburgPainted 1911Oil on canvas, 114 × 75 cmGemeentemuseum (The Hague, Netherlands) Piet Mondrian | 39

Church Tower at Domburg ในการวาดภาพนเ้ี ป็นการไปเยย่ี มชม Zeeland คร้ังแรก ในปี ค.ศ.1908 ใน ปีน้นั มองเดรียนได้วาดภาพพวกเนนิ ทรายและทะเลไว้ แมว้ า่ จะไม่ไดว้ าดภาพนีใ้ นปีนน้ั แต่เขากลับจำ� โครงสร้างของโบสถ์ไดอ้ ย่างแม่นย�ำ จงึ ท�ำการวาดรูปนี้ขึน้ ลกั ษณะเด่น ของภาพนีค้ อื การสร้างสัญลกั ษณ์คลา้ ยๆกบั ภาพ Dune II ซึ่งรวมไปถึงภาพนมี้ ีการ เชื่อมโยงกับภาพชดุ Lighthouse at Westkapelle ในภาพ Dune II น้นั จะมคี วาม ลาดชนั เกดิ ข้ึน ภาพนกี้ เ็ ช่นกนั มองเดรียนแสดงความลาดชันของตัวอาคารให้ผชู้ มผล งานได้เหน็ และองคป์ ระกอบของภาพมีความไมส่ มดลุ ตามแบบฉบบั ของมนั เขาเนน้ เพยี งความคล้ายคลึง40 | Piet Mondrian

Still Life with Gingerpot I Painted 1911-12 Oil on canvas, 65.5 × 75 cm Solomon R. Guggenheim Museum (New York, USA) เป็นผลงานฉบับแรกในชุดผลงาน Still Life with Gingerpot ภาพนีเ้ ปน็ตัวอยา่ งทีด่ ภี าพหนึง่ ของความเป็นอิสระแต่กช็ ัดเจนในการวางองคป์ ระกอบ ในภาพนี้เช่ือมโยงไปถงึ ผลงานสมยั กอ่ นของมองเดรียน กอ่ นท่ีจะมีความนามธรรมมากขน้ึ เขาคน้ หาความเรยี บง่ายดว้ ยการสร้างผลงานชุดนข้ี น้ึ มา กอ่ นจะทำ� การตัดทอนรปู ร่างในฉบับทส่ี อง (หนา้ 38) Piet Mondrian | 41

Still Life with Gingerpot II Painted 1911-12 Oil on canvas, 91.5 × 120 cm Solomon R. Guggenheim Museum (New York, USA) ภาพฉบบั ที่สองของชดุ Still Life with Gingerpot วาดเสรจ็ ในฤดูร้อน ของปี ค.ศ.1912 หลงั ท่ีมองเดรยี นย้ายไปปารสี และท�ำการตดั ตัวอกั ษร A ในชอื่ ลง 1 ตัว กลายเปน็ Mondrian (จาก Mondriaan) นำ� เสนอความคิดท่ีแตกตา่ งกันอย่าง สน้ิ เชิงกับภาพฉบบั ท่ีหน่งึ มอนเดรียนได้รวบรวมหลกั การของ Cubism ไว้ในงานชิ้นน้ี คอื การลดรูปทรงกลมของวัตถุลงเหลอื เพียงรปู สามเหล่ยี มและสีเ่ หลยี่ ม42 | Piet Mondrian


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook