Wassily Kandinsky
บทนำ� วาซีลี คันดินสกี ศิลปนิ ผ้สู ร้างสรรคผ์ ลงานไวใ้ ห้วงการศิลปะมากมาย โดยเฉพาะศิลปะนามธรรมทีถ่ ือเปน็ ศลิ ปะทไ่ี ร้รปู แบบตายตวั ไร้รูปธรรม และไมแ่ สดงลักษณ์ ซ่งึ เขากลา่ วไว้ว่าความสำ�คัญของจติ กรรมอยูท่ คี่ วามรสู้ ึกของสีและการจัดรปู ทรง ถอื เปน็เอกลกั ษณข์ องศลิ ปะแนวนแ้ี ละเป็นการส่งเสริมใหผ้ ู้ชมงานรู้จกั คิดและมคี วามอสิ ระทจี่ ะคดิ หนงั สอื Wassily Kandinsky จึงเป็นหนังสือเพือ่ ศกึ ษาความรู้เกย่ี วกับชวี ประวัติของวาซีลี คนั ดินสกี ซงึ่ ไดร้ วบรวมและเรียบเรยี งเนอ้ื หาเก่ยี วกับประวัติส่วนตวั และผลงานศลิ ปะเอาไวด้ ้วยกัน จึงเป็นหนงั สอื ที่มปี ระโยชนต์ ่อผู้ท่สี นใจศึกษา การไดอ้ า่ นชีวประวตั ขิ องบคุ คล นอกจากไดร้ ับรูป้ ระวตั แิ ละข้อมลู ท่นี า่ สนใจตา่ งๆแลว้ ยังไดศ้ กึ ษาแนวทางการใช้ชวี ติ ของบุคคลเพ่อื นำ�มาเปน็ แรงบนั ดาลใจในการใชช้ วี ติ ของตนเอง ซง่ึ อาจเปน็การช่วยพัฒนาชวี ติ ใหด้ ยี ่ิงขน้ึ ผ้จู ดั ทำ�จึงหวงั ว่าหนังสือเลม่ นี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทสี่ นใจไม่มากกน็ ้อย
สารบญัประวัติของวาซีลี คนั ดินสกี 1แนวทางด้านศิลปะของวาซลี ี คนั ดนิ สกี 15ศิลปะนามธรรม 22ผลงานของของวาซลี ี คันดินสกี 25บรรณานุกรม 39-40
Wassily Kandinsky วาซลี ี คันดินสกี“ วาซีลี คนั ดินสกี เปน็ จิตรกรผู้ใหก้ ำ�เนดิ ศิลปะนามธรรมและเป็นหัวเร่ียวหัวแรงหลักในการก่อตัง้ กลุ่มDer Blaue Reiter ข้ึนทก่ี รงุ มิวนิก ประเทศเยอรมนี อันเป็นการรวมตัวของศลิ ปินรว่ มอุดมการณ์มากมาย ”Wassily Kandinsky 1
วาซลี ี คนั ดนิ สกี เกิดเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม ค.ศ. 1866 ในมอสโกประเทศรสั เซยี เปน็ บตุ รชายของ Vasily Silvestrovich Kandinskyพอ่ ค้าขายนำ้� ชาจากไซบีเรยี และ Lidia Ticheeva เป็นชาวมอสโก พ่อแม่ของเขาไดห้ ย่าร้างกนั ต้ังแตเ่ ขาอายไุ ด้ 5 ขวบ Lidia Ivanovna Tikheeva Vasily Silvestrovich Kandinsky เม่อื เขาอายไุ ด้ 7 ปี เขาได้เขา้ เรยี นเปยี โนและเชลโลท่ ี่ GrammarSchool ในเมือง Odessa และได้มโี อกาสเรยี นจติ รกรรมตงั้ แต่อายุยังนอ้ ยในปีค.ศ.1886 ได้เข้าเรยี นระดับมหาวทิ ยาลัยที่ Moscow University ในคณะเศรษฐศาสตร์และกฎหมาย และส�ำ เรจ็ การศึกษาเมอ่ื อายุ 27 ปี จากน้นั ไดเ้ ป็นอาจารย์ท่ีคณะนิติศาสตร์ของมหาวิทยาลยั และในเวลาเดียวกนั ก็มีงานอดิเรกเปน็ นกั ดนตรสี มคั รเล่นดว้ ย Moscow University in 1900, Moscow, Russia2 Wassily Kandinsky
เมื่ออายุ 29 ปี เขาได้เหน็ ศิลปะภาพวาดในลัทธปิ ระทับใจของจติ รกรฝร่งั เศสเป็นครัง้ แรก ใหเ้ ขารสู้ กึ ประทบั ใจกบั งานศลิ ปะชน้ิ นั้นมากจนทำ�ให้เขาไม่ท�ำ งานของมหาวิทยาลัย อกี ทงั้ ลาออกจากชวี ิตอาจารย์สอนมาท�ำ งานเปน็ จติ รกรวาดภาพดว้ ย เมอ่ื อายุ 31 ปี ได้เดนิ ทางไปยงั เมืองมิวนิก ประเทศเยอรมนี เพือ่ศึกษาเทคนิคการวาดภาพศิลปะแนวอารต์ นูโว (Art Nouveau) กับอนั ทอนอัชเบ (Anton Azbe) และฟรันซ์ ฟอน ชตคุ (Franz von Stuck) ซงึ่ นิยมใช้เสน้ ที่แสดงความอ่อนหวานเปน็ ลายดอกไม้และลายเครือเถา ส่วนภาพของคน หรอื สตั ว์นนั้ กม็ กั ถูกวาดใหม้ สี ดั ส่วนทีย่ าวระหงผดิ ปกติ สำ�หรบั นำ�ไปตกแตง่ อาคาร ทำ�ใหเ้ ขาไดศ้ ึกษาอาร์ตนโู วมาพอประมาณ (30 MayS1lAo8nv6et2on–ne 5pAazAibnuetgeurst 1905) G(e2r4mFaenbpruaAiFnartraeynr,1zs8cv6uo3lnp–t3So0tru,Acaukngdusatrc1h9i2te8c)t ในปคี .ศ. 1896 เขาได้เข้าทำ�งานในส�ำ นักกฎหมายและได้ยา้ ยไปยงั เมอื งมิวนกิ และเขาได้เจอกับโรงเรียนศลิ ปะมวิ นชิ (Munich Academyof Fine Arts) และได้เขา้ เรียนใน ค.ศ. 1900 และระหวา่ งปี ค.ศ. 1901-1904 เขาได้เข้าร่วมกบั กลมุ่ ศลิ ปินที่เรียกตวั เองว่า “ฟาลังกซ”์ Wassily Kandinsky 3
Art Group ‘Phalanx’ ‘ฟาลงั กซ’์ (Phalanx) เกิดขน้ึ ท่เี มอื งมวิ นกิ ในปีค.ศ.1901 สมาชกิ ทร่ี ว่ มกอ่ ตงั้ ได้แก่ Wassily Kandinsky, Rolf Niczky, Waldemar Hecker และ Wilhelm Hüsgen โดย คันดินสกีได้ถูกรบั เลอื กเป็นหัวหนา้ และเป็นผ้อู �ำ นวยการของ the Phalanx School of Painting และไดจ้ ัดนิทรรศการใน ปีค.ศ. 1901-19044 Wassily Kandinsky
ในปคี .ศ.1903 เขาหยา่ กบั ภรรยาชาวรสั เซยี แอนนา ชิมยา่ กินน่า(Anna Chimyakina) ซึ่งพวกเขาแต่งงานกันมากกวา่ สบิ ปี เขาได้พบรักใหม่กบักาบรีเอเลอ มึนเทอร์ (Gabriela Munter)ศลิ ปินรุ่นนอ้ ง เขาได้เดนิ ทางไปยงั สถานท่ีต่างๆอย่างฮอลแลนด,์ ตนู สิ และเมืองอ่ืน ๆโดยเขาใช้เวลาอยูท่ ่ีกรงุ ปารสี (ค.ศ. 1906-1907) และเขาไดก้ อ่ ต้ังสมาคมศิลปนิ ใหม่แหง่ มวิ นิก (Neue KünstlervereinigungMünchen) ร่วมกับกาบรีเอเลอ โดยเขาเป็นประธานสมาคม อยู่ในเมืองมวิ นิกและมรู เ์ นา (19 FebruGGaarebyrrm1ie8al7ne7pM–aüi1nn9tteeMrray 1962) Gabriele Munter, 1905 5Städtische Galerie im Lenbachhaus, Munich, German Wassily Kandinsky
‘สมาคมศิลปนิ ใหม่แห่งมวิ นิก’ (Neue Künstlervereini- gung München) ได้เริม่ ต้นก่อตั้งข้ึนในปีค.ศ. 1909 เปน็ กลุ่มท่ี รวบรวมศลิ ปนิ ท่ถี กู เนรเทศออกจากกล่มุ ศิลปะรัสเซยี ซึ่งไดแ้ ก่ Wassily Kandinsky, Alexej von Jawlensky, Marianne von Werefkin, Vladimir von Berekhtyev กลุ่มศลิ ปินกล่มุ นี้จึงเป็น เสมอื นการผสมผสานศิลปนิ ตา่ ง ๆ เขา้ ด้วยกัน โดยท่ภี ายหลังกลุ่ม ศิลปะกล่มุ นกี้ ไ็ ดด้ ึงดูดศลิ ปนิ ต่าง ๆ ใหเ้ ข้ามาไดใ้ นไม่ชา้ ความหลาก หลายน้ีอาจจะเป็นแนวความคดิ ของคนั ดนิ สกีท่ีต้องการรวมเอา ความหลายหลายทางศลิ ปะเขา้ ดว้ ยกัน ไมเ่ พียงแตเ่ พ่อื ท่จี ะแสดง ใหเ้ ห็นสิง่ ที่อยู่ภายนอก แต่เพ่อื ท่ีจะแสดงใหเ้ ห็นโลกท่อี ย่ภู ายในตวั ของพวกเขาดว้ สมาคมศิลปนิ ใหมแ่ ห่งมวิ นกิ ได้จัดนทิ รรศการไปแล้ว 2 คร้ัง และมีการปะทะกนั อยา่ งรุนแรง รวมถงึ การแตกหักกนั ในระหวา่ ง การเตรยี มงานถึงสามคร้ัง ครง้ั แรกในเดือนธนั วาคม 1909 ในการ จดั นิทรรศการที่ Thanhauser ในปถี ดั มาจากวนั ท่ี 1-14 กันยายน เปน็ การจัดนิทรรศการที่มีนทิ รรศการอน่ื ถกู จดั ขึ้นในสถานที่ เดยี วกนั ซ่ึงมีการแสดงผลงานจากศิลปินรับเชญิ อยา่ งเชน่ Picasso , Braque, Derain, van Donggen และ Georges Rouault เปน็ ความตั้งใจที่จะช้ีใหเ้ หน็ พฒั นาการขนานกัน ซ่ึง เปน็ การเพ่ิมความตงึ เครียดใหเ้ กิดขนึ้ ภายในสมาคม ในปี 1911 หลงั จากความตึงเครยี ดทด่ี �ำ เนนิ มาเรือ่ ย ๆ สุดทา้ ยคนั ดนิ สกีตดั สิน ใจลาออกจากการเปน็ ประธานทีส่ มาคมรวมถงึ ฟรันซ์ มาร์คด้วย พวกเขาลาออกจากการเป็นสมาชกิ ในวนั ที่ 2 ธันวาคม 1911”6 Wassily Kandinsky
ใน ค.ศ. 1911 เขาและศิลปนิ คนอน่ื ๆ ได้ออกจากสมาคมศลิ ปนิใหมแ่ ละไปสมาคมกับฟรันซ์ มาร์ค เพ่ือรว่ มกันรา่ งบทบรรณาธิการเพื่อแกไ้ ขปฏทิ ินบันทกึ เหตกุ ารณข์ องกลุ่มเดอร์เบลาเออไรเทอร์ (Der BlaueReiter) ในปเี ดียวกันหนังสือที่ชื่อ über das Geistige in der Kunst(On the Spiritual in Art) ของเขาก็ได้รับการตพี ิมพ์ และในปีต่อมาบทบรรณาธิการของปฏทิ นิ บันทกึ เหตุการณ์ของกลุ่มเดอรเ์ บลาเออไรเทอร์บทแรกกไ็ ดข้ ้นึ ตามมา On the Spiritual in Art, And Painting in Particular , 1911 Wassily Kandinsky 7
Art Group ‘Der Blaue Reiter’ ‘กลุม่ เดอรเ์ บลาเออไรเทอร์ หรือี กลุม่ นักข่ีม้าสีน�้ำเงิน’ (Der Blaue Reiter / The Blue Rider) เริม่ เคลอ่ื นไหว ค.ศ. 1911 ทมี่ วิ นคิ แกนน�ำคือวาซิลี คนั คนิ สกีและฟรันซ์ มาร์ค ชอ่ื ลัทธิมาจากความนิยมในการเขียนรูปม้าและคนข่ี มา้ ของ แกนน�ำท้งั 2 ใช้สนี ำ้� เงนิ เป็นหลัก ผ่อนคลายความ รู้สึกน่าขยะแขยง ไปเป็นการแสดงออกทางอารมณ์แบบ รุนแรงที่แฝงความสนกุ สนาน ใชส้ ี เสน้ การแสดงลีลาคลา้ ย ดนตรี สลายตัว 1914 เพราะสงครามโลกคร้ังท่ี 18 Wassily Kandinsky
ในเดือนกมุ ภาพนั ธ์ ปีค.ศ.1917 คนั ดินสกไี ดแ้ ตง่ งานกับนนิ ่า (NinaAndreevskaya ชว่ งการปฏิวัติในรสั เซยีน้เี ขาสรา้ งผลงานศิลปะออกมาน้อยมากเพราะหนั ไปท�ำ งานทางดา้ นสงั คม รณรงค์ไม่ให้มกี ารทำ�ลายศลิ ปะของชาติ และท�ำหน้าที่สอนศิลปะท่สี ถาบนั วัฒธรรมศิลปะ( Institute of Artistic Culture) ในมอสโคว์ ซง่ึ เพงิ่ ก่อต้ัง คานดินสกี ทุ่มเทให้กับการศกึ ษาทฤษฏีศิลปะ Nina Andreevskaya, pictured in 1976 หลังจากสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 เกดิ ขึน้ เขาไดไ้ ปยังประเทศสวิต-เซอรแ์ ลนด์ และกลบั ไปยงั มอสโก ที่ซึ่งเขาไดจ้ ัดองคก์ รและสถาบนั หลังจากเหตกุ ารณป์ ฏวิ ตั ใิ นเดือนตุลาคม ใน ค.ศ. 1921 เขากลบั ไปอยูท่ ่ปี ระเทศเยอรมนีกับนนี า และใน ค.ศ. 1922 เขาไดอ้ ยู่ในท่เี มอื งไวมาร์ โดยเขาได้รบั แต่งต้ังเป็นศาสตราจารย์ของเบาเฮาส์ และในเมอื งไวมาร์ เขาไดเ้ ข้าร่วมกล่มุ ดเี บลาเออเฟยี ร์ (Die Blaue Vier) ที่มีสมาชิกรวมทัง้ เพาล์ เคล (PaulKlee) และอาเลกเซย์ ฟอน ยัฟเลนสกี (Alexej von Jawlensky) ผู้ซ่งึ ที่เขาไดเ้ จอครงั้ แรกทีเ่ มืองมิวนกิ ในปกี อ่ นและเป็นเพือ่ นรว่ มงานในเบาเฮาส์ Wassily Kandinsky 9
Bauhaus-University , Weimar, Germany ‘เบาเฮาส์’ (Bauhaus) โรงเรียนศิลปะในประเทศเยอรมนี ก่อต้งั โดยวอลเตอร์ โกรเปียส (Walter Gropius) สไตลข์ อง เบาเฮาส์เป็นอิทธพิ ลใหก้ บั สถาปัตยกรรมสมยั ใหม่ และการ ออกแบบสมัยใหม่ โดยโรงเรียนมีอย่ใู น 3 เมอื งของเยอรมนี (ไวมาร์ จากปคี .ศ.1919-1925, เดสโซจากปีค.ศ.1925-1932 และเบอร์ลนิ จากปีค.ศ.1932-1933)10 Wassily Kandinsky
‘Prophetess of the Blue Four’ San Francisco Examiner, Pictured: Galka Scheyer,Lyonel Feininger, Wassily Kandinsky, Paul Klee and Alexej Jawlensky ,1925 ‘กลมุ่ ดีเบลาเออเฟยี ร’์ (Die Blaue Vier / The Blue Four) สบื ทอดมาจากกลุม่ เดอรเ์ บลาเออไรเทอร์ กอ่ ตั้งข้นึ ในปคี .ศ. 1924 ในประเทศเยอรมนี โดยศิลปินชาวรสั เซยี ได้แก่ อาเลกเซย์ ฟอน ยฟั เลนสกี (Alexey von Jawlensky) และวาซีลี คนั ดินสกี (Wassily Kandinsky) ศลิ ปินชาวสวสิ เพาล์ เคล (Paul Klee) และศิลปินชาวศิลปินชาวอเมรกิ นั ไลโอเนล ไฟนิง เกอร์ (Lyonel Feininger) Wassily Kandinsky 11
ในปี 1926 เขาได้เผยแพรห่ นงั สือเรยี นทางด้านศลิ ปะของเขาที่ช่อื Punktund Linie zu Fläche : Beitrag zurAnalyze der malerischen Elementeใน ค.ศ. 1928 เขาได้มโี อกาสออกแบบรูปแบบการแสดงผลงานของมูรซ์ อร์กสกี(Mussorgsky) ทีง่ านนิทรรศการในโรงละครเมอื งเดสเซา (Dessau) ในแถบ Punkt und Linie zu Fläche ,1926เทือกเขาพิเรนสี เปน็ การชวั่ คราวเพื่อหลีกเล่ยี งจากถกู โจมตขี องเยอรมนีหลังจากน้นั เขาก็ย้ายกลับมาท่ี เนอยี-ซูร-์ แซน (Neuilly Sur Seine)ประเทศฝรงั่ เศส และอาศยั อยทู่ น่ี ั่นจนเขาเสยี ชวี ิตลงเมื่อวนั ท่ี 13 ธนั วาคมค.ศ. 1944 ขณะทม่ี ีอายไุ ด้ 77 ปี โดยเขาถกู ฝงั่ ทสี่ สุ าน New CemeteryNeuilly Vassily Kandinsky on his death-bed, 1944 by Rogi André12 Wassily Kandinsky
ก่อนที่เขาจะเสียชวี ิตนน้ั ภาพวาดของเขาไดถ้ ูกทางกองทัพนาซีนำ�ออกมาแสดง โดยใชช้ ่อื นิทรรศการว่า Degenerate Art (ศลิ ปะที่เส่ือมทราม) เนือ่ งจากโดยส่วนตัวแล้วฮติ เลอรไ์ มช่ อบภาพศลิ ปะแนวAbstract นี้ แตก่ ลับกนั บรรดาประชาชนท่ัวไปต่างช่ืนชมและชน่ื ชอบในผลงานของคนั ดินสกี จึงท�ำ ใหง้ านแสดงศิลปะครงั้ น้นั มผี ู้เขา้ ชมมากถึง2 ลา้ นคน หลังงานแสดง ทหารนาซีคดิ จะน�ำ ผลงานของเขาทง้ั หมดไปเผาแต่ทป่ี รึกษาของฮิตเลอรไ์ ด้เสนอให้นำ�ภาพผลงานออกขาย เพื่อจะไดน้ ำ�เงินเข้าประเทศ และขายไดบ้ า้ ง สว่ นงานที่ขายไม่ได้ ได้ถูกน�ำ ไปเผา ซงึ่ ได้ท�ำ รา้ ยจิตใจของคันดินสกอี ยา่ งรนุ แรง Adolf Hitler and Adolf Ziegler visit the Degenerate Art Exhibition, 1937 Wassily Kandinsky 13
Degenerate Art Exhibition/Entartete Kunst Munich,1937 Degenerate art ศลิ ปะในชว่ งก่อนและระหวา่ งสงครามโลกครัง้ ที่ 2 มี ความแปรผันไปตามสถานการณ์การเมอื งภายในและระหวา่ ง ประเทศเปน็ อย่างมาก ในกรณที ่ปี ระเทศเยอรมนี อดอรฟ์ ฮิต เลอร์ (Adolf Hitler) เริม่ มอี �ำ นาจในปี 1933 ฮิตเลอร์ สง่ั ปิดสถาบนั ศิลปะหวั ก้าวหน้าอยา่ ง “เบาเฮาส์” (Bauhaus) ศิลปินท่ีท�ำ งานในแนวสมัยใหม่ตา่ งอพยพออกนอกประเทศ หนึ่งในกิจกรรมท่ี ฮิตเลอร์ เขา้ จดั การกับศิลปะสมยั ใหมอ่ ย่างเป็นทางการคือ การประนามศิลปะเหลา่ น้ันว่าเปน็ Degenerate art (ศลิ ปะทเ่ี สื่อมทราม) ศิลปะทเ่ี ขา้ ขา่ ยนี้ มี ตงั้ แตศ่ ิลปะลทั ธิอิมเพรสชันนสิ ม์ (Impressionism) ไปจนถึง เอ็กซเ์ พรสชนั นิสม์ (Expressionism) ซ่ึงศลิ ปนิ พวกนม้ี กั จะ เป็นพวกรกั อสิ ระ ต่อตา้ นกระฎมุ พแี ละเปน็ พวกหวั ขบถ14 Wassily Kandinsky
แนวทางดา้ นศลิ ปะของ Wassily Kandinsky“ There is no must in art because art is free ” - Wassily Kandinsky - Wassily Kandinsky 15
ปคี .ศ.1896 จากการท่ีเขาไดเ้ หน็ นทิ รรศการภาพวาดศิลปะของโคลด โมเนต่ ์ (Claude Monet) จิตรกรชาวฝรง่ั เศส ทำ�ใหเ้ ขาประทับใจเปน็ อยา่ งมาก โดยเฉพาะสไตล์ impressionistic ของภาพชดุ กองฟาง(Haystacks) Haystacks (Monet series)Haystacks, (Midday), 1890-91 Wheatstacks, Snow Effect, Morning National Gallery of Australia ,1891, J. Paul Getty Museum Haystack, Morning Snow Effect Grainstack. (Sunset.), 1890-91 (Meule, Effet de Neige, le Matin), Museum of Fine Arts, Boston.,1891, Museum of Fine Arts, Boston.16 Wassily Kandinsky
ผลงานชดุ กองฟางของโมเน่ตเ์ ปิดนิทรรศการครัง้ แรกเม่อืวนั ท่ี 4 พฤษภาคม1891 จัดแสดงท่แี กลอร่ขี องดรู อง รูเอล ปารสี เปน็จิตรกรรมชุดทที่ ำ�ขน้ึ ระหว่างปี1890-1891 นบั เปน็ ผลงานทก่ี ลา่ วถงึ มากที่สุดอีกชุดหน่งึ ที่โมเน่ตป์ ระสบผลส�ำ เรจ็ ด้านช่อื เสยี งนักวิจารณไ์ ด้ยกย่องผลงานชุดน้วี า่ เป็นผลงานท่แี สดงความกา้ วหน้าของวงการศลิ ปะที่เรม่ิ เปดิมมุ มองใหม่ ในผลงานนี้ เขาแสดงภาพชดุ กองฟางทว่ี าดตา่ งมุมกนั โดยเขายา้ ยต�ำ แหนง่ ทวี่ าดไปรอบๆตำ�แหนง่ ของกองฟางสองกอง เพื่อแสดงใหเ้ ห็นมุมมองและภาพท่ีเปลีย่ นไปตามต�ำ แหน่งเพ่ือต้องการแสดงให้เห็นถงึ การมอี ยู่ของพ้ืนทวี่ ่างในทวิ ทศั นท์ ่สี ัมพันธ์กับการเปลีย่ นแปลงของเวลา บรรยากาศสีสันเปล่ียนแปลงไปดว้ ย ภาพชุดนีเ้ ขาใช้สที ีห่ นาเตอะซอ้ นกันหลายชัน้ จนเกดิ พน้ื ผวิ จากการขูดขดี ด้วยดา้ มและขนแปรง เขาไมไ่ ดใ้ หค้ วามสำ�คญั กบั ภาพกองฟาง แต่เขาเน้นบรรยากาศประกายแดดทกี่ ระพริบวบู วาบ ดว้ ยการตดั กันของสคี ู่ตรงกนั ขา้ ม กองฟางแทบจะกลนื ไปกบั บรรยากาศ โดยการแสดงนท้ี �ำ ใหค้ ันดินสกตี ดิ ตามชมภาพด้วยความสนใจ คนั ดนิ สกีกลา่ ววา่ “ครัง้ แรกท่ีผมเหน็ภาพในนทิ รรศการ พบกันภาพท่ใี นสจู บิ ัตรระบุชอ่ื ภาพว่ากองฟาง แต่ผมดยู งั ไงๆ ก็ดูไมอ่ อกวา่ เป็นกองฟาง” และความคิดนเ้ี องได้จุดประกายความคดิ ให้เขาบกุ เบิกงานศลิ ปะนามธรรมในทส่ี ุด Wassily Kandinsky 17
เม่อื เขาได้ผันตวั ไปท�ำ งานดา้ นจิตรกรรมนามธรรม โดยคันดินสกีคือผู้ทรี่ เิ รมิ่ การท�ำ งานตามแบบลทั ธินามธรรมคนแรก ผลงานตามลัทธินามธรรมรูปแรกเกิดขนึ้ ราวปี ค.ศ. 1910 แต่เขาก็มไิ ดค้ ้นพบการวาดภาพแบบนามธรรมในทนั ทีทนั ใด กว่าจะเดนิ ทางมาถงึ จดุ น้ีเขาเผ่านทฤษฏีต่างๆมาแล้ว เชน่ ลัทธอิ ิมเพรสชันนสิ ม์ ศึกษาหลักสนุ ทรียศาสตรข์ องพวกนะบีส์การใชส้ ีของเขาเรม่ิ มีความเขม้ ขน้ และสดใส นอกจากน้ีเขายังกา้ วไปถึงการท�ำ พื้นผิวให้มีการเคล่อื นไหวดว้ ยการใช้เส้นและสีดว้ ยเทคนิคเป็นจุดกับการทง้ิ ร่องรอยของพูก่ นั (เปน็ อทิ ธิพลของฟานโกะและพอลชญี คั จิตรกรในกล่มุ นีโออมิ เพชสชันนิสต)์ เขามีเหตุผลทฤษฎีและแนวคิดในงานจิตรกรรมนามธรรมเกี่ยวกับการรวมกนั ของความรู้เรอื่ งเทววทิ ยาและทฤษฎีเชงิวฒั นธรรม น�ำ มาใชร้ ว่ มกนั จนเกดิ สนุ ทรียศาสตรใ์ นงานจติ รกรรมนามธรรมของเขา First abstract watercolor ,1910 Musée National d’Art Moderne, Centre Georges Pompidou, Paris, France18 Wassily Kandinsky
คันดินสกีเดนิ ก้าวไปขา้ งหน้าอย่างไม่หยุดยงั้ เขาเข้ารับการศกึ ษาทฤษฏที างสนุ ทรยี ศาสตรข์ องลทั ธโิ ฟวสิ ม์มาศึกษาด้วย ประสบการณ์เหลา่ นีส้ ร้างใหเ้ ขาเลือกหนทางทถ่ี กู เกยี่ วกบั ตวั เขาบวกกบั ภมู ิหลังในความช�ำ นาญทางศลิ ปะพืน้ เมืองด้งั เดมิ ประจำ�ชาตริ สั เซีย ท่ีเรียกชื่อลักษณะเฉพาะวา่ แอนนิมอล สไตล์ (Animal Style) ที่มีกำ�เนิดราวๆคริสตศ์ ตวรรษท่ี 6-7 มีรปู ลกั ษณะใกลเ้ คียงกับงานศลิ ปะนามธรรมยูแ่ ล้วนอกจากนธี้ รรมชาตโิ ดยทั่วไปของรัสเซียในสมัยนน้ั ความเจริญทางวัตถยุ งัไม่มมี าก ความคดิ ในทางจติ นิยมยังมีอยสู่ ูงท�ำ ใหศ้ ลิ ปินมีการสังเกตสงิ่ ตา่ งๆในธรรมชาตอิ ย่างใกล้ชดิ สิง่ ตา่ งๆเหลา่ น้ีได้ท�ำ ให้เกิดการพฒั นากลายมาเป็นศลิ ปะนามธรรม เขาได้รบั วัฒนธรรมท่ีเรียบงา่ ยจากความพยายามท่จี ะวาดภาพตามคติประเพณีดงั้ เดมิ จากการท่เี ขาไปอยบู่ ้านใหม่ของเขาในเมอื งมรู เ์ นา ซ่ึงแนวคดิ นเี้ ปน็ แรงบนั ดาลใจให้กบั กลุม่ เดอรเ์ บลาเออไรเทอร์ ทีพ่ วกเขาไม่เนน้ เรื่องรปู ทรง แต่จะเน้นเรอื่ งความแปลกประหลาดและความเป็นศิลปะคตคิ วามเชื่อแบบพ้นื บา้ นยังแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความหลากหลายของงานนามธรรม ท่ีมนั มีมากกวา่ การวางแบบแผนทีส่ มมาตร View of Murnau ,1908 Hermitage Museum , St Petersburg, Russia Wassily Kandinsky 19
จนมาถึงในชว่ งยคุ ตอ่ มาไดม้ กี ารพยายามอธิบายผลงานจิตรกรรมรว่ มสมยั ของคันดนิ สกี ไดเ้ ขยี นโดย โรเบิร์ต โคเตส (Robert Coates)พยายามเขียนอธบิ ายถงึ งานของคันดินสกวี ่าเป็นแอบสแตรคเอก็ เพรชชัน-นสิ ข้นึ เปน็ คร้ังแรกในนติ ยสาร “นวิ ยอร์ทเกอร”์ ฉบบั วนั ท่ี 30 มีนาคมค.ศ. 1946 ในช่วงปี 1932-1936 มชี อื่ เรยี ก แต่ตา่ งกันไป เช่น กล่มุ สรา้ งสรรคทท์ างนามธรรม(Abstract-Creative Group) ,กลมุ่ นิวยอร์ท(NewYork School) หรอื กลุม่ กมั มันตจติ รกรรม(Action-Painting) ชว่ งเข้าส่หู ลังสงครามโลกต่อมา เน่อื งจากความเสียหายและภยัพิบตั ิของสงครามโลก ทำ�ใหศ้ ิลปินทีอ่ ยตู่ ามหวั เมอื งสำ�คญั ในฝง่ั ยโุ รป ตามเมอื งสำ�คัญ เช่น ปารสี และเบอร์ลนิ เสียชวี ติ ลงระหว่างการสูร้ บ และบางส่วนไดม้ ีการอพยพเขา้ ส่ปู ระเทศอเมรกิ า จงึ ท�ำ ใหศ้ ลิ ปะนามธรรมท่ีแพร่อยู่ในยโุ รปไดเ้ ข้าสูอ่ เมริกา ทำ�ใหน้ ิวยอร์กกลายเปน็ ทชี่ มุ นุมใหมข่ องศิลปนิต่างๆจากหลายมมุ โลก โดยปที ส่ี ำ�คญั จะอย่ทู ่ปี ี 1941-1946 ระหวา่ ง น้ีเป็นช่วงที่สำ�คัญ ได้เกิดลทั ธติ า่ งๆทพ่ี ฒั นาแตกออกเปน็ abstract-expres-sionism , neo-plasticism, op-art, Kinetic art ในเวลาตอ่ มาของชว่ งปี1950-1970 ซึง่ ได้รบั อทิ ธพิ ลจาก ลทั ธนิ ามธรรมมาอยา่ งเต็มเปย่ี ม นอกจากนเ้ี ขายงั ไดก้ ารยอมรับวา่ เปน็ จิตรกรคนแรกท่ีสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะแบบ pure abstraction และถือเป็นการก้าวเขา้ สู่ยุคโมเดริ น์ นิสม์ (Modernism) อยา่ งแทจ้ รงิ โดยนั่นเป็นเรอ่ื งหลังจากการรว่ มงานกบักลุ่ม Der Blaue Reiter ทีเ่ ขาได้พฒั นาผลงานไปส่รู ปู แบบแอบสแตรกต์ล้วนๆ ไมว่ า่ จะเปน็ รูปทรงซง่ึ เลียนแบบส่งิ มีชวี ติ หรือรปู ทรงเรขาคณติ ไปจนถึงเทคนคิ อาศัยภาษาภาพสญั ลกั ษณท์ ่เี รยี กวา่ พกิ โตกราฟฟกิ (Picto-graphic)20 Wassily Kandinsky
ส่ิงหนงึ่ ทท่ี ำ�ใหศ้ ิลปะของคันดนิ สกแี ตกต่างจากศลิ ปนิ ในยคุเดยี วกนั นน่ั เปน็ เพราะวา่ นอกจากจะศึกษาศลิ ปะประเภทจิตรกรรมแล้ว เขายงั ไดร้ บั การศึกษาทางดนตรี (เปยี โนกับเชลโล่) ซึง่ เขาเองเคยให้สมั ภาษณเ์ ปรยี บเทยี บศลิ ปะกบั ดนตรีเอาไว้วา่ สที เี่ ขาใช้ก็เปรียบประหนึ่งคยี บ์ อรด์ ขณะท่ีดวงตาของเขาท�ำ หนา้ ทผ่ี สมผสานจติ วญิ ญาณของเส้นสายเปยี โนท่ีมอี ยมู่ ากมายใหอ้ อกมาเป็นเสียงดนตรี วิธีคดิ เชน่ นี้ไมต่ ่างกับยามท่ีเขาสร้างสรรคง์ านศลิ ปะเลย ดว้ ยวา่ คอื มือเดียวกันท่บี รรจงกดลงบนคยี แ์ ตล่ ะคีย์ จากแรงกระเพ่อื มหนึ่งไปยังอีกแรงกระเพอื่ มหน่งึ ภายใต้เปา้ ประสงคใ์ นการหลอมรวมแต่ละเสน้ สายเสน้ เสยี งใหอ้ อกมากลมกลืนเชน่ เดยี วกับการผสมผสานแตล่ ะเสน้ สีเปน็ งานศิลปะชิน้ หน่งึ นนั่ เอง ผลงานของเขาจะขจัดส่งิ ท่เี ป็นภาพออกไปจนไม่สามารถมองออกวา่ เป็นภาพของอะไร เห็นแต่ เส้น รูปร่าง รปู ทรง และสีเทา่ นั้น โดยคันดนิ -สกีนำ�องคป์ ระกอบเหลา่ น้ันมาจดั วางให้ลงตวั เขามกั ตงั้ ชื่อภาพตามดนตรีดังนั้นจงึ หมายความว่าเขานำ�เอาดนตรมี าบรรยายเป็นภาพในลักษณะแอบสแตรค Wassily Kandinsky 21
Abstract ศAิลปrะนtามธรรม ศลิ ปะนามธรรม (Abstract Art) ใชภ้ าษาภาพในการสือ่ ความหมายด้วยรปู ทรง, สี และลายเส้น เพอ่ื สร้างสัดสว่ นซง่ึ อาจจะประกอบข้นึ ในระดับความเป็นนามธรรมทแี่ ตกตา่ งกันไป ตัง้ แต่ยุคฟน้ื ฟศู ิลปวทิ ยาไปจนถงึ ช่วงกลางครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 19 ศลิ ปะตะวนั ตกรับอทิ ธิพลในการใช้ทัศนมิติและความพยายามในการทำ�ใหส้ มจรงิ มากที่สดุ ขณะที่ศลิ ปะของวัฒนธรรมนอกทวีปยโุ รปถกู เขา้ ถงึ และแสดงใหเ้ หน็ แนวทางอนั หลากหลายในการอธบิ ายทัศนประสบการณข์ องตัวศิลปนิ จนถงึ ปลายครสิ ต์ศตวรรษที่ 19 ศลิ ปนิ หลายคนร้สู กึ ถงึ ความตอ้ งการทีจ่ ะสรา้ งสรรคศ์ ลิ ปะแนวใหม่ ซง่ึ สามารถที่จะถ่ายทอดการเปลยี่ นแปลงพ้ืนฐานของเทคโนโลยี,วิทยาศาสตร์ และปรัชญา ตน้ ตอทที่ ำ�ให้ศิลปนิ สร้างสรรคง์ านศลิ ปะของตัวเองนนั้ มหี ลากหลาย และสะทอ้ นใหเ้ ห็นสภาพกอ่ นการเปลยี่ นแปลงทงั้ ทางสงั คมและปัญญาในทกุ แงม่ ุมของวฒั นธรรมยโุ รปในขณะนนั้สุนทรียภาพและรูปแบบประตมิ ากรรมนามธรรม1. ใชร้ ปู ทรงอิสระ ไมม่ ขี อ้ แมใ้ นเรื่องของรปู ทรง เป็นลักษณะสากลโลกไม่บง่ บอกชาติหรือลักษณะของแต่ดินแดน2. ถ่ายทอดการรับรู้ พ้นื ผิวแสง และสีตามความต้องการของศลิ ปิน3. รูปภาพทอ่ี อกมา สามารถสอ่ื ให้คนดอู ิสระทจ่ี ะคิดอย่างไรกไ็ ดต้ ามเหตุผลของตนเอง ไม่มถี ูกหรอื ผิด22 Wassily Kandinsky
วาซลี ี คนั ดนิ สกี กล่าววา่ ความส�ำ คัญของจิตกรรมอยทู่ คี่ วามรสู้ ึกของสแี ละการจดั รูปทรง (Colour of Form) ส�ำ หรับการถ่ายทอดออกมาเป็นศิลปะน้นั คนั ดนิ สกีค�ำ นึงถึงหลักสองอย่าง คอื ความรู้สกึ ภายนอกและความรสู้ ึกภายใน ความรสู้ กึ ภายนอก คอื วัสดรุ ปู ทรงและเมอื่ ร้สู กึ ตอ่ การเหน็ รปูทรงดังกลา่ วแล้ว กจ็ ะเกิดความรู้สึกภายใน ส�ำ หรับคุณคา่ ของรปู ทรงนัน้ เปน็ การสร้างความกลมกลนื ข้ึนดว้ ยสีสัน การเคล่ือนไหว ลีลา จังหวะลกั ษณะผวิ สัดส่วน และความเด่นชัดของภาพ เพ่อื ใหเ้ กิดอารมณแ์ ละความรู้สึกเองเมือ่ ได้สัมผสั ส่ิงทไี่ ม่อาจชี้เฉพาะไปไดว้ า่ เป็นอะไร ไม่เหมือนกบั ศลิ ปะแบบดั้งเดิมท่ีบรรยายเฉพาะเจาะจงลงไป เชน่ รปู ผ้หู ญงิ ตน้ ไม้สัตว์ ผลไม้ ผ้ชู าย และแม้แต่พระเจา้ ความรสู้ ึกภายใน คือ อารมณร์ ู้สึกในวญิ ญาณของศลิ ปิน ความรสู้ ึกนม้ี ีความยง่ิ ใหญ่ตอ่ การปลกุ เร้าความรสู้ ึกให้คลา้ ยคลงึ กบั ทม่ี ีอยกู่ ับผชู้ มสง่ิ ท่อี ยภู่ ายนอก ลำ�ดบั การณ์กค็ อื ความรู้สกึ ในศลิ ปิน ไปสู่การรบั รู้ไปสงู่ านศิลปะ ไปสูค่ วามร้สู ึกของผู้ชม เมื่อความรู้สึกทั้งสองมคี วามคล้ายกบั และมีคา่ เทา่ เทียมกนั ย่อมหมายความว่า งานศลิ ปะนั้นๆ ประสบความส�ำ เรจ็ ส่งิ ทอี่ ยภู่ ายใน คือความรูส้ ึกนั้น ตอ้ งมอี ยู่ แมว้ า่ งานศลิ ปะจะเป็นสง่ิสมมุติ สง่ิ ที่อยูภ่ ายในนน้ั จะเป็นส่ิงกำ�หนดงานศิลปกรรม Wassily Kandinsky 23
On White II, 1923 Musée National d’Art Moderne, Centre Georges Pompidou, Paris, France24 Wassily Kandinsky
ผลงานของ Wassily Kandinsky Blue Rider ,1903Private collection, Zurich, Switzerland Arab Town, 1905 Musée National d’Art Moderne, Paris, France Wassily Kandinsky 25
Der Blaue Berg (The Blue Mountain), 1908-09 The Solomon R. Guggenheim Museum of Art เป็นผลงานท่ีได้รบั อทิ ธิพลมาจากลทั ธโิ ฟวิสม์ การใช้สขี องเขา มคี วามบิดเบีย้ วและผิดเพีย้ นไปจากธรรมชาตอิ ยา่ งชดั เจน เขาได้ แสดงภาพของภเู ขาสนี �ำ้ เงิน ดา้ นขา้ งเป็นต้นไมส้ ีแดงและสเี หลอื ง ฉากด้านหน้าแสดงเปน็ คนขี่มา้ อยู่บนหลังม้า คนขีม่ า้ ในทนี่ ห้ี มายถึง The Four Horsemen (ผ้ขู ีม่ ้าท้ังส่)ี ทมี่ ีกล่าวในในพระคมั ภรี ์ไบเบ้ลิ วา่ เมื่อปรากฏตวั ขน้ึ เมอื่ น่นั หมายถงึ การมาถึงของวนั ส้นิ โลก แตส่ ที ี่ คันดนิ สกีใชแ้ สดงใหเ้ หน็ ถึงความหวังมากกว่าความส้ินหวัง26 Wassily Kandinsky
Murnau am Staffelsee, 1908Ashmolean Museum, Oxford, UK Houses at Murnau, 1909 Art Institute of Chicago, Chicago, IL, USA Wassily Kandinsky 27
Murnau with Church, 1910 Städtische Galerie im Lenbachhaus, Munich, German เป็นภาพทวิ ทศั น์ของเมืองเลก็ ๆ ทอ่ี ยู่ในแควน้ บาวาเรียใต้ เขาเลอื กใชเ้ มอื งน้เี ปน็ เน้อื หาของภาพ แตเ่ ขาไดเ้ กบ็ ความเหมอื น จรงิ เอาไว้แตเ่ พียงเลก็ นอ้ ยเท่านน้ั เขาใช้สีและฝแี ปรงท่เี ป็นอสิ ระ และฉบั พลนั มากกว่าจะนกึ ถงึ ค�ำ นวณอะไรใหถ้ ูกตอ้ งแม่นย�ำ โดย บางแหง่ ยงั ปลอ่ ยพื้นกระดาษแข็งใหว้ ่างไว้ ไม่ลงสีปดิ หมด แต่ เม่ือมองดภู าพนี้แล้วกย็ งั เหน็ เปน็ ยอดแหลมของโบสถ์ กบั แนว หมบู่ า้ นทอ่ี ยู่ทางด้านซ้ายอยู่บา้ ง การใช้สที ีเ่ ป็นอิสระกบั แนวลาด เอียงลาดชันของบา้ นคน ทำ�ใหเ้ กิดพลงั ผลักดนั เคลือ่ นไหว28 Wassily Kandinsky
Untitled (First abstract watercolor), 1910 Musée National d’Art Moderne, Paris, France เปน็ ผลงานภาพสีน้ําของคนั ดินสกที เี่ ปน็ ภาพสตี ามแบบ Ab-stract Expressionism ครงั้ แรกท่ีเกิดขนึ้ เขาวาดภาพนี้โดยแสดงรูปทรงและเสน้ สี ทีต่ ัดซอ้ นกันอย่างกระฉบั กระเฉง นอกจากนี้คันดินสกยี ังใชด้ นตรีเปน็ แนวทาง ทจี่ ะน�ำ ศลิ ปะออกไปส่กู ารแสดงออกแบบใหม่ ทจ่ี ะพัฒนาต่อไปตามแบบ Abstract Expressionism เขายดึ ถอื จติ วิญญาณ ทสี่ อดคลอ้ ง หรอื ขัดแย้งที่แสดงออกมาทางเสน้ สีและ พ้นื ที่ว่าง จังหวะเคลอ่ื นไหว โดยไม่แสดงเลยวา่ เหมือนกับอะไรในโลกจรงิ ๆ Wassily Kandinsky 29
All Saints day I, 1911 Städtische Galerie im Lenbachhaus, Munich, German All Saints day II, 1911 Städtische Galerie im Lenbachhaus, Munich, German30 Wassily Kandinsky
Composition IV, 1911Kunstsammlung Nordrhein-Westfallen, DusseldorfComposition V, 1911 Private Collection Wassily Kandinsky 31
Composition VII, 1913 The State Tretyakov Gallery, Moscow, Russia ภาพ Composition VII เปน็ ภาพเรียกได้วา่ เป็นความส�ำ เรจ็ สงู สดุ ของคันดนิ สกใี นสมัยกอ่ นสงครามโลกครั้งท่ีหนง่ึ เขาใช้การ อ้างอิงถงึ สญั ลักษณ์ในรปู แบบตา่ งๆในภาพวาด อยา่ งไรก็ตามเขา ไมไ่ ด้ต้ังใจใหผ้ ้ชู มผลงานได้อา่ นสญั ลกั ษณเ์ หลา่ นี้ได้อยา่ งแท้จริง เขาแสดงภาพทเี่ ต็มไปด้วยการใช้สีและรปู ทรง และนอกจากน้ยี งั เป็นภาพทแ่ี สดงออกถงึ ความสนใจในเร่อื งดนตรขี องเขาอีกด้วย32 Wassily Kandinsky
Color Study: Squares with Concentric Circles , 1913Städtische Galerie im Lenbachhaus, Munich, German Moscow I (Red Square) , 1916 The State Tretyakov Gallery, Moscow Wassily Kandinsky 33
Composition VIII, 1923 Solomon R. Guggenheim Museum Yellow-Red-Blue, 1925 Musée National d’Art Moderne, Paris, France34 Wassily Kandinsky
Several Circles, 1926 Solomon R. Guggenheim Museum ภาพ Several Circles เป็นภาพท่คี นั ดินสกว้ี าดตอนอายุ60 ปี มนั แสดงให้เห็นถึงการค้นหาไอเดยี มาตลอดชวี ติ ของเขาในการแสดงอารมณ์ความรู้สกึ ในงานศลิ ปะ ผลงานนี้แสดงความสนใจของเขาในรปู แบบของวงกลม เขาอาศัยความเป็นไปได้ท่ีหลากหลาย หลากขนาดและสสี ันสดใสของวงกลมแตล่ ะวงบนผนืผ้าใบของวงกลมเพ่ือสรา้ งความรูส้ ึกของจิตวญิ ญาณและอารมณ์ Wassily Kandinsky 35
Composition X, 1939 Kunstsammlung Nordrhein-Westfalen, Dusseldorf Around the circle, 19340 Solomon R. Guggenheim Museum, New York, USA36 Wassily Kandinsky
Study for Improvisation 8 ,1909 Private Collection เดือนพฤศจิกายน ปี 2012 the Wall Street Journalรายงานวา่ ภาพ “Study for Improvisation 8” ของคันดินสกีถูกขายไป 23 ลา้ นเหรียญ ท่ี Christie’s auction house Wassily Kandinsky 37
โดยก่อนหนา้ นผ้ี ลงานทีแ่ พงที่สดุ ของคนั ดนิ สกีคือ Fugue ซึง่ เขาวาดขึน้ เมื่อปคี .ศ. 1914 ถกู ขายในราคา 20.9 ลา้ นเหรยี ญที่ Sotheby’s. ในปีค.ศ.1990 Fugue,1914 Collection Ernst Beyeler, Bazel, Switzerland38 Wassily Kandinsky
บรรณานุกรมWikipedia. 2015. Wassily Kandinsky. คน้ เม่อื 23 ตลุ าคม 2558, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Wassily_KandinskyThe art story. 2015. Wassily Kandinsky. ค้นเมอ่ื 23 ตุลาคม 2558, จาก http://www.theartstory.org/artist-kandinsky-wassily.htmWikiart. 2015. Wassily Kandinsky. คน้ เมือ่ 23 ตุลาคม 2558, จาก http://www.wikiart.org/en/wassily-kandinskyLiveRain. 2012. Wassily Kandinsky. คน้ เมือ่ 23 ตลุ าคม 2558, จาก http://www.liverain.com/wordpress/wassily-kandinsky/วกิ พิ เี ดีย. 2013. ศลิ ปะนามธรรม. ค้นเมื่อ 23 ตลุ าคม 2558, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/ศลิ ปะนามธรรมกระปุกดอทคอม. 2014. Google ร�ำ ลกึ ครบรอบ 148 ปี วาซีลี คันดิน สกี. คน้ เมือ่ 23 ตุลาคม 2558, จาก http://hilight.kapook.com/ view/112875วกิ พิ เี ดีย. 2014. วาซีลี คนั ดนิ สกี. คน้ เมอ่ื 23 ตุลาคม 2558, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/วาซลี _ี คนั ดินสกีPaul Farrell. 2014. Wassily Kandinsky: 5 Fast Facts You Need to Know. ค้นเมอื่ 27 ตลุ าคม 2558, จาก http://heavy.com/ news/2014/12/wassily-kandinsky-google-doodle-artist-birth- day/Nicoleh’s Art Class.2013. บทวิเคราะหจ์ ิตรกรรมชุดกองฟางของโมเน. คน้ เมอื่ 27 ตุลาคม 2558, จาก https://www.facebook.com/media/ set/?set=a.558626140852367.1073741869.444434438938205&- type=3 Wassily Kandinsky 39
Wikipedia. 2015. Phalanx (art group). คน้ เมอื่ 1 พฤศจิกายน 2558, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Phalanx_(art_group) วิกิพีเดยี . 2015. กลุ่มเบลาเออไรเทอร.์ ค้นเม่อื 1 พฤศจิกายน 2558, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/กลมุ่ เบลาเออไรเทอร์ วกิ ิพเี ดีย. 2015. เบาเฮาส.์ ค้นเมื่อ 1 พฤศจกิ ายน 2558, จาก https://th.wikipedia.org/wiki/เบาเฮาส์ The Editors of Encyclopædia Britannica. 2015. Die Blaue Vier. ค้นเม่ือ 1 พฤศจกิ ายน 2558, จาก http://global.britannica.com/ topic/Die-Blaue-Vier Designer. 2009. Degenerate Art. ค้นเม่ือ 1 พฤศจิกายน 2558, จาก http://www.designer.co.th/1293 Wikipedia. 2015. Haystacks (Monet series). คน้ เม่ือ 1 พฤศจกิ ายน 2558, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Haystacks_(Mon- et_series) เอมิลา ภมรานนท์. การศึกษาการใชศ้ ลิ ปะนามธรรมในการออกแบบงานเลข นศิลป.์ วทิ ยานพิ นธป์ รญิ ญาศลิ ปมหาบัณฑิต ภาควิชาการออกแบบ นิเทศศิลป์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร, 2554. the Mozart Project. 2006. ศลิ ปะแบบ Expressionism. คน้ เมือ่ 1 พฤศจกิ ายน 2558, จาก http://m0zart.exteen.com/40 Wassily Kandinsky
Search
Read the Text Version
- 1 - 49
Pages: