ASGO“OTDHPEARIENTISINNGOASBUOCUHTTNHOINTGHING.” MarkRothko
สารบัญ . .......... ประวตัิ 1 ผลงานศิลปะ 18 บรรณานุกรม 42 .
1
BIOGRAPHY 2
MARK_ROTHKO ชวี ติ และ การศกึ ษา - เกิดเมื่อวันท่ี 25 กนั ยายน ค.ศ. 1903 ในเมอื งเดวนิ สก ประเทศรสั เซีย ( ปจจบุ ันคอื เมอื ง เดากัฟปล ส ประเทศลัตเวยี ) เขาเปนบุตรชายคนสดุ ทอ ง ของนาย Jacob Rothkowitz และนาง Anna Rothkowitz - ค.ศ. 1910 ครอบครวั ก็ไดย ายไปอาศัยอยูทเี่ มอื งพอรตแลนด รัฐโอเรกอน ประเทศสหรฐั อเมริกา - ค.ศ.1921 ไดเขารบั การศึกษาในระดบั มธั ยมที่ Portland's Lincoln High School เปน เวลา 3 ป 3
4
5
- ค.ศ. 1921 เขาก็ไดเ ขารบั การศกึ ษาตอที่มหาวทิ ยาลัยเยล และไดเ ลอื กเรียนทางดานดา นศิลปะศาสตรแ ละวิทยาศาสตร เขาเปนนักศึกษาที่ ขยนั หม่นั เพียร และ มีความฉลาดหลักแหลมเปนอยา งมาก ดังจะเหน็ ไดจ ากในรายวชิ าดนตรแี ละวรรณกรรมที่เขาสามารถทำงานไดอยาง โดดเดนและเปน ทป่ี ระทับใจสำหรบั อาจารยและเพอ่ื นๆ “ Max Naimark ” เพอื่ นรวมช้นั เรียนของเขาคนหน่งึ ไดพ ดู ถงึ Rothko วาเปนคนทม่ี ีผลงานแบบรางทดี่ ๆี จำนวนมาก แตยงั สังเกตเห็นวา เขายงั ใหค วามสนใจในดา นอนื่ ๆอกี ดวย - ค.ศ.1923 เขาลาออกจากมหาวทิ ยาลัยเยลแลว ยายไดไ ปอยูนิวยอรก เขาเลา ชวี ติ ของเขาตอนหน่ึงวา “ เร่ืองมันเกดิ ขึ้นตอนท่เี ขาเดนิ เตร็ดเตรไ ปเร่อื ยๆ เพอื่ ท่จี ะไปหาเพอื่ นทอ่ี ยูในหองเรยี นศิลปะแหง หนง่ึ ” ซึ่งเหตกุ ารณนเ้ี ปนจุดเริ่มตนใหเ ขารสู ึกสนใจทีจ่ ะศึกษาศลิ ปะ และเลือกที่จะเดนิ สูเสนทางของ ศลิ ปน - ค.ศ.1924 สมคั รเขาเรยี นคลาสศิลปะที่ The Art Students League of New York 6
- ค.ศ.1928 ผลงานของเขาไดถ กู นำไปจัดแสดงรวมกบั Lou Harris และ Milton Avery - ค.ศ.1932 เขาไดพบรักกับ Edith Sachar ดีไซเนอรออกแบบเครอ่ื งประดบั และไดแ ตง งานกันในเดอื นพฤษจกิ ายนของปนี้ - ค.ศ.1933 จัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะเด่ียวครง้ั แรกในชวี ิต ที่ Contemporary Arts Gallery 7
- ค.ศ.1940 เน่ืองจากกระแสตอตา นคนยวิ ในยโุ รปชว งกอนสงครามโลก ทำใหเขากลวั วา ถาหากกระแสนี้แพรเขา มาในอเมริกา มันจะทำใหเ ขาถกู รงั เกียจ เขาจึงเปลี่ยนมาใชชอ่ื Mark Rothko (ช่ือเดิม: Markus Yakovlevich Rothkowitz) - ค.ศ.1943 เขาไดแ ยกทางกบั ภรรยา ทำใหเ ริม่ มอี าการเกบ็ กด เขาจงึ เดนิ ทางกลบั ไปท่ีกอนหนาท่เี ขาไดจากมา คอื เมืองพอรทแลนด และเขาไดพ บกับ Clyfford Still ศิลปนแนว Abstract ทง้ั สองไดท ำความรจู ักกนั จนในภายหลังท้งั คไู ดกลายเปน เพอ่ื นสนทิ กนั ซ่งึ อาจพูดไดว า Clyfford เปนจุดเรม่ิ ตนท่ีทำใหเขาเร่ิมเขยี นงานแนว Abstract 8
Untitled (Portrait of Edith Sachar), c. 1932, Oil on canvas mounted on board, 14 × 11 in. Mark Rothko 9
Bathers, Marcus Rothkowitz, Oil on canvas board. 14.5 x 18 in. Reed College Art Collection c. 1928 10
11
- ค.ศ.1945 แตง งานอกี ครั้งกบั Mary Alice Beistle มลี ูกดว ยกนั สองคน 12
13
Mark Rothko, No. 2, 1947. - ค.ศ.1947 เขาพฒั นาศลิ ปะรูปแบบใหม และเรียกงานของตนในชวงน้วี า Multiform ทีถ่ กู เรียกภายหลงั วา Color Field 14
ค.ศ.1954 สอนหนังสอื ท่ี Brooklyn College 15
ค.ศ.1970 ในวนั ที่ 25 กมุ ภาพนั ธ เลขาของเขาพบรางไรวญิ ญาณนอนอยบู นพนื้ ในหองครัว จากผลการชนั สตู รและหลักฐานในทเ่ี กดิ เหตุพบวา มารก ลงมือฆา ตวั ตายดว ยการกนิ ยาระงับประสาทเขา ไปในจำนวนมาก และใชม ีดกรีดลงที่ขอ มอื ตวั เอง 16
awrot-rk /ahrt-wurk/ noun. meaning 1. Printing. the elements that constitute a mechanical, as type, proofs, and illustrations. a mechanical; paste-up. meaning 2. the production of artistic or craft objects. meaning 3. the object so produced. 18
Untitled (three nudes), c. 1933/1934, oil on black cloth, 40.3 x 50.5 cm, National Gallery of Art ในนิวยอรก Mark Rothko ไดเขารวมเปนสวนหนึ่งของคลาสศิลปะ The Art Students League ที่ในตอนนั้น อยูภายใตการควบคุมและดูแลการเรียนการสอน โดยนาย Max Weber ผูซึ่งไดรับอิทธิพลและ รูปแบบงานศิลปะมาจาก Paul Cézanne ศิลปน ชื่อดังที่สรางผลงานในยุค Post-Impressionism 19
Street Scene, c. 1937 oil on canvas, 73.5 x 101.4 cm National Gallery of Art ในป 1929 Mark Rothko ไดเริ่มสอนศิลปะใหเด็กๆ ที่ The Center Academy of the Brooklyn Jewish Center เขาเปนครูสอนวาดภาพอยูที่แหงนี้ยาวนานกวา 20 ป ซึ่งในชวงนี้เขาชอบที่จะวาดภาพถนนประกอบกับคนที่เดินสัญจร ไปมาซะเปนสวนใหญเขาสอนเด็กๆโดยการใหปฏิเสธวิธีเดิมๆ ใหใชอารมณเขามาเปนสวนประกอบในการวาดภาพ ไมตองคำนึงถึงรูปทรงที่ผิดเพี้ยนและเนนใหเด็กๆรูจัก การประยุกตใชสีเปนหลัก . 20
Untitled, late 1920s, National Gallery of Art 21
Mark Rothko จัดนิทรรศการแสดงผลงานศิลปะเดี่ยวครั้งแรก ในป 1933 ณ Museum of Art in Portland และในภายหลังไมนานนัก เขาก็ไดจัดนิทรรศการเดี่ยว อีกครั้งในนิวยอรก ที่ Contemporary Arts Gallery in New York ซึ่งผลงานที่นำมาจัด ในภายหลังโดยมากจะมีเนื้อหาเกี่ยวกับ ภาพทิวทัศน ภาพเปลือย ภาพบุคคล และภาพ สถานที่ตางๆในเมือง 22
Street Scene, c. 1936-1937, oil on canvas, 91.5 x 55.8 cm, National Gallery of Art, Washington 23
Woman Reading, c. 1933, oil on canvas, 60.7 x 71.2 cm Entrance to Subway [Subway Scene], c. 1938, Collection of Kate Rothko Prizel. 24
. ในชวงป 1940 ภาพลักษณและผลงานของ Mark Rothko ออกไปในเชิงสัญลักษณ เพราะในชวงนั้นบรรยากาศทางสังคมมีความกดดันสูงเนื่องจากผลพวงของ สงครามโลกครั้งที่ 2 . ผลงานของเขาในชวงนี้จึงมีความเปน Surrealism มากขึ้น เนนหนักไปที่ความหมายในเชิง เสียดสีสังคม . ดังจะเห็นไดจากภาพทางดานขวามือ ที่ชื่อวา HIERARCHICAL BIRDS ลำดับชั้นของนก ซึ่งเกี่ยวของกับทฤษฎีทางจิตวิทยา ที่พูดเกี่ยวกับเรื่อง อำนาจ และ การจัดระเบียบทางสังคม . 25
HIERARCHICAL BIRDS, c.1944 Oil On Canvas, National Gallery of Art
Slow Swirl at the Edge of the Sea, c.1944 ภาพนี้เปนหนึ่งในงานชิ้นเอกของ Mark Rothko เปนรูป ของกริดที่แตกออกเปนเสี่ยง ชิ้นสวนกระจายออกไปทุกทิ้ศทาง ลองลอยอยูทามกลางทะเลและทองฟาอยางอิสระ รวมกับสัตว สองตัวที่กำลังเคลื่อนไหวอยางมีชีวิตในบริเวณใกลเคียง Rothko ใชลายเสนบิดเกลียว เสนแบบหมุนวน และเสนตรง ผสมรวมเขาดวยกัน ทำใหเภาพกิดความเคลื่อนไหวไปพรอมๆกับ ความหยุดนิ่ง ซึ่งอาจมองไดเหมือนโน็ตดนตรีที่อยูบนบรรทัด 27
Gethsemane, 1944 by Mark Rothko. Surrealism. figurative 28
Orange and Yellow, 1956, oil on canvas
\" If you are moved only by color relationships, then you miss the point. \" - MARK ROTHKO - 30
No.10, 1950 31
Untitled (Yellow and Blue), 1954 32
Light Cloud, Dark Cloud ,1957 oil on canvas Fort Worth, Modern Art Museum 33
ในชว งป 1950 Mark Rotho เขา ถึงอารมณความเปนศลิ ปน แนว Abstract Expressionism วิธกี ารของเขาคือใช แปรง สี และผืนผา ใบ เพื่อถายทอดอารมณค วามรูสึกของมนุษย ผืนผา ใบท่อี ยูตรงหนาของเขา จึงเปน ชองวา งท่ีจะสงผานอารมณ ของเขาผา นไปยงั ผทู ชี่ มงานศลิ ปะ และงานของเขายังเปน สิง่ ทีส่ ามารถ ใหผูช มมาสำรวจจิตใจ อารมณ และความรูสึก ไดอ กี ดวย ผลงานหลายชน้ิ ของเขาสะทอนใหเหน็ ถงึ ความโศกเศราในจิตใจ เห็นไดจาก โทนสที ีเ่ ขาเลือกใช การนยิ มวางแถบสีในแนวนอน ความ คลุมเคลือของสตี า งๆทเ่ี ขานำมาใสไวใ นผนื ผาใบผืนเดียวกัน เปนตน Rothko มกั จะสรา งผลงานท่ีมขี นาดใหญ เพราะเขาเหน็ วา งาน หรอื ผืนผา ใบขนาดเล็ก ไมส ามารถทจี่ ะเตมิ เตม็ อารมณของเขาไดห มด มันจะทำใหรูสกึ เหมอื นกบั วาอารมณค วามรสู ึกของเขาถูกตดั ออกดวย พนื้ ท่ี อีกทง้ั เขายงั ตองการใหผ ทู เ่ี ผชญิ หนากับผลงานของเขา ไดเ ขาถงึ อารมณท แี่ ทจริง มใิ ชการคาดเดาอารมณข องศลิ ปน แตเปนการสำรวจ จิตใจเบือ้ งลกึ ของตนเอง ณ ขณะนัน้ 34
35
* ขนาดผลงานเมื่อเทียบกับรางกายคน 36
ชว งป 1960 เปนตน มา อาการปวยและความทุกขท รมาณจากภาวะซึมเศราไดทวีความรุนแรงมากข้ึน ซง่ึ แนนอนวา ผลงานของเขา ซ่ึงไดกลน่ั กลองออกมาจากความเจ็บปวด ก็ไดทวคี ณู ความรุนแรงทางดานอารมณมากขน้ึ เชนกนั แตใ นอารมณท ร่ี นุ แรงเหลานนั้ กลับเตม็ ไปดวย ความเงียบสงบ ความเหงา และโดดเดี่ยว สีดำ เทา นำ้ ตาล ถกู นำมาใสไวในผลงานมากขึ้น เพอื่ ที่จะส่ืออารมณของเขา ไดอ ยางชดั เจน เขาเชญิ ศิลปนชน้ั นำในนวิ ยอรก หลายทาน มาท่สี ตูดโิ อของเขา เพ่อื ท่ีจะแสดงงานศลิ ปะ ชดุ สุดทา ย การแสดงผลงานถูกปกคลุมไปดวย ความเงยี บสงัด ลางสงั หรณแ หง ความตาย ฟุง กระจาย ไปท่ัวทัง้ งาน ความตายอยไู มใกลไ มไ กลนเ้ี อง Rothko ตัดสินใจฆา ตวั ตาย ชอ่ื เสยี งของเขาในฐานะศิลปน เปนทีย่ อมรับในวงกวา ง ความตั้งมัน่ ใน อดุ มคติ และอารมณ ทำใหเ ขาเปน ที่นานับถอื จติ วิญญาณที่เขามอบใหศ ลิ ปะ ทำใหเ ขาเปนศิลปน ท่ีนายกยอ ง ... 38
No. 7 Mixed media on canvas - 1964 39
No. 8 Black Form Paintings - 1964 40
Untitled (Black on Grey) 1969-70 41
Search