หลังจากทย่ี ุคกอ่ นประวตั ศิ าสตร์ส้ินสุด ก็เข้ามาถึงยคุ ทมี่ นษุ ย์เร่ิมรู้หนังสอื และมีการบนั ทุกหนา้ ประวัตศิ าสตร์ คำ�วา่ ยคุ โบราณกส็ ามารถแปลได้ตามตวั เลยวา่ ตอ้ งมคี วามเก่าแก่มาก และเพลงท่ี เกา่ แกท่ ี่สุดทีเ่ คยถกู บนั ทกึ ไว้ก็ถกู บันทึกด้วยอักษรคนู ิฟอร์ม เม่ือประมาณ 3400 ปกี อ่ น จากเมือง Ugarit ในซีเรียเพลงนถี้ กู เรียกวา่ Hurrian Hymn no.6 เปน็ สว่ นหนึ่งของ Hurrian songs ถา้ จะ ให้พดู เปรียบเทียบแล้ว Hurrian songs ก็เหมอื นกบั อัลบมั เพลงท่ีเก่าแกท่ ี่สดุ ทม่ี นุษย์ค้นพบ ยังมีบทเพลงทถ่ี ูกบันทึกไว้ในซากทย่ี งั เหลอื รอดของแผ่นจารกึ Seikilos หรือก็คือเป็นแผน่ จารกึ องค์ประกอบทางดนตรีท่ีสมบูรณ์ท่ีสุดและเก่าแก่ท่ีสุดที่ยังหลงเหลืออยู่รวมถึงโน้ตดนตรีที่อาจจะ มาจากท่ีใดก็ได้ในโลก เวลาท่ีถูกบันทกึ ไม่แนช่ ดั อาจจะเป็นศตวรรษที่ 1หรือศตวรรษที่ 2 เนื่องจากดนตรียุคโบราณมาแทนที่ดนตรีในยุคก่อน ประวตั ศิ าสตร์ จึงมีการพฒั นาอย่างแพรห่ ลายและ เกิดข้นึ หลากหลายอารยธรรม ศาสนา และภมู ิประเทศ เช่น เมโสโปเตเมีย , อินเดีย , อยี ิปต์ , กรกี และโรม 50
ANCIENT GREECE กรกี โบราณ เพลงในยุคกรีกโบราณมีเสียงเพลงอยู่ทุกหนทุกแห่งไม่ว่าจะเป็นโรงละครหรือ การแตง่ งาน งานศพ พิธีทางศาสนา การประชุมสัมมนา ซึ่งในการประชมุ สัมมนาของชาวกรีกจะมีการจัดงานสังสรรค์ ดม่ื ทานอาหาร มกี ารเล่นดนตรี เพ่ือความบันเทงิ มีการแสดงโชว์ประสานเสียงในโรงละครโดยไม่จำ�กัดเพศและบทเพลงส่วน ใหญ่ใชเ้ พ่ือบชู าเทพเจา้ และวิญญาณในฤดตู ่างๆ นอกจากนี้ก็มีบทบาทในดา้ น การศึกษา เด็กผชู้ ายจะถูกสอนใหเ้ ล่นดนตรีและร้องเพลงตงั้ แต่อายุ 6 ชวบ เพลงจึงมีบทบาทท่สี �ำ คญั ของกรีก แมก้ ระทง่ั โฮเมอรน์ ักแต่งกลอนในต�ำ นาน ของชาวกรีก ก็มีการกลา่ วอ้างว่าเขาร้องเพลงประกอบกลอนและนิทานของ เขาด้วยเชน่ กัน 51
ANCIENT EGYPT อยี ปิ ต์โบราณ และในหลุมศพของราชอาณาจกั รเก่า ไดม้ หี ลกั ฐานเปน็ ภาพวาดเฟสโก้ทีถ่ ูก พบท่สี ุสาน Theban ของ Nebamun ขนุ นางในราชวงศ์ที่ 18 ของอียปิ ต์ โบราณ (ค. ศ. 1350 BC) เป็นภาพผู้คนก�ำ ลังเล่นเครอ่ื งดนตรหี ลายชนิด เชน่ พณิ ขล่ยุ เปา่ ปลาย ขลยุ่ ท่อเด่ยี ว คลารเิ นต็ เครอ่ื งเคาะ แมว้ า่ จะมีการตรวจ สอบเคร่ืองดนตรีที่ยังคงเหลือรอดมาจากยุคโบราณก็ไม่มีหลักฐานพบว่า ดนตรีของอยี ปิ ต์มีลักษณะ เสียง และจังหวะเปน็ อย่างไร 52
ANCIENT MESOPOTAMIA เมโสโปเตเมียโบราณ ในปี 1986 Anne Draffkorn Kilmer จากมหาวทิ ยาลบั แคลฟิ อรเนีย่ ได้ ตีพิมพห์ นังสอื การถอดรหสั ของตวั อกั ษรคนู ิฟอรม์ ท่ีมาจากเมอื ง Nippur ทม่ี ีอายุ 2000 ปีก่อนศรสิ ตศกั ราช เธอพบกับการบนั ทึกทางดนตรที ี่ยงั ไมค่ อ่ ยเป็นช้ินเป็นอันนัก จนมาพบกับตัวอกั ษรคูนิฟอร์มในเมอื ง Ugarit เมือ่ 1250 กอ่ นศริสตศกั ราชหรอื ทเี่ รียกวา่ Hurrian ่ 53
Hurrian Songs หน่งึ ในต�ำ รา Hurrian มสี ่งิ ที่น่าสนใจเก่ียวกับดนตรีคอื Hurrian Songs หรอื อลั บมั ทเ่ี ก่าแกท่ ี่สุดท่ี เราได้พดู ไว้ขา้ งตน้ เป็นบทเพลงที่มคี วามสมบรู ณม์ าก บทเพลงถูกแต่งข้ึนเพื่อบูชาเทพNี ikkal เทพี แหง่ ผลไม้ ด้วยความเชอ่ื ว่าจะทำ�ใหผ้ ลผลิตสมบรู ณ์ บทเพลงทส่ี มบูรณ์ทีส่ ดุ คอื Hurrian Hymn No.6 แต่ช่อื ผ้แู ต่งแตกหกั ไปทำ�ใหไ้ ม่สามารถระบุไดว้ า่ ใครเป็นคนจารึกกันแน Harps of Ur ในปี 1929 นักโบราณคดชี าวองั กฤษลโี อนาร์ด วลู เลยเ์ ดนิ ทางร่วมกับพพิ ธิ ภัณฑบ์ ริทิช คน้ พบช้ิน สว่ นของพณิ 4 ช้นิ ในขณะทกี่ ำ�ลงั ขุดซากปรักหกั พงั ของเมอื งโบราณ เมืองเออร์ (Ur) ถอื ว่าเปน็ เครื่องดนตรชี นิดเครอื่ งสายที่เกา่ แกท่ ่ีสดุ มอี ายมุ ากกว่า 4500 ปีจากเมโสโปเตเมียโบราณช่วงตน้ ยุคราชวงศ์ท่ี 3 การตกแตง่ พณิ เปน็ ไปตามศลิ ปะของเมโสโปเตเมียในยคุ นั้น 54
ANCIENT INDIA กรีกโบราณ เพลงในยุคอินเดียโบราณมีความเจริญรุ่งเรืองมากครอบคลุมไปทั่ว ชมพทู วีป มีหลกั ฐานเปน็ คมั ภีรน์ าฏยศาสตร์ ซ่ึงเกย่ี วกับการฟ้อน ร�ำ การขับร้อง เลน่ ดนตรี กล่าวก็คอื ศิลปะการแสดงท่ถี ูกแสดงบน โรงละครอนิ เดยี และยงั กลา่ งถงึ นาฏนศิลป์อินเดียและดนตรคี ลาสสิ กอนิ เดียอกี ด้วย ถูกเขียนไวใ้ นเวลาทไี่ มแ่ นน่ อนในยุคอนิ เดียคลาสสกิ (ระหวา่ ง 200 BCE - 200 CE) นักวิชาการเชอ่ื วา่ คัมภรี น์ าฏยศาสตร์ อาจถกู เขียนโดยนกั ร้อง นักดนตรี และนกั เตน้ ระดบั อาจารยห์ ลายๆ คนกเ็ ป็นได้ 55
ANCIENT ROMAN โรมันโบราณ เพลงของกรงุ โรมโบราณได้รับอทิ ธพิ ลมาจากวัฒนธรรมท่ปี กครองอย่าง กรซี อยี ิปต์ และเปอร์เซยี บทเพลงแทรกซึมเขา้ ไปในทกุ ชนช้ันและทุกพ้นื ที่ ใช้เพลงในการทหาร ความบนั เทงิ ในโรงละคร พิธกี รรมทางศาสนา หนง่ึ ในเพลงที่เก่าแกท่ ส่ี ุดของโรมนั คอื Camen ที่ใช้ในทกุ ๆโอกาสของสังคม และในเหลา่ บทกวขี องฮอเรซ (ฮอเรซเปน็ นกั ประพันธเ์ พลงละตินท่สี ำ�คญั ในสมยั ของจักรพรรดแิ ห่งโรมนั Augustus(Octavian)) กไ็ ด้ใช้บทเพลงเพ่อื ถ่ายทอดออกมา Boethius นักปรชั ญา ไดเ้ ขยี นบทความหลักการของดนตรี ว่าแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ Musica mundana (ดนตรีของจักรวาล), musica humana (ดนตรี ของมนุษย)์ และ musica instrumentalis (ดนตรบี รรเลง) 56
MEDIEVAL ยุคกลาง 57
ดนตรียคุ กลางอาจเรียกได้วา่ Middle-Age หรอื Medieval เร่ิมในพ.ศ. 1393 – 1993 ในสมยั กลางน้โี บสถ์เปน็ ศูนย์กลางทั้งทางด้านดนตรี ศิลปะ การศึกษาและการเมือง บทเพลงทาง ศาสนาเกิดขน้ึ จากการผสมผสานระหว่างดนตรีโรมันโบราณกับดนตรียวิ โบราณ เพลงส่วนใหญ่จะ ถกู แต่งขน้ึ สำ�หรับใช้ในคริสจักร กอ่ นสมยั นรี้ าวศตวรรษท่ี 6 ดนตรขี ้ึนอยกู่ ับศาสนา Pope Grego- rian เป็นผรู้ วบรวมบทสวด เปน็ ทำ�นองเดียว ( Monophony ) โดยไดต้ ้นฉบบั จากกรกี เปน็ ภาษา ละตนิ ตอ่ มาจึงมี 2 ท�ำ นอง (Polyphony) ศตวรรษท่ี 11 การศกึ ษาเรม่ิ ในโบสถ์ในสมัยกลางนี้เอง ได้เรมิ่ มีการบนั ทกึ ตวั โน้ต โดยมนี ักทฤษฎีดนตรชี าวอิตาเลยี นชือ่ Guido D’Arezzo ( พ.ศ. 1538 – 1593 ) ไดส้ ังเกตเพลงสวดเกา่ แก่เป็นภาษาละตนิ เพลงหนึ่งแตล่ ะประโยคจะมีเสียงคอ่ ย ๆ สูง ขึน้ จึงน�ำ เอาเฉพาะตัวแรกของบทสวดมาเรยี งกัน จงึ ออกเป็น Do Re Mi Fa Sol La Te Do ตอ่ มา ค.ศ. 1300 ดนตรกี ็เร่ิมเกีย่ วกบั ศาสนาอยา่ งแนน่ แฟ้นยงิ่ ขึ้น ดนตรีในยุคนเ้ี ปน็ vocal polyphony คือ เป็นเพลงรอ้ งโดยมี แนวท�ำ นองหลายแนวสอดประสานกนั ซึง่ พฒั นามาจากเพลง สวด (Chant) หรือเพลงทำ�นองเดียว (Monophony) 58
Monophonyหรือชานท์เป็นบท เพลงรองท่มี ีแตท่ �ำ นอง ไม่มกี าร ประสานเสียงและเป็นดนตรีที่ ไม่มีอัตราจงั หวะ (Non-metrical) MONOPHONY พัฒนาไปเปน็ Polyphony หรือเสยี งประสาน ต่อมาใช้อัตราจังหวะและมีการ ป ร ะ ส า น เ สี ย ง จ า ก เ พ ล ง ร้ อ ง ดั้ ง เ ดิ ม ที่ มี เ พี ย ง เ สี ย ง เ ดี ย ว ไ ด้ พัฒนาข้ึนกลายเป็นเพลงหลาย แนวเสียง POLYPHONY 59
Renaissance ยุคเรเนสซองสห์ รอื ยุคฟืน้ ฟศู ลิ ปวทิ ยา 60
สมัยเรเนสซองส์หรอื สมยั ฟนื้ ฟศู ิลปวทิ ยา เร่ิมประมาณ ค.ศ. 1400 – 1600 ตรงกบั สมยั โคลัมบัส และเชคสเปยี ร์ ดนตรใี นยุคนี้มกั จะเป็นการเริ่มรอ้ งหม่เู ล็ก ๆ สว่ นใหญจ่ ะเกีย่ วกับ การร้องเพอ่ื สรรเสริญพระเจ้า ร้องกนั ในโบสถม์ ี 4 แนว คือ โซปราโน อลั โต เทเนอร์ และเบส การร้องจะมีออรแ์ กนหรอื ขลยุ่ คลอ ดนตรีในสมยั น้ีไมม่ ีโนต้ อ่าน และมักเลน่ ตามเสยี งรอ้ ง เพลงศาสนายงั มีความส�ำ คัญอย่เู ชน่ เดมิ นอกจากจะใชเพ่อื ศาสนายงั ใช้เพื่อให้ความบนั เทงิ ความสนกุ สนานแก่ประชาชน การประสานเสียงแบบ Polyphony ไดร้ บั การพฒั นาให้กลมกลนื ข้ึน เพลงศาสนาเป็น รากฐานของทฤษฎกี ารประสานเสียง เพลงในยุคนี้แบ่งเป็นสองแบบ ส่วนใหญจ่ ะเปน็ แบบท่ี เรียกวา่ อมิ มิเททฟี โพลโี ฟนี (Imitative Polyphony) คือ มหี ลายแนว และแต่ละแนวจะเริม่ ไม่พร้อมกัน ทกุ แนวเสียงมีความสำ�คัญแบบทส่ี องเรียกวา่ โฮโมโฟนี (Homophony) คือ มี หลายแนวเสียงและบรรเลงไปพร้อมกนั มีเพียงแนวเสียงเดยี วทเ่ี ดน่ แนวเสียงอืน่ ๆ เปน็ เพียง เสยี งประกอบ ลักษณะของเสียงเกยี่ วกับความดงั ค่อย ยังมีนอ้ ยไมค่ ่อยพบ เริม่ มกี ารผสมวง เลก็ ๆ เกิดขนึ้ ลักษณะของเพลงมคี วามนิยมพอๆกนั ระหว่างเพลงรอ้ งและบรรเลงด้วยเครื่อง ดนตรี การขับรอ้ งแบ่งเป็นสองแบบคือแมส (Mass) และ โมเตท็ (Motet) แมส(Mass) เพลงขับร้องหลาย โมเตท็ (Motet) เพลงขับรอ้ ง แนวเสียงในนิกายโรมันคาธอลิก ทไ่ี ม่มดี นตรีประกอบ ใช้ทำ�นอง ต่อมาเพิ่มดนตรีบรรเลงประกอบ จากเพลงชานท์ มาเปน็ แนวเสียง ในศตวรรษท่ี 17 ต่ำ� แล้วเพิม่ แนวเสยี งอ่นื ๆตาม ตอ้ งการ ค�ำ รอ้ งใช้ภาษาละติน 61
BAROQUE ยคุ บาโรก 62
ดนตรีในสมัยนี้จะอยูป่ ระมาณ ค.ศ. 1600 – 1750 ด้วยระยะเวลาทีย่ าวนานทำ�ให้ดนตรีในยุคน้ี มีการเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ทวีปยโุ รปกำ�ลังมกี ารเปล่ียนแปลงทุกดา้ นไปในทางทด่ี ีขึ้น ดนตรีใน สมยั น้มี ีการเปลย่ี นแปลงไปสู่ความสมบรู ณ์ ดนตรีของศาสนา และดนตรีของชาวบ้านมคี วามเจรญิ กา้ วหนา้ ทัดเทยี มกนั โครงสร้างของเพลงมคี วามสลบั ซบั ซ้อนมากขึน้ สีสันในบทเพลงมมี ากข้นึ วง ดนตรีวงใหญ่ข้นึ มกี ารนำ�เครือ่ งดนตรีมาใชอ้ ยา่ งหลากหลาย เพลงในยุคนีจ้ ะมีจงั หวะสม�ำ่ เสมอ มาก และเรยี กได้วา่ เปน็ รปู แบบดนตรีทเ่ี ดน่ ท่สี ดุ ยคุ หน่งึ นกั ดนตรที ีม่ ีช่อื เสยี งในยุคน้ไี ด้แก่ บาค ไฮเดิล ในยุคตน้ ของสมัยบาโรค มีเครือ่ งดนตรปี ระมาณ 20 – 30 ชิ้นสลบั กนั เลน่ เพื่อให้มรี สชาตใิ นการฟงั เคร่ืองดนตรีในการคลอเสยี งร้อง เชน่ ลวิ้ ท์ ขล่ยุ ตอ่ มาไดว้ วิ ฒั นาการใชเ้ ครื่องสายมากข้นึ เพื่อประกอบการเต้นร�ำ รวมทง้ั เคร่ืองลมไมด้ ว้ ย ในสมัยนีผ้ ู้ อำ�นวยเพลงจะเล่นฮารพ์ ซิคอรด์ ฮาร์พซคิ อรด์ (Harpsichord) ช่วงตน้ ยคุ มีการใชล้ ักษณะการใส่เสยี งประสาน(Homophony) เร่มิ นยิ มการใชเ้ สยี งเมเจอร์ และ ไมเนอร์ แทนการใชโ้ หมดต่างๆ การประสานเสยี งมีหลกั เกณฑเ์ ปน็ ระบบ มกี ารใช้เสยี งหลัก และ อตั ราจังหวะเป็นสิ่งส�ำ คญั ของบทเพลง การใชล้ กั ษณะของเสียงเกีย่ วกับความดงั คอ่ ย เป็น ลกั ษณะของความดงั -ค่อย มากกวา่ จะใชล้ ักษณะค่อยๆ ดังขน้ึ หรือคอ่ ยๆลง บทเพลงบรรเลง ด้วยเครื่องดนตรีเปน็ ทน่ี ยิ มมากขน้ึ บทเพลงรอ้ งยังคงมอี ยแู่ ละเป็นทีนยิ มเชน่ กนั นยิ มการน�ำ วง ดนตรเี ลน่ ผสมกับการเลน่ เดย่ี วของกลมุ่ เครื่องดนตรี 2-3 ชน้ิ (Concerto grosso) ในยุคบาโรกดนตรมี ีความส�ำ คญั ที่เด่นอยู่สามประเภทคอื ศาสนา การขับร้องและเคร่ืองดนตรี 63
VOCALS รูปแบบของเพลงบางประเภทมีการพัฒนาจนมีแบบแผน แน่นอน ลกั ษณะของเพลงร้องของดนตรียุคบาโรก ไดแ้ ก่ โอเปร่า คนั ตาตา และออราทอรโิ อ ส่วนลักษณะรปู แบบ (Form) ของเพลงบรรเลง ไดแ้ ก่ โซนาตา คอนแชรโ์ ตและ เพลงชุด (Suite) เพลงโบสถ์ยังเป็นทน่ี ยิ มในการประพนั ธ์ เพลงท่ีประพันธ์ กนั ในยุคนี้ คอื เพลงแมส โมเท็ต คันตาตา ออราทอริโอ และแพสช่นั (Passion) คอื เพลงทบ่ี รรยายเกี่ยวกบั พระ เยซูถกู ตรึงกางเขน เป็นต้น CHRISTIANITY MUSICAL การใช้เคร่ืองสายตระกูลวิโอลค่อยๆลดความนิยมในการใช้ INSTRUMENT ลง คงหลงเหลอื อย่เู พียงการพัฒนาที่กลายมาเปน็ ดบั เบลิ เบสในปัจจบุ ัน เครอ่ื งสายทีเ่ ข้ามาแทนท่ีคอื ตระกูลไวโอลนิ ซึง่ ประกอบดว้ ย ไวโอลนิ วิโอลา่ และเชลโล่ ออรแ์ กนได้รับ การพัฒนาใหด้ ขี ้ึน และเริ่มมีการพัฒนาเปียโน 64
CLASSICAL ยคุ คลาสสิก 65
เร่มิ ประมาณ ค.ศ. 1750 – 1820 สมัยน้ีดนตรไี ด้เร่ิมออกมาแพรห่ ลายถึงประชาชนมากย่งิ ข้นึ สถาบนั ศาสนามไิ ดเ้ ป็นศูนย์กลางของดนตรอี กี ต่อไป ดนตรใี นยคุ นีถ้ อื ว่าเปน็ ดนตรีบริสทุ ธ์ิ (Pure Music หรอื Absolute Music) เพลงตา่ งๆ นยิ มแต่งข้นึ เพ่ือการฟงั โดยเฉพาะ มิใช่เพอื่ ประกอบ พธิ ศี าสนาหรอื พิธอี ืน่ ๆ เป็นระยะเวลาแหง่ ดนตรเี พอ่ื ดนตรี เพลงส่วนใหญ่เปน็ เพลงบรรเลง เพ่อื ฟงั ความไพเราะของเสียงดนตรอี ย่างแท้จรงิ การประสานทำ�นองแบบ Polyphony ใชน้ อ้ ยลงไป ลักษณะของดนตรใี นสมัยคลาสสิกท่เี ปล่ียนไปจากสมยั บาโรกที่เห็นได ช้ ดั คอื ไมน่ ิยมการสอด ประสานของท�ำ นอง หนั มานยิ มการเน้นท�ำ นองหลกั เพียงท�ำ นองเดียวโดยมแี นวเสยี งอ่นื ประสาน ให้ทำ�นองไพเราะขึน้ หรือเรียกว่า Homophony เปน็ ยุคท่ีดนตรมี ีกฎเกณฑแ์ บบแผนอยา่ งมาก การใสเ่ สียงประสานเป็นลกั ษณะเดน่ ของยคุ นี้ การ สอดประสานพบไดบ้ ้างแตไ่ ม่เด่นเทา่ การใสเ่ สียงประสาน การใช้บนั ไดเสยี งเมเจอร์ และไมเนอร์ เปน็ หลกั ในการประพนั ธเ์ พลง ลักษณะของบทเพลงมคี วามสวยงามมแี บบแผน บรสิ ุทธิ์ มีการ ใช้ลักษณะของเสียงเก่ยี วกบั ความดังคอ่ ยเปน็ สำ�คญั ลลี าของเพลงอยู่ในขอบเขตท่นี ักประพันธ์ ในยคุ น้ยี อมรับกัน ไม่มีการแสดงอารมณ์ หรือความรู้สึกของผู้ประพนั ธ์ไว้ในบทเพลงอย่างเด่น ชัด การผสมวงดนตรพี ฒั นามากข้นึ การบรรเลงโดยใช้วงและการเด่ยี วดนตรขี องผูเ้ ลน่ เพยี งคน เดยี ว( Concerto)เปน็ ลักษณะที่นยิ มในยุคน้ี บทเพลงประเภทซมิ โฟนมี ีแบบแผนทนี่ ยิ มกันในยุค นเี้ ช่นเดยี วกบั เพลงเด่ยี ว(Sonata) ดว้ ยเครอื่ งดนตรีชนิดต่างๆ บทเพลงบรรเลงด้วยเครือ่ ง ดนตรีทนี่ ยิ มเปน็ อย่างมาก บทเพลงร้องมลี ักษณะซับซ้อนกนั มากขน้ึ เช่นเดียวกับบทเพลง บรรเลงดว้ ยเครื่องดนตรี นกั ดนตรีที่ควรรู้จกั ในยุคน้ี คอื กลุค ไฮเดนิ โมทซาร์ท และเบโธเฟน Wolfgang Amadeus Mozart Ludwig Van Beethoven 66
ลกั ษณะเดน่ ของดนตรีในยคุ คลาสสิก 1. ฟอรม์ หรอื คตี ลักษณ์ (Forms) มีโครงสรา้ งทช่ี ัดเจนแนน่ อน และยดึ ถอื ปฏิบัติมาเปน็ ธรรมเนยี ม นิยมอยา่ งเครง่ ครดั 2. สไตลท์ �ำ นอง (Melodic Style) ไดม้ ีการพัฒนาท�ำ นองชนดิ ใหมข่ นึ้ มลี กั ษณะทีเ่ ป็นตวั ของตวั เอง และ รัดกมุ กะทดั รัดมากข้ึน มีความแจ่มแจ้งและความเรียบง่าย 3. สไตลแ์ บบโฮโมโฟนิค (Homophonic Style) หรอื การเนน้ ทำ�นองหลกั เป็นสไตล์หลกั ในการ บรรเลงเพลงของยคุ คลาสสิก 4. ในด้านการประสานเสียง (Harmony) นน้ั การประสานเสียงของดนตรีสมยั นซี้ บั ซ้อนน้อยกวา่ การประสานเสยี งของดนตรสี มัยบาโรก 5. การใชค้ วามดงั - เบา (Dynamics) ได้มีการน�ำ เอาลักษณะการควบคมุ ความดงั มาใช้สรา้ งเป็น องค์ประกอบของดนตรี ดังเห็นไดจ้ ากงานการประพันธ์ของนักประพันธ์หลายๆคน 6. ความบรสิ ุทธข์ิ องบทเพลง ในยคุ สมัยนี้เพลงน้ันถกู แตง่ มาเพอื่ ฟงั และเสพความสวยงามทางการ ได้ยินเท่านั้น ไมไ่ ด้แตเ่ พื่อใช้กระทำ�การอยา่ งอน่ื เหมอื นในยุคอ่ืนๆ 67
ROMANTIC ยุคโรแมนติก 68
ยคุ โรแมนตกิ เร่ิมตน้ ในปคี .ศ. 1825 – 1900 สมัยนี้ตรงกับสมยั นโปเลยี นแหง่ ฝรง่ั เศส เพลงใน สมัยน้ี ผิดไปจากเพลงในสมยั ก่อนๆ คือเม่อื กอ่ นเร่มิ แรกเกย่ี วกับศาสนา ตอ่ มามกี ารเลอื กใช้เครือ่ ง ดนตรแี ละในสมยั นี้ จะแตง่ ตามจุดประสงค์ ตามความคดิ ฝนั ของคีตกวี เน้นอารมณ์เปน็ สำ�คญั นักแต่งเพลงที่มชี ือ่ เสียงในสมัยนั้นมี ชูเบริ ต์ เสตร้าส์ เมนโดโซน โชแปง ชมู านน์ บราหมส์ ไชคอฟ สกี้ โดยเฉพาะในยุคนี้ แต่ละประเทศในยโุ รปจะมีความนิยมไมเ่ หมอื นกัน เชน่ ลกั ษณะของเพลง รอ้ ง เพลงประกอบละคร เพลงเตน้ รำ�แบบวอลท์ เป็นไปตามคีตกวีและความนยิ มสว่ นใหญ่ คำ�ว่า “โรแมนติก” ในทางดนตรีมักใหค้ วามหมายวา่ เปน็ ลักษณะท่ีตรงกันข้ามกบั ดนตรีคลาส สกิ กลา่ วคือในขณะทด่ี นตรีคลาสสิกเน้นท่ีรูปแบบอนั ลงตัวแนน่ อน (Formality) โรแมนติกจะ เนน้ ทเ่ี นือ้ หา (Content) คลาสสิกเนน้ ความมเี หตผุ ลเกย่ี วขอ้ งกัน (Rationalism) โรแมนตกิ เน้น ที่อารมณ์ (Emotionalism) และคลาสสกิ เปน็ ตวั แทนความคิด แบบข้อเทจ็ จริงหรือภววิสัย (Ob- jectivity) โรแมนติกจะเป็นตวั แทนของมมุ มองความคดิ หรอื อตั วสิ ัย (Subjectivity) ลักษณะเดน่ ของดนตรีในยคุ นี้ คอื เป็นดนตรที ี่แสดงความร้สู กึ ของนักประพันธ์เพลงเปน็ อย่างมาก ฉะนัน้ โครงสรา้ งของดนตรจี ึงมีหลากหลายแตกต่างกันไปในรายละเอียด โดยการพฒั นาหลกั การ ต่างๆ ตอ่ จากยุคคลาสสิก หลกั การใชบ้ ันไดเสยี งไมเนอรแ์ ละเมเจอร์ ยังเป็นสง่ิ ส�ำ คัญ แตล่ ักษณะ การประสานเสยี งมกี ารพฒั นาและคดิ ค้นหลกั ใหมๆ่ ขน้ึ อย่างมากเพ่ือเปน็ การส่อื สารแสดงออก ทางอารมณ์และความร้สู ึกของผู้ประพนั ธ์เพลง การใสเ่ สยี งประสานจึงเป็นลักษณะเดน่ ของเพลง ในยคุ น้ี บทเพลงมักจะมคี วามยาวมากขึ้น เน่อื งจากมกี ารขยายรูปแบบของโครงสร้างดนตรี มี การใสส่ สี นั ของเสียงจากเคร่ืองดนตรเี ปน็ ส่ือในการแสดงออกทางอารมณ์ ลักษณะการผสมวง พัฒนาไปมาก วงออร์เคสตร้ามีขนาดใหญ่มากขนึ้ กวา่ ในยุคคลาสสคิ บทเพลงมีลักษณะต่างๆกัน ออกไป เพลงซิมโฟนี โซนาตา และเชมเบอรม์ ิวสิก ยงั คงเป็นรปู แบบทน่ี ยิ มนอกเหนอื ไปจากเพลง ลักษณะอนื่ ๆ เชน่ Prelude, Etude,Fantasia เป็นต้น กล่าวก็คือดนตรีสมัยยุคโรแมนติกเป็น ดนตรีท่ีส่ือถึงความรู้สึกออกมาอย่าง ชัดเจน แนวทางดนตรีสนับสนุนการ สื่อสารทางด้านอารมณ์ของผู้ประพันธ์ และผู้บรรเลง 69
IMPRESSIONISM ยุคอมิ เพรสชนั่ นิสม์ 70
ในชว่ งระหว่าง ค.ศ.1890-1910 ซ่ึงรวมอยู่ในชว่ งเวลาหนึ่งของยุคโรแมนติก ดนตรีของยุคอิมเพรส ชัน่ นสิ ม์ได้รับการพัฒนาโดยโคลด้ เดอบุซซี ผ้ปู ระพันธ์เพลงชาวฝร่งั เศส ลักษณะดนตรีของยคุ อมิ เพรสชนั่ นสิ มเ์ ตม็ ไปดว้ ยจินตนาการ อารมณท์ เี่ พ้อฝนั ฝันเฟอ่ื ง อารมณท์ ลี่ อ่ งลอยอยา่ งสงบและ นม่ิ นวลละมนุ ละไม ต่างไปจากดนตรสี มัยโรแมนตกิ ทีก่ อ่ ให้เกดิ ความสะเทอื นอารมณ์ โคลด้ เดอบุซซี (Claude Debussy) เปน็ สมยั แห่งการใช้ความคิดสรา้ งสรรค์ ดัดแปลงดง้ั เดิมจากสมยั โรแมนตกิ ให้แปลกออกไปตาม จินตนาการของผู้แตง่ เปรียบเทยี บไดก้ ับการใช้สสี นั ในการเขียนรปู ใหฉ้ ูดฉาด ในดา้ นดนตรผี ู้ ประพนั ธ์มักสรรหาเคร่ืองดนตรีแปลก ๆ จากต่างประเทศ เช่น จากอนิ เดยี มาผสมให้มีรสชาตดิ ีข้ึน การประสานเสียงบางครัง้ แปร่ง ๆ ไมร่ ื่นหูเหมือนสมยั ก่อน ท�ำ นองเพลงอาจนำ�มาจากทางเอเชีย หรอื ประเทศใกล้เคียง แลว้ มาดัดแปลงให้เหมาะสมกบั ดรุ ิยางค์ ลกั ษณะส�ำ คัญของเพลงยคุ นีค้ ือ ใชบ้ ันไดเสียงแบบเสียงเตม็ ซึง่ ทำ�ให้บทเพลงมลี กั ษณะลึกลับ คลุมเครอื ไม่กระจ่างชดั เน่ืองมาจากการประสานเสียงโดยใช้ในบันไดเสยี งแบบเสียงเตม็ บางครง้ั จะมคี วามร้สู ึกโล่งๆว่างๆ เสยี งไม่หนกั แนน่ ดังเช่นเพลงในยุคโรแมนตกิ การประสานเสยี งไม่เปน็ ไปตามกฎเกณฑ์ ในยคุ ก่อนๆ สามารถพบการประสานเสียงแปลกๆ ไม่คาดคดิ ไดใ้ นบทเพลงประ เภทอมิ เพรสชน่ั นิซึม รูปแบบของเลงเป็นรูปแบบง่าย มกั เป็นบทเพลงสนั้ ๆ รวมเป็นชดุ 71
THE TWENTIETH CENTURY - PRESENT ยคุ ศตวรรษที่ 20 - ปจั จบุ ัน 72
เริม่ จากปี ค.ศ. 1900 จนถงึ ปัจจุบนั ดนตรใี นยคุ นมี้ ีความหลากหลายมาก เนอื่ งจากเป็นยุคทเี่ รมิ่ มีการเข้าถงึ กันไดง้ ่ายขน้ึ ดว้ ยเทคโนโลยี จงึ มกี ารขยายประเภทของบทเพลงอย่างหลากหลาย มากกว่าทุกยุค ไมม่ แี บบแผนทแ่ี นน่ อน มกี ารเกดิ ขน้ึ ใหมข่ องดนตรตี ลอดเวลา เครื่องดนตรเี ริ่มใช้ ไฟฟา้ ในการผลิตเสียงหรือเรียกว่าดนตรอี ิเล็กทรอนคิ มีการใชเ้ ทปอัด ออกอากาศ ค้าขายอลั บมั ให้ ผู้คนเปน็ ตัวเลอื กแทนการฟังดนตรีสด นับว่ายคุ น้ีเป็นสมยั ของการทดลองและบุกเบกิ มกี ารขยายตัวของเพลงในทกุ ประเภทไมว่ า่ จะเปน็ ไทย , เกาหลี , ญ่ีปนุ , อเมริกา , สเปน เปน็ ต้น ตา่ งก็มีการพฒั นาดนตรีในแบบฉบบั ของตวั เองต่างออก มีการเตน้ ประกอบเพลงมากยง่ิ ข้นึ ดนตรี ทกุ ประเภท ทุกยุคเข้ามามีบทบาท นยิ มการรอ้ื ฟ้ืนแนวเพลงในยุคเกา่ ๆมาปรับเปลี่ยนเป็นแนว เพลงของตัวเอง มีความอสิ ระในการสร้างเพลงอย่างไม่มีขีดจำ�กดั วงดนตรกี ลับมาเป็นวงเล็กแบบเชมเบอรม์ วิ สิก แบนด์ ไม่นิยมวงออร์เคสตรา มกั มกี ารใช้อิเลก โทรนกิ ส์ ทำ�ให้เกดิ เสียงดนตรีซึง่ มสี ีสนั ทแี่ ปลกออกไป เนน้ การใช้จงั หวะรูปแบบต่างๆ บางครงั้ ไม่มีท�ำ นองท่ีโดดเด่น ในขณะท่แี นวคิดแบบโรแมนติกมีการพฒั นาควบคไู่ ปเช่นกัน เรยี กวา่ นีโอโร แมนตกิ (Neo-Romantic) กลา่ วโดยสรุปคือ โครงสรา้ งของเพลงในศตวรรษท่ี 20 น้มี ีหลากหลาย มาก สามารถพบสง่ิ ตา่ งๆตัง้ แต่ยคุ ตา่ งๆมาทผ่ี ่านมา แตม่ แี นวคดิ ใหม่ทเ่ี พม่ิ เขา้ ไป 73
INFLUENTIAL PEOPLE ผู้มอี ทิ ธพิ ลทางดนตรี ผู้มอี ทิ ธพิ ลทางดนตรี INFLUENTIAL PEOPLE 74
CHARPTER 3 INFLUENTIAL PEOPLE ผูม้ ีอิทธพิ ลทางดนตรี ไมว่ า่ จะเปน็ ศลิ ปะแขนงไหน หรอื งานสาขาใก ต่างกม็ ีบุคคลที่ สามารถสรา้ งสิ่งท่ยี ่งิ ใหญ่ขน้ึ จนโลกต้องจดจำ� ในสาขาดนตรี กเ็ ชน่ เดียวกนั เนื่องจากเปน็ สิง่ ทแี่ พร่หลายไปทว่ั โลก บคุ คล สไคญั นกั ร้องทีด่ งั นกั ดนตรีที่ดกง่ คตี กวีท่ีปราดเปรอื่ งจงึ มี มากมาย จนเราไม่สามารถยกมาพดู ไดห้ มด เนอื่ งจากตงั้ แต่ อดีตถึงปัจจุบนั ใชเ้ วลานานกว่าหลายพนั ปที ่ีนักดนตรีเดนิ ทาง และพฒั นามาจนถงึ ยุคปจั จุบัน (บ้างก็วา่ ปัจจบุ นั ดนตรกี �ำ ลัง พัฒนาถอยหลัง แต่เช่อื เหลือเกนิ วา่ การฟังเพลงข้นึ อยกู่ ับความ สขุ ทไี่ ด้ฟังของแตล่ ะคน ไม่มเี พลงไหนท่ีไมเ่ พราะ หรอื มียคุ ไหนที่พัฒนาถอยหลัง) ดังนน้ั ในวันน้เี ราจะหยิบยกนกั ดนตรีท่ี สามารถพลกิ หนา้ ประวัติศาสตรข์ องโลกมา 75
ปเี ตอร์ อลิ ชิ ไชคอฟสกี (Peter ilyich tchaikovsky) ไชคอฟสกเี กดิ ในครอบครัวผมู้ อี ันจะกนิ เขาไดร้ ับการศึกษาจากวทิ ยาลยั ดนตรแี หง่ นครเซนตป์ ี เตอรส์ เบิร์ก จากนัน้ ถกู เรียกให้ไปเป็นครสู อนวิชาเรยี บเรียงเสยี งประสานใหแ้ ก่นอ้ งชายของรู บนิ สไตน์ท่ีกรุงมอสโก ท่ีมอสโกน่ีเองท่ีเขาได้ประพนั ธผ์ ลงานส�ำ คัญหลายชิ้น เปน็ ตน้ วา่ ซมิ โฟนี หมายเลขหน่งึ ชื่อ ความฝันในเหมันตฤดู เขาสมรสในปี พ.ศ. 2420 (ค.ศ. 1877) ด้วยความมุง่ มน่ั ทีจ่ ะรักษาความขัดแย้งภายในตนว่าเขาเป็นพวกรกั ร่วมเพศ แต่ความลม้ เหลวของชีวิตแต่งงาน ทเ่ี ปน็ ทโ่ี จษจนั วา่ อย่กู นั อยา่ งไรค้ วามรกั กับเจา้ สาวท่ีเป็นศิษยข์ องเขาเอง ท�ำ ให้เขาเกือบฆ่าตัว ตายส�ำ เร็จ อารมณข์ องเขามัน่ คงข้ึนในปี พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) เมื่อเขาไดอ้ อกเดนิ ทางไปทวั่ ทวีปยโุ รป ประเทศอิตาลีไดส้ รา้ งแรงบันดาลใจให้เขาประพันธ์ผลงานหลายชิ้น รวมทง้ั บทเพลง ชื่อ คราพรชิ ิโอ อติ าเลยี น (capriccio italien) เขาประสบความส�ำ เรจ็ หลายครัง้ และได้พบปะกับ คีตกวเี ล่อื งชือ่ ร่วมสมัย เปน็ ตน้ วา่ โยฮันเนส บราหม์ แอนโทนิน ดโวชาค ฯลฯ เขาเดนิ ทางไปถึง สหรัฐอเมริกาเพอ่ื เปดิ การแสดง ไชคอฟสกเี สยี ชีวติ ในปีพ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1893) ดว้ ยอหิวาตกโรค แตบ่ างกระแสกล่าววา่ เขาถกู บังคับใหด้ ่ืมยาพิษฆ่าตวั ตาย จากข้อหารกั รว่ มเพศ เพลงของเขาเปน็ สะพานเชือ่ มระหวา่ งดนตรีตะวนั ตกกบั ดนตรรี ัสเซยี ดว้ ยการนำ�เสนอแบบ รว่ มสมัย ซง่ึ รวมถงึ คีตกวโี มเดสต์ มสู ซอรก์ สก้ี และ กลมุ่ คตี กวีท้งั หา้ ซึ่งเขาไดส้ รา้ งมิตรภาพ กบั พวกเขาเหล่านน้ั ไว้ดว้ ย 76
โยฮันน์ เซบาสเตยี น บาค (johann sebastian bach) โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) เป็นคีตกวีและนกั ออร์แกนชาวเยอรมัน เกิดเม่อื วันท่ี 21 มนี าคม พ.ศ. 2228 (ค.ศ. 1685) ในครอบครัวนักดนตรี ที่เมืองไอเซนนาค บาค แตง่ เพลงไว้มากมายโดยด้ังเดมิ เปน็ เพลงส�ำ หรับใช้ในโบสถ์ เช่น “แพชชน่ั ” บาคถงึ แกก่ รรมเม่อื วนั ท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2293 ทเี่ มอื งไลพ์ซิก บาคเป็นนกั ประพนั ธด์ นตรีสมยั บาโรค เขาสรา้ งดนตรขี องเขาจนกลายเป็นเอกลกั ษณข์ องยคุ สมัย บาคมอี ิทธิพลอย่างสงู และยืนยาวตอ่ การพฒั นาดนตรตี ะวนั ตก แมแ้ ต่นกั ประพนั ธเ์ พลงผู้ย่งิ ใหญ่ เชน่ โมซาร์ท และ เบโธเฟน ยังยอมรบั บาคในฐานะปรมาจารย์ งานของบาคโดดเด่นในทกุ แง่ทกุ มมุ ด้วยความพิถีพิถนั ของบทเพลงท่ีเต็มไปด้วย ท่วงท�ำ นอง เสยี ง ประสานหรอื เทคนิคการสอดประสานกนั ของทว่ งทำ�นองตา่ ง ๆ รูปแบบท่ีสมบูรณ์แบบ เทคนคิ ท่ี ฝกึ ฝนมาเป็นอยา่ งดี การศึกษาคน้ ควา้ แรงบนั ดาลใจอนั เต็มเปยี่ ม รวมทง้ั ปรมิ าณของบทเพลงที่ แต่ง ท�ำ ให้งานของบาคหลดุ จากวงจรท่วั ไปของงานสรา้ งสรรคท์ ่ีปกตแิ ล้วจะเร่มิ ตน้ เจริญเติบโต ถึงขีดสดุ แล้วเส่อื มสลาย นน่ั คือไม่ว่าจะเป็นเพลงทบ่ี าคได้ประพนั ธไ์ ว้ต้งั แตว่ ยั เยาว์ หรอื เพลงที่ ประพันธ์ในชว่ งหลงั ของชีวิตน้นั จะมีคณุ ภาพทดั เทียมกนั ผลงานของเขทโี่ ดง่ ดงั เช่นเพลง อาเว มารอิ า , ทอคคาตา แอนด์ ฟิวก์ เและอกี มากมายนบั 50 กวา่ บทเพลง 77
โวลฟ์ กัง อะมาเดอุส โมซารท์ (Wolfgang Amadeus Mozart) เปน็ นักประพนั ธด์ นตรีคลาสสกิ ชาวออสเตรยี ทมี่ ีชื่อเสยี งก้องโลก ในยุคคลาสสกิ โมซาร์ทเกดิ ที่ เมอื งซาลซบ์ ูรก์ เขามงี านประพันธเ์ พลง 700 ช้นิ รวมทั้งอปุ รากรท่ีมีชื่อเสียงสามเรอื่ งคอื The Marriage of Figaro, The Magic Flute และ Don Giovanni. และบทเพลงสุดทา้ ยของเขาคอื Requiem mass ปัจจุบนั ผลงานตา่ ง ๆ ของเขาไดร้ ับการน�ำ มาจดั จ�ำ หน่ายเป็นส่อื ต่าง ๆ มากมาย โวล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ท เปน็ บคุ คลทมี่ อี ฉั รยิ ะภาพด้านดนตรมี าต้งั แตเ่ ด็ก เขาสามารถเขียน เพลงโซนาตาสำ�หรับเปียโนให้ตัวเขาเองเล่นในขณะท่ีมีอายุได้เพียง4ขวบเท่านั้นและได้แต่งเพลง ประกอบอปุ รากรครั้งแรกเมอ่ื มีอายไุ ด้ 12 ขวบ โมสารท์ เปน็ นกั ประพนั ธท์ ี่สามารถแต่งเพลงได้ทกุ สถานที่ ทกุ โอกาส และเขยี นด้วยความรวดเรว็ จงึ ท�ำ ให้ผลงานของเขามีเป็นจำ�นวนมากถงึ แม้เขา จะมีอายุทน่ี ้อยเพยี ง 35 ปกี ็ตาม ดว้ ยความเกง่ ของโมสารท์ ทมี่ มี าต้งั แตเ่ ด็ก จงึ ท�ำ ใหเ้ ขาตอ้ งเดิน ทางไปแสดงดนตรีท่ัวภาคพืน้ ยโุ รป และนีเองก็เปน็ สาเหตุทที่ ำ�ใหโ้ มสารท์ สามารถพูดได้มากถงึ 15 ภาษา Requiem mass คือเพลงสุดท้ายท่ีโมสาร์ทไดเ้ ขยี น โดยมีชายแปลกหนา้ แต่งกายดว้ ยชดุ สีเทา เขา้ มาพบเขาเพือ่ ว่าจา้ งใหเ้ ขยี นเพลงน้ี ซ่งึ เป็นเพลงใช้สำ�หรบั การขับรอ้ งในพิธฝี ังศพ ในขณะนั้น โมสาร์ทอยใู่ นอาการเจ็บปว่ ยอยู่ ท�ำ ใหเ้ ขาคิดว่าเพลงนค้ี งเปน็ เพลงท่เี ขาจะต้องแต่งข้ึนเพ่ือใช้รอ้ ง ในพิธฝี งั ศพของตนเอง ในทส่ี ุดโมสารท์ ก็ได้เสยี ชีวิตลงก่อนทจ่ี ะเขยี นเพลงน้ไี ดส้ �ำ เรจ็ 78
การสรา้ งสรรคผ์ ลงานของโมสารท์ เป็นไปตามความรูส้ ึกนึกคดิ ของตนเอง โมสารท์ ไมเ่ คยเขยี น เพลงตามกระแสของสังคม ผลงานของเขาทุกเพลงมีชวี ติ ชวี า ดว้ ยความสามารถในการเรียบ เรียงเสียงประสานของโมสาร์ทจึงทำ�ให้เพลงของเขามีทำ�นองมากมายต่อเนื่องกันอย่างสละสลวย มสี สี นั เกดิ ขึน้ ท�ำ ใหฟ้ งั แล้วไมน่ า่ เบอื่ มีความแปลกใหม่เกดิ ข้ึนอยูเ่ สมอ รูปแบบการประพันธก์ ไ็ ม่ ใชก้ ฎเกณฑท์ ี่ตายตัว สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม โมสารท์ ไดส้ ร้างผลงานช้นิ ยอด เย่ียมไว้เกอื บทุกประเภทของบทเพลง เช่น เพลงขบั ร้อง คอนแชรโ์ ต ดนตรแี ชมเบอร์ เพลงซิมโฟนี โซนาตา และอุปรากร ตลอดช่วั ชวี ติ ของโมสารท์ จะเป็นผ้ทู ไ่ี ด้รับการยกย่องในเรื่องความสามารถด้านดนตรมี าโดย ตลอด แต่ในเร่อื งฐานะทางารเงินนัน้ เปน็ ไปในทางตรงกนั ขา้ ม โมสารท์ มีฐานะยากจนและเปน็ หนีส้ ินมากมาย พธิ ีฝงั ศพเป็นไปอย่างอนาถาในสุสานของคนจนในขณะท�ำ พธิ ีฝงั ศพมพี ายฝุ นเกิด ขนึ้ ท�ำ ให้พธิ ีฝังศพท�ำ ไปอยา่ งรีบเร่ง ไมม่ ีแมก้ ระทง่ั ไม้กางเขนปกั ทีบ่ ริเวณหลมุ ศพ ปัจจบุ นั ก็ยังไมม่ ี ผใู้ ดรวู้ า่ หลมุ ฝังศพของโมสารท์ อยู่ ณ ต�ำ แหน่งใดในสุสานนน้ั ชือ่ ผลงานท่โี ดง่ ดังของ โวลฟ์ กัง อะมาเดอสุ โมซารท์ - Twinkle Twinkle Little Star - Magic Flute overture - Piano concerto n. No. 21 in C major, K.467 Pollini-Muti - Mozart’s SONATA for TWO PIANOS - Piano Sonata No:11 - Symphony No. 35 in D major, K. 385 - I. Introitus: Requiem aeternam 79
ลูทวชิ ฟนั เบทโฮเฟิน (Ludwig van Beethoven) เบโทเฟนเป็นตัวอย่างของศลิ ปนิ ยุคโรแมนติกผโู้ ดดเดยี่ ว และไมเ่ ปน็ ทเ่ี ขา้ ใจของบคุ คลในยุค เดียวกนั กบั เขา ในวนั นี้ เขาไดก้ ลายเปน็ คีตกวีท่มี คี นชืน่ ชมยกย่องและฟงั เพลงของเขากนั อย่าง กว้างขวางมากท่สี ุดคนหนงึ่ บโี ธเฟนประสบความส�ำ เร็จในดา้ นการงานไดไ้ มน่ าน ก็เร่มิ มีอาการ อาการหหู นวก เป็นเคราะหก์ รรมทีน่ ่าเศรา้ ย่งิ สำ�หรับนักดนตรีทกี่ �ำ ลงั ฉายแววความยง่ิ ใหญ่ หลงั จากทบ่ี ีโธเฟนตระหนักว่า อาการหหู นวกของเขาไม่สามารถจะรกั ษาได้และมอี าการรนุ แรงจนถึง หนวกสนทิ เขาไดเ้ ขียนจดหมายกึ่งลาตายก่งึ พินยั กรรมถึงน้องชายทั้งสองของเขา แตอ่ ีก 4 วนั ต่อ มากเ็ ขียนอกี ฉบบั มใี จความลม้ เลิกความคดิ ตลอดชวี ิตของเขามีอุปสรรคนานัปการทตี่ อ้ งฝ่าฟัน ท�ำ ใหเ้ กิดความเครียดสะสมในใจเขา ในรปู ภาพต่างๆ ท่ีเปน็ รูปเบโธเฟน สีหน้าของเขาหลายภาพ แสดงออกถึงความเครียด แตด่ ว้ ยจติ ใจท่ีแข็งแกร่งของเขา กส็ ามารถเอาชนะอปุ สรรคตา่ งๆในชวี ติ ของเขาได้ ต�ำ นานท่คี งอยู่นิรนั ดรเ์ นอื่ งจากไดร้ ับการยกย่องจากคีตกวโี รแมนติกท้งั หลาย เบโทเฟน ได้กลายเปน็ แบบอย่างของพวกเขาเหลา่ นัน้ ด้วยความเปน็ อัจฉริยะทไี่ มม่ ใี ครเทยี มทาน ซมิ โฟนี ของเขา (โดยเฉพาะอย่างย่ิงซิมโฟนีหมายเลข 5 ซมิ โฟนีหมายเลข 6 ซมิ โฟนีหมายเลข 7 และ ซิมโฟนีหมายเลข 9) และคอนแชร์โตส�ำ หรบั เปียโนท่ีเขาประพนั ธ์ข้นึ (โดยเฉพาะอย่างยง่ิ คอนแชร์ โตหมายเลข 4 และ 5) เป็นผลงานทีไ่ ดร้ บั ความนิยมมากท่ีสดุ แต่ก็มิไดร้ วมเอาความเป็นอัจฉริยะ ทั้งหมดของคีตกวไี วใ้ นนั้น 80
เดอะ บเี ทลิ ส์ (The Beatles) เดก็ หน่มุ 4 คน จากเมือง Liverpool John Lennon, Paul McCartney, George Harrison, Ringo Starr จุดเรมิ่ ต้นของ The Beatles มาจาก จอหน์ เลนนอน ในวัย 16 ปี ไดม้ ีการกอ่ ตง้ั กลุ่ม วงดนตรแี นวแนวสกิฟเฟลิ ช่อื ว่า The Quarrymen ซง่ึ ตอนนนั้ เขามีอายแุ ค่ 16 ปี โดยเป็นการ รวมตวั กบั กลมุ่ เพอ่ื นๆ ในเมอื งลเิ วอร์พลู เม่ือปี 1957 มีพอล แมคคาร์ดนยี ์ ในวยั 15 ปี เขา้ รว่ มใน ตำ�แหนง่ กตี าร์ ซ่ึงได้ชวน จอรจ์ แฮรร์ ิสัน ทอี่ ายแุ ค่ 14 ปี มาชมการแสดงกระท่ังจอรจ์ ไดเ้ ข้ารว่ ม วงในตำ�แหน่งกตี ารเ์ ม่ือปี 1960 ต่อมาเพ่อื นๆ คนอน่ื ไดเ้ รม่ิ ทยอยออกจากวงขณะท่ีเลนนอนเองก็ ตอ้ งเรยี นในระดบั สูงขึน้ แต่พวกเขาทั้ง 3 ก็ยัคงเลน่ ดนตรแี นวร็อกแอนด์โรลอย่แู ละหวงั วา่ จะไดพ้ บ กับมือกลองดีๆ สกั คน กระทั่ง สจ๊วต ซดั คลิฟ ทเี่ ลน่ เบสไดเ้ สนอใหเ้ ปลย่ี นชอ่ื วงเปน็ The Beetles กอ่ นจะเปลี่ยนเปน็ The Beatles ในเวลาไม่นาน จนในที่สุดพวกเขากไ็ ดพ้ บกับ รงิ โก้ สตาร์ มอื กลองของวงและรวมตัวกนั เป็น The Beatles ชนิดสมบูรณ์แบบ The Beatles จัดว่าเปน็ วงดนตรี แหง่ ยคุ ท่ไี ดร้ ับการยกย่องอย่างสงู เปน็ วงดนตรที มี่ ีอิทธพิ ลและประสบความสำ�เรจ็ สดุ ๆ ความสุด ยอดของพวกเขาอย่างหนึ่งกค็ ือการผสมผสานแนวดนตรีต่างๆ เข้าไปดว้ ย เช่น ไซเคเคลิก บางครง้ั ก็มีการน�ำ เอาเพลงแนวดนตรีคลาสสกิ เข้ามามสี ว่ นร่วมด้วย จากกระแสที่โด่งดังมากๆ ของ The Beatles ท�ำ ให้เกดิ เปน็ Beatlemania ในชว่ งยุค 60-70 กันเลยทีเดยี ว 81
พวกเขาเรมิ่ ตน้ สร้างชอื่ จากการเล่นดนตรีในคลับที่ลิเวอร์พูลกบั ฮมั บรู ก์ ในระยะเวลาไม่นาน กระแสเพลงของเขาได้โด่งดงั ขา้ มทวปี ไปจนถงึ สหรฐั ฯ มีเพลงดงั มากมายถอื ว่าชว่ งเวลาดงั กล่าว เป็นยุคแห่งความสำ�เรจ็ ของ The Beatles อยา่ งแท้จริง โดยมเี พลงฮิตที่ประสบความส�ำ เรจ็ คร้ัง แรกอยา่ ง Love Me Do ในชว่ งปลายปี 1962 พวกเขาไดฉ้ ายา “เดอะแฟปโฟร์” (the Fab Four) ในขณะทีก่ ระแสบีเทลิ มาเนยี กเ็ รม่ิ เกดิ ขน้ึ มาและในชว่ งกอ่ นปี 1964 ช่ือเสยี งของพวกเขา กก็ ระจายไปไกลจนถึงตลาดเพลงปอ๊ ปของสหรัฐอเมรกิ า ในปี 1965 เดอะบเี ทิลสไ์ ด้สรา้ งงาน ดนตรที ีไ่ ด้รับการยกยอ่ งวา่ เปน็ งานชนิ้ เอกของนวตั กรรมดนตรีและอทิ ธิพลทางดนตรสี มัยใหม่ เชน่ Rubber Soul (1965), Revolver (1966), Sgt. Pepper’s Lonely Hearts Club Band (1967), The Beatles (หรือทร่ี กู้ นั ในชือ่ White Album, ปี 1968) และ Abbey Road (1969) ภายหลังบเี ทลิ สไ์ ดแ้ ตกลงในปี 1970 สมาชกิ ทย่ี ังคงมชี วี ติ และใช้ชวี ิตท่ีเหลือกบั งานเด่ียวทาง ดนตรอี ยา่ งตอ่ เนอื่ งคือ พอล แมก็ คารต์ นีย์และริงโก สตาร์ สว่ นเลนนอนไดถ้ ูกยิงในเดือนธันวาคม 1980 และแฮร์ริสนั ซง่ึ เสยี ชีวติ จากมะเรง็ ปอดในเดอื นพฤศจกิ ายน ปี 2001 ทุกวนั น้ีชื่อเสียงของ The Beatles ยงั คงได้รบั การขนานนามว่าเปน็ 1 ในวงดนตรีทด่ี ีท่สี ดุ ในโลก อา้ งจากสมาคมอุตสาหกรรมบันทึกเสียงแห่งสหรัฐอเมรกิ า (RIAA) เดอะบีเทลิ สไ์ ดร้ บั การยืนยัน วา่ เป็นศิลปินที่มยี อดจ�ำ หน่ายสูงท่สี ดุ ในสหรัฐอเมริกา ด้วยยอดจำ�หน่ายราว 178 ลา้ นก็อปปี้ บี เทิลส์ยังมซี งิ เกลิ ฮติ อันดับ 1 บนบิลบอร์ดชาร์ทอังกฤษและท�ำ ยอดจ�ำ หนา่ ยซงิ เกลิ ทส่ี ูงสุดตลอด กาล ในปี 2008 เดอะบเี ทลิ ส์ไดร้ บั การจดั อนั ดบั จากนิตยสารบิลบอรด์ ให้เปน็ วงทีป่ ระสบความ สำ�เรจ็ สงู สดุ ตลอดกาล ต่อเน่อื งกนั ในปี 2015 บเี ทลิ ส์ได้รับการบันทกึ สถติ ซิ ิงเกิลฮติ อนั ดับ 1 บนบลิ บอรด์ ฮอต 100 กว่า 20 ซงิ เกลิ พวกเขาไดร้ ับรางวลั แกรมมีถึง 10 รางวัล รางวัลออสกา รส์ าขา Best Original Song Score รางวัลอวิ อรโ์ นเวลโลกว่า 15 รางวลั นติ ยสารไทม์ ยังได้ ท�ำ การใส่ช่ือพวกเขาในหัวข้อ “100 บคุ คลที่มีอิทธพิ ลแหง่ ศตวรรษที่ 20” ปัจจุบันเดอะบเี ทิลส์ ถอื เปน็ “วงทมี่ ียอดจำ�หนา่ ยสูงที่สดุ ในประวัตศิ าสตร์” ด้วยยอดจ�ำ หนา่ ยกว่า 600 ลา้ นก็อปป้ีท่วั โลก[2][3] พวกเขายงั ไดถ้ ูกบรรจุเข้าสหู่ อเกียรติยศร็อกแอนด์โรล ในปี 1988 รว่ มกับสมาชกิ ทัง้ 4 คน ซง่ึ ไดร้ ับต่างหาก จากชว่ งปี 1994 ถงึ 2015 82
ไมเคิล โจเซฟ แจ็กสนั (Michael Joseph Jackson) เส้นทางสนู่ กั ร้องของไมเคลิ แจ็คสัน เร่มิ ต้นตงั้ แตเ่ ขามอี ายุได้เพียง 7 ปี เมอ่ื ได้เปน็ นกั รอ้ งนำ�ของ วง “เดอะ แจค็ สนั ไฟว์” (The Jackson 5) และเมอ่ื เขาอายุ 11 ปี ไดอ้ อกอัลบั้ม “Got to Be There” เป็นอลั บม้ั เดีย่ วชิน้ แรกของเขา ซ่งึ ก็สร้างความตืน่ ตะลึงให้วงการเพลง เมือ่ เพลงของ เขาสามารถทะยานขนึ้ อันดบั 1 ของชารต์ ไดส้ �ำ เรจ็ ถงึ 3 เพลง และในปี พ.ศ.2522 ได้มีผลงาน ชุด “Off the Wall” ซ่ึงท�ำ ยอดขายได้กวา่ 20 ลา้ นกอ็ ปปท้ี ั่วโลก ก่อนจะมีผลงานชุด “Thrill- er” ในปี พ.ศ.2525 ซ่ึงสามารถจ�ำ หนา่ ยไดถ้ งึ 60 ล้านชดุ ท�ำ สถติ ิเปน็ อลั บ้มั ที่มียอดขายสงู ท่สี ดุ ใน ประวัตกิ ารณ์ จนกระท่งั ปี พ.ศ.2530 ไมเคลิ ไดอ้ อกอัลบม้ั “Bad” และสร้างสถิติเปน็ อลั บมั้ ที่มีซิง เกล้ิ ต่างๆ ขึ้นชาร์ตอนั ดบั 1 ในบลิ บอร์ดมากทส่ี ุด ในปี พ.ศ.2534 ไมเคลิ ไดอ้ อกอัลบ้มั “Danger- ous” ทมี่ เี พลง “Black or White” โดง่ ดังจนติดอันดบั 1 ท้ังในบิลบอร์ดและชารต์ เพลงทั่วโลก ก่อนทจี่ ะออกอัลบมั้ “History” และส่งให้เพลง “You’re Not Alone” กลายเปน็ ซงิ เกล้ิ แรกใน ประวตั ิศาสตรท์ ต่ี ิดอันดบั 1 ตง้ั แตส่ ปั ดาหแ์ รกท่วี างจำ�หนา่ ย ความโดง่ ดังของ ไมเคลิ แจ็คสัน รวม ทั้งทา่ เตน้ “มูน วอลค์ ” และ “ลบู เปา้ ” อันเปน็ เอกลักษณส์ รา้ งชื่อของเขา ท�ำ ให้ไมเคิล ได้เดินทาง ไปเปดิ คอนเสิร์ตทั่วโลก 83
ทัง้ นี้ เรอื่ งชวี ิตส่วนตวั ของไมเคิล นนั้ เขาถกู มองว่า ชอบทำ�ตวั เด่นดังและให้เป็นข่าวอยเู่ สมอ และ ใชช้ ีวิตอยา่ งโอเวอรเ์ กินคนธรรมดา เชน่ การซอ้ื คฤหาสน์สว่ นตวั ในช่ือ “Never Land” อกี ทั้งยงั ชอบทำ�ตวั แปลกๆ เชน่ การแต่งตัวแปลกๆ ปรากฎในทสี่ าธารณะ รวมทั้งเคยแตง่ ตัวเป็นผ้หู ญิง ในหอ้ งน�ำ้ หญงิ สาธารณะ หรอื การท่เี ปลย่ี นสีผิวตัวเองจากผิวดำ� ให้กลายเป็นผิวขาวซีด และการ ผา่ ตัดศัลยกรรมใบหน้าดว้ ยซิลิโคนหลายตอ่ หลายคร้ัง ส�ำ หรับชวี ิตครอบครวั ของ ไมเคลิ แจ็คสัน น้นั ไมเคลิ ได้แตง่ งานกบั “ลซิ า่ มี เพรสลยี ”์ ลกู สาวของราชาเพลงร็อคอยา่ ง “เอลวิส เพรสลีย”์ อย่างกะทันหัน กอ่ นทีท่ ัง้ คจู่ ะเลกิ รากนั ไป เม่ือปี พ.ศ.2539 โดยไมม่ บี ตุ รดว้ ยกนั หลงั จากน้ัน ข่าวคราวของไมเคิล ไดเ้ งียบหายไปพกั หนงึ่ ก่อนไมเคิลจะออกมาประกาศวา่ จะกลับ คนื ส่เู วทคี อนเสริ ์ตอกี คร้งั ซ่งึ ถือเปน็ ครงั้ แรก ในรอบ 12 ปี ทีก่ รงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในวนั ที่ 13 กรกฎาคม 2552 ซ่ึงบตั รชมการแสดงน้ันถกู จ�ำ หน่ายหมดภายในเวลาไมก่ ่ชี ว่ั โมง และไมเคิล ยงั มโี ปรแกรมจะทัวรค์ อนเสิร์ตไปตอ่ เน่อื งจนถึงเดอื นมีนาคม ปี 2010 อีกดว้ ย ซ่งึ คอนเสริ ต์ ครั้งนี้ ต้องเพมิ่ รอบแสดงเป็น 50 รอบเลยทีเดยี ว แตก่ ่อนที่ ไมเคลิ แจค็ สนั จะได้กลับข้ึนแสดงคอนเสริ ์ตอกี ครั้ง แฟนเพลงทัว่ โลกกลบั ตอ้ งได้รับ ขา่ วรา้ ย เมอื่ ไมเคลิ แจค็ สัน ถกู นำ�ตวั ส่งโรงพยาบาลยซู ีแอลเอ ในนครลอสแองเจลสิ ประเทศ สหรัฐฯ หลงั หวั ใจหยุดเต้นกระทันหัน กอ่ นท่ีแพทย์ในโรงพยาบาลลอสแองเจลสิ จะแถลง ยืนยนั ว่า ไมเคิล แจค็ สนั ไดเ้ สยี ชวี ติ ลงเมื่อเวลา 14.26 น. ตามเวลาในทอ้ งถ่นิ ของวันศุกรท์ ี่ 26 มิถนุ ายน ด้วยอาการหวั ใจวายเฉียบพลัน ในวยั 50 ปี 84
เอลวิส แอรอน เพรสลยี ์ (Elvis Aaron Presley) เอลวิสได้รับอิทธิพลการร้องเพลงมาจากการร่วมกิจกรรมในโบสถ์และบรรดานักร้องเพลงบลูส์ชาว นโิ กร ท่ีอาศัยอยใู่ นบรเิ วณใกล้เคียง เขาเรม่ิ เข้าประกวดการรอ้ งเพลงเมอ่ื อายุเพยี ง 10 ขวบ ในงาน Mississippi – Fair เมื่อเอลวิสมีอายไุ ดเ้ พยี ง 13 ปี ครอบครัวของเขากย็ ้ายไปอยู่ทางตอนเหนือ ของเมอื งเมมฟิส รฐั เทนเนสซีในปี พ.ศ. 2496 เอลวิสท�ำ งานใน Parker Machinists Shop เขา เขา้ ไปใน Memphis Recording Service ชว่ งพักกลางวันเพอื่ อัดเสยี ง เป็นของขวัญยอ้ นหลงั ให้ แมข่ องเขา เพลง “My Happiness” และ “That’s When Your Heartaches Begin” ขณะนั้น แซม ฟิลลิปส์ เจา้ ของรา้ นและเจา้ ของบริษทั แผน่ เสียง “SUN” ก�ำ ลังหาหน่มุ ผวิ ขาวรอ้ งเพลงอาร์ แอนด์บี และนน่ั คือจุดเรม่ิ ต้นของเอลวสิ เอลวิสเขา้ สงั กัด Sun Records และฟอร์มวง “Million Dollar Quartet” วงดนตรีสคี่ น พอถงึ ปี 2498 เอลวสิ ก็ได้อัดเพลง 5 เพลง ให้กบั Sun Records และเร่ิมดังในแถบทางใต้ เขาตอ้ งการ ผจู้ ดั การคนใหม่ ผ้พู นั ทอม ปารค์ เกอร์ คนท่รี ้จู ักการ ตลาดเปน็ อย่างดี ปาร์คเกอรก์ ไ็ ดอ้ อกโฆษณา หวังให้วงดังกระฉอ่ นไปท่วั อเมริกา เขาเซน็ สญั ญากับบริษัท RCA ในปี พ.ศ. 2498 มีเพลงและ กลายเปน็ แผ่นเสียงแผน่ แรกของเอสวสิ ท่มี ยี อดขายเกนิ กวา่ 1 ลา้ นแผ่น เมอื่ เขากา้ วสู่วงการ ภาพยนตรใ์ นปี พ.ศ. 2499 แสดงภาพยนตรเ์ ร่อื งแรกคอื Love Me Tender ก็ทำ�ให้คนทว่ั โลกรจู้ กั เอลวิสมากยงิ่ ขนึ้ ชว่ งเวลานีเ้ องที่เอลวิสโดง่ ดงั สุดขีดจนยากทจ่ี ะหาใครเปรียบเทียบได้ 85
ในขณะท่ีมชี ื่อเสยี งโดง่ ดงั สุดขดี เอลวิสก็ไดอ้ ำ�ลาวงการเพอ่ื ไปเปน็ ทหารเกณฑใ์ นปี พ.ศ. 2501 โดยเข้ารับราชการเปน็ พลขับของกองทพั บก ประจำ�การในหน่วยยานเกราะทป่ี ระเทศเยอรมนี ระยะเวลา 2 ปี ของการเขา้ รบั ราชการหลงั จากปลดประจำ�การ เอลวิสกก็ ลับเขา้ สู่วงการอีกครั้ง และได้รับการต้อนรับอยา่ งอบอุ่น อัลบั้มเพลงในภาพยนตร์เร่อื ง GI Blues กก็ า้ วขึ้นสอู่ ันดับหนึง่ ของบลิ บอร์ด และครองอันดบั หนึ่งเป็นเวลานานถงึ 10 สัปดาหต์ ดิ ตอ่ กนั และชว่ งน้เี อง เป็นชว่ ง ที่เอลวิสประสบความสำ�เร็จอย่างสูงสดุ ทงั้ ภาพยนตร์ ท้ังเพลงท่ีออกมาอยา่ งต่อเน่ือง ตา่ งได้รบั ความนยิ มจากแฟนๆเปน็ อย่างดี ในปี พ.ศ. 2510 เอลวิสได้ออกอัลบ้มั เพลงกอสเปล ชดุ ทสี่ องซง่ึ มีชอ่ื วา่ How Great Thou Art และอัลบม้ั นเี้ องที่ท�ำ ใหเ้ ขาไดร้ ับรางวัลแกรมม่ีเป็นครัง้ แรก ในปี พ.ศ. 2512 เอลวสิ ได้รับการจองตวั ใหไ้ ปเปิดการแสดงท่โี รงแรม International ทเี่ มอื งลา สเวกสั ซ่งึ เปน็ โรงแรมทีเ่ พง่ิ สร้างเสร็จ และมีหอ้ งประชมุ ท่ีใหญท่ ีส่ ดุ ในเมอื ง โดยเขาไดเ้ ปดิ การ แสดงถงึ 57 รอบ ภายในระยะเวลาเพยี ง 4 สปั ดาห์ และการแสดงในครง้ั น้กี ม็ ีผู้เขา้ ชมมากเป็น ประวัติการณ์ หลงั จากน้นั เขาก็ได้เปิดการแสดงในทต่ี า่ งๆ ซึ่งประสบความส�ำ เร็จอยา่ งมากทกุ ครัง้ เอลวสิ มจี ำ�นวนเพลงทข่ี ึ้นอนั ดบั 1 เป็นท่สี องรองจากวง เดอะ บที เทลิ่ ส์ ตามข้อมูลของ Record- ing Industry Association of America จำ�นวนยอดขายอลั บ้ัมของเขา (117.5 ลา้ น) เป็นศลิ ปนิ ทีไ่ ด้รับรางวัลแผ่นเสียงทองค�ำ ขาว มากท่สี ดุ (25 อลั บ้ัม 27 ซิงเกลิ ) และเอลวิสมอี ัลบ้มั ท่ไี ด้รับ รางวัลแผ่นเสยี งทองคำ�มากทสี่ ดุ (97 อัลบมั้ ) ในช่วงปี พ.ศ. 2516 เอลวิสประสบปญั หาเร่ืองสุขภาพ เคยถกู น�ำ ส่งโรงพยาบาลด้วยโรคปอดบวม โรคเยอื้ ห้มุ ปอดอกั เสบ โรคล�ำ ไส้ใหญอ่ กั เสบ นอกจากต้องต่อส้กู ับโรคที่สะสมมาเปน็ ระยะเวลา นานแลว้ เขายงั ตอ่ สู้กบั น้ำ�หนกั ตัวท่ีเพ่ิมขน้ึ อย่างรวดเร็ว กระน้ันเขาก็ยังตระเวนเปิดการแสดง ตามคำ�เรยี กร้องของแฟนเพลงตามเมอื งต่างๆอยู่เสมอ และในวันท่ี 16 สงิ หาคม พ.ศ. 2520 หลงั จากที่เอลวิสไปหาทันตแพทย์ในตอนเชา้ หลงั เที่ยงคนื ที่คฤหาสน์เกรสแลนด์ แฟนสาวของเอลวิสกพ็ บว่า เขาลม้ ในห้องน้�ำ และเสยี ชีวติ อยา่ งกะทันหนั ด้วยวยั เพียง 42 ปี และขา่ วการตายของเอลวิสก็ชอ็ กแฟนเพลงท่ัวโลก 86
ควนี (Queen) เป็นวงร็อกจากประเทศองั กฤษ กอ่ ตงั้ ข้นึ ณ กรุงลอนดอน เมือ่ ปี ค.ศ. 1970 มีสมาชิกด้ังเดิม ประกอบด้วย เฟรดดี้ เมอรค์ ูรี (ร้องน�ำ , เปียโน) ไบรอนั เมย์ (กีตาร์ , รอ้ งน�ำ ) จอห์น ดีคอน (กตี าร์เบส) และโรเจอร์ เทยเ์ ลอร์ (กลอง , ร้องน�ำ ) วงควีนผลงานแรกพวกเขาไดร้ ับอทิ ธพิ ลมา จากแนวเพลง รอ็ ก แอนด์ โรล และฮาร์ดร็อก เปดิ ตวั อัลบม้ั แรกของพวกเขาในปี ค.ศ. 1973 ควนี ประสบความส�ำ เร็จในสหราชอาณาจักรสำ�หรับอลั บั้มเปดิ ตวั ของพวกเขา ตามมาด้วยอัลบั้มชุดท่ี สอง Queen II ในปี ค.ศ. 1974 และอัลบ้ัมชุดท่ี 3 Sheer Heart Attack ในปี ค.ศ. 1974 และ อลั บ้ัมชดุ ท่ี 4 A Night at the Opera ในปี ค.ศ. 1975 สง่ ผลให้พวกเขาประสบความส�ำ เร็จสรู่ ะดบั นานาชาติ ซิงเกล้ิ “Bohemian Rhapsody” ข้ึนติดอันดบั หนงึ่ ในชาร์จของสหราชอาณาจกั ร เปน็ เวลาเกา้ สัปดาห์ และตดิ ชาร์จอนั ดับหนงึ่ ในหลายประเทศ และวงควนี ยงั ตดิ ท็อปสิบอนั ดับใน บลิ บอร์ด ฮอต 100 ผลงานอัลบ้มั ชดุ ท่ี 6 News of The World ในปี ค.ศ. 1977 อัลบ้ัมชดุ น้ียงั ประกอบดว้ ยเพลงท่ถี กู กลา่ วขานวา่ เป็นเพลงชาติของชาวร็อคอยา่ ง “We Will Rock You” และ “We Are the Champions” 87
เฟรดด้ี เมอคิวรนี ักร้องนำ�และนักเปยี โนถูกยกย่องให้เปน็ หนึง่ ใน 100 ผทู้ ีม่ ีอทิ ธิพลท่สี ุดของ ศตวรรษที่ 20 ในฐานะสมาชิกวงควนี และนักแต่งเพลงฮอลออฟเฟมในปี ค.ศ. 2003 เดอะ ยเู ค มิวสคิ ฮอล ออฟ เฟม ในปคี .ศ. 2004 และวงควนี ไดร้ ับดาวใน Hollywood Walk of Fame ใน ปีค.ศ. 2002 และในปีค.ศ. 2002 เฟรดดตี ิดอันดับ 58 ของ BBC โพลสำ�หรบั 100 บุคคลในองั กฤษ ทดี่ ีและยอดเยี่ยมตลอดกาล AllMusic ได้กล่าวถงึ ลักษณะของเฟรดดีวา่ “เป็นหนง่ึ ในนักรอ้ งรอ็ ค ทีย่ อดเยี่ยมและใหค้ วามสนกุ แกค่ นดไู ด้ดมี าก” และ “หนงึ่ ในนักรอ้ งยอดเย่ยี มในประวัติศาสตร์ เพลง” ในชว่ งประมาณทศวรรษ 1980 ควนี ได้รับการยกยอ่ งใหเ้ ปน็ หนง่ึ ในวงดนตรีทแ่ี สดงสดไดอ้ ยา่ ง ยอดเยีย่ มและยงิ่ ใหญ่ พร้อมโดยซิงเก้ลิ ของพวกเขา “Another One Bites the Dust” ซึ่งเป็น ซิงเกิล้ ที่มยี อดขายดอี ยา่ งมาก และการแสดงในคอนเสริ ์ตไลฟเ์ อด ในปี 1985 ยงั ถกู ยกย่องวา่ เป็นหนง่ึ ในสดุ ยอดของประวตั ศิ าสตร์วงการเพลงรอ็ ก ในปี ค.ศ. 1991 เมอรค์ ูรีเสยี ชีวิตจากภาวะ หลอดลมใหญแ่ ละปอดอกั เสบจากภาวะแทรกซอ้ นจากเอดส์ และดีคอนเกษยี ณตวั เองในปี ค.ศ. 1997 ตั้งแตน่ ้นั มา เมย์ และ เทย์เลอรไ์ ด้แสดงคอนเสิร์ตรว่ มกนั วงควนี มี 18 อัลบ้ัมขึ้นอันดับหน่ึงในชาร์ตอลั บมั้ และ 18 ซงิ เก้ิลข้นึ อนั ดบั หนึง่ ในชาร์ตซงิ เก้ิล , ยอดขายพวกเขาขายไปไดถ้ งึ ประมาณ 150 ล้าน ถงึ 300 ลา้ นแผน่ เสยี ง , ทำ�ให้พวกเขาตดิ หนงึ่ ในศิลปินทมี่ ยี อดขายสูง พวกเขายงั มีผลงานอันโดดเดน่ โดยได้รบั รางวัลบริทชิ มิวสคิ อวอรด์ จาก วงการแผน่ เสยี งขององั กฤษในปี ค.ศ. 1990 พวกเขาได้รับการบรรจเุ ข้าสู่ หอเกียรตยิ ศร็อกแอนด์ โรล ในปี ค.ศ. 2001 ช่ือผลงานท่โี ดง่ ดังของวงควีน - bohemian rhapsody - we will rock you - we are the champions - somebody to love - under pressure - the show must go on - don’t stop me now - another one bites the dust 88
89
“Music is like a dream. One that I “One good thing about music, when cannot hear.” it hits you, you feel no pain.” “ดนตรีเหมือนกับความฝนั “หน่งึ ขอ้ ดีส�ำ หรบั ดนตรีคอื เมือ่ มันเข้าถึงใจ ทฉี่ ันไม่สามารถได้ยนิ “ คุณ คณุ จะไมร่ สู้ ึกเจ็บปวด“ - Bob Marley - Ludwig van Beethoven “Without music, life would be a “Music is the shorthand of emotion” mistake” “ดนตรคี อื คำ�ย่อของความรูส้ กึ “ - Friedrich Nietzsche “ถ้าไมม่ ีดนตรี ชวี ิตกค็ งจะล้มเหลว“ - Friedrich Nietzsche “Music gives a soul to the universe, ““Information is not knowledge. wings to the mind, flight to the imagi- Knowledge is not wisdom. Wisdom is not truth. Truth is not beauty. Beauty nation and life to everything.” is not love. Love is not music. Music “ดนตรีใหจ้ ติ วิญญาณกับจักรวาล กางปกี ให้ กับความคดิ บนิ ไปสู่จินตนาการและให้ชวี ิต is THE BEST” “ขอ้ มลู ไม่ใชค่ วามรู้ ความรูไ้ มใ่ ชป่ ัญญา กบั ทกุ ๆอยา่ ง“ ปญั ญาไมใ่ ช่ความจรงิ ความจริงไมใ่ ชค่ วาม - Plato สวยงาม ความสวยงามไม่ใชค่ วามรัก ความ รกั ไมใ่ ช่บทเพลง บทเพลงคอื สิ่งที่ดที สี่ ุด“ - Frank Zappa 90
“Music is what tell us that the human “A great song should lift your heart, race is greater than we realize.” warm the soul and make you feel “ดนตรคี อื สงิ่ ท่ีบอกเราวา่ มนษุ ยชาติ ยิ่งใหญ๋ good.” กวา่ ท่เี ราคดิ “ “เพลงทด่ี ีจะยกระดบั จิตใจคณุ ทำ�ให้จติ วญิ ญาณของคุณอบอุน่ และทำ�ให้คณุ รสู้ กึ ด“ี - Napoléon Bonaparte - Colbie Caillat “When you play, never mind who “Music is the moonlight in the listens to you.” gloomy night of life.” “เม่ือคณุ เลน่ ดนตรี ไม่ต้องสนวา่ ใครจะฟงั “ดนตรเี ปน็ แสงจันทรใ์ นยามคำ่�คนื ทสี่ ลวั ของ คุณ“ ชีวติ “ - Robert Schumann - Jean Paul Friedrich Richter “Music, my rampart and my only “Music is the divine way to tell beau- one.” tiful, poetic things to the heart” “ดนตรีเปน็ วธิ อี ันศกั ด์ิสิทธ์ิท่จี ะบอกสง่ิ ท่ี “ดนตรคี อื เกราะก�ำ บงั ของฉัน และเปน็ ส่งิ สวยงามและบทกวสี ่หู ัวใจ “ เดยี วที่ฉนั มี“ - Pablo Casals - Edna St. Vincent Millay 91
บรรณานกุ รม ภาษาไทย เอม็ ไทย. Claude Debussy คตี กวีก้องโลก [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก https://scoop.mthai.com/google_news/5328.html วัลดา แซ่ลิ้ม. พื้นผิวของเสียง [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://sites.google.com/site/wanladaandmusic/phun-phiw-khxng-seiyng ชตุ ิมา สทิ ธิประเสรฐิ . บุคคลส�ำ คญั ทางดนตรสี ากล [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/chutimakae2526/bukhkhl-sakhay-thang-dntri-sakl ไลฟ.์ ประวัติ เอลวสิ เพรสลยี ์ [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก https://sites.google.com/site/chutimakae2526/bukhkhl-sakhay-thang-dntri-sakl ธานี โหมดสงา่ “เสียงหนา” vs. “เสยี งบาง”์ [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.allabout.in.th Mr.Jirawat ดนตรี (Music) [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/site/mrjisclassroom/dntri?fbclid=IwAR3PIxlW44P2NatqRF- PzXZNem8FyGkX5aYjAb8UzMrQETvcltrwkPfqp-ro ทมี งาน พันธแ์ุ ท.้ ดนตรกี ับชวี ิตมนุษย์ ประโยชนแ์ ละคณุ ค่าของดนตรี [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก http://pantae.com/content/554 92
Jump Phuvanat. .EDM คืออะไร? [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก https://pepperrr.net/th/articles/9214 paramedphanthachak. แนวเพลงต่างๆ [ออนไลน]์ เขา้ ถึงได้จาก https://sites.google.com/site/paramedphanthachak/system/app/pages/sitemap/ hierarchy มิง่ ขวญั ลริ ุจประภากร. ดนตรชี ว่ ยพัฒนาสมองลูกตั้งแต่ในครรภ์ [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก https://th.theasianparent.com เวริ ล์ ดมิวสิก ดนตรบี �ำ บัด [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://worldmusicthailand.wordpress.com/ paramedphanthachak ยคุ ต่างๆของดนตรี [ออนไลน]์ เข้าถึงไดจ้ าก https://sites.google.com/site/paramedphanthachak/home/yukh-tang-khxng-dntri วกิ ติ �ำ รา ยุคของดนตรี [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก https://th.wikibooks.org/wiki/ ทมี งาน พนั ธ์ุแท้. ดนตรีกับชวี ิตมนษุ ยป์ ระโยชน์และคณุ คา่ ของดนตรี [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://pantae.com/content/554 93
ภาษาอังกฤษ MSCKK. Music Therapy [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก https://www.mskcc.org/ GiGlue. Top 10 genres of Music Industry [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ าก https://medium.com/giglue/top-10-genres-of-music-industry-7f19cdb177cb billboard. TOP ROCK ARTISTS [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก https://www.billboard.com/charts/year-end/top-rock-artists CMUSE. 100 Famous and Inspirational Music Quotes [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.cmuse.org/100-famous-and-inspirational-music-quotes/ PanchoPaoOvs. The Most Influential People In Music History [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.ranker.com/list/most-influential-people-in-music-history/pan- chopaoovs 94
95
Search