เขยี นและเรยี บเรียงโดย นายจริ ายุ ลือสกล รหสั นกั ศึกษา 13580466คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร มหวทิ ยาลัยศิลปากร
ข้อความจากผ้เู ขียน หากใครเคยไดย้ ินคำ� วา่ ป๊อป อารต์ หรือศิลปะประชานยิ มคงตอ้ งสงสัยไมน่ อ้ ยวา่จะเปน็ ศิลปะรปู แบบใด และเมื่อไดร้ ับชมผลงานปอ๊ ป อารต์ ก็อาจเกิดคำ� ถามภายในใจวา่ศิลปะรูปแบบน้ีท�ำไมถึงได้มาแทนทศ่ี ลิ ปะลัทธอิ ่ืนๆทีม่ ีความวิจิตรงดงามกว่า มคี วามหมายลึกซง้ึ กวา่ และดมู คี ุณค่ามากกวา่ แต่ศิลปะก็คอื การคน้ หาส่งิ ใหม่ๆ ลบล้างสงิ่ เกา่ ป๊อปอาร์ตได้พสิ ูจน์แลว้ ว่าศลิ ปะไมจ่ �ำเป็นต้องเปน็ ภาพวาดเก่ียวกบั เทพนิยาย ศาสนา หรอื การปลดปลอ่ ยอารมณผ์ า่ นการวาดภาพ แตส่ ามารถเป็นเรือ่ งราวในชวี ติ ประจ�ำวนั เหตุการณ์สำ� คัญในตอนนัน้ หรอื สง่ิ ทีก่ ำ� ลังเป็นทน่ี ยิ มในคนหมูม่ ากในขณะนน้ั ได้ แต่ทวา่ ใครคือคนที่บกุ เบกิ ศิลปะรูปแบบน้ที า่ มกลางศลิ ปะในช่วงท่กี �ำลงั ก้าวสยู่ ุคสมัยใหม่ สมัยทอี่ ตุ สหากรรมก�ำลงั เจริญเติบโต ประชาชนใช้ชีวติ แบบบริโภคนยิ ม ปัจจบุ ันหากกล่าวถงึ ปอ๊ ป อารต์ ทุกคนคงนกึ ถงึ Roy Lichtenstein, Andy War-hol และคงนึกถงึ เขาคนนดี้ ้วยผู้เป็นกญุ แจสำ� คัญของศิลปะปอ๊ ป อาร์ตRichard Hamilton ชายผสู้ รา้ งสรรคผ์ ลงานให้กับโลกอย่างมากมายมหาศาล และมีความสำ� คัญอย่างยิง่ ในวงการศลิ ปะ หากท่านต้องการทจ่ี ะรูจ้ กั ชายคนน้มี ากย่งิ ข้นึ กข็ อเชญิ เปดิอ่านหนงั สือเล่มน้โี ดยพลัน ถา้ หากเนอื้ หาขอ้ มลู ภายในหนังสือเล่มน้ีผิดพลาดประการใด ผูุ้จดั ท�ำขออภยั มา ณ ทน่ี ี้ด้วย นายจิรายุ ลือสกล ผู้เขียนและเรยี บเรยี ง
สารบญั เลขหน้า คำ� นำ� 2ใครคือ Ricahrd Hamilton ? 4Pop Art คืออะไร ? 6ชีวประวัติของ Ricahrd Hamilton 8รวมผลงานส�ำคญั 22บรรณานุกรม 32
ริชารด์ แฮมลิ ต้นั คือใคร ? รชิ ารด์ แฮมิลตัน้ คอื ศลิ ปินป๊อป อารต์ ชาวองั กฤษ เปน็ ทัง้ นกั วาดภาพและนกั ตดัแปะภาพ ผู้ริเริม่ บกุ เบิก ศิลปะปอ๊ ป อารต์ มาสปู่ ระเทศองั กฤษ เขาไดส้ รา้ งผลงานมากมายทั้งภาพวาดและภาพตัดแปะจนได้รับความนิยมอย่างมากในชว่ งปี 1950 – 1960 โดยมกั จะสรา้ งผลงานท่ีประชดประชนั เสยี ดสีเรอ่ื งตา่ งๆในชีวติ ประจ�ำวนั สงั คมสมยั นน้ั เป็นตน้ ผลงานของเขาหลายช้ินถกู ยกยอ่ งว่าเปน็ สัญลักษณข์ องปอ๊ ป อารต์ แม้ปัจจุบันรชิ ารด์ แฮมิลตั้นจะเสยีชีวติ ไปแล้ว แตผ่ ลงานของเขากย็ ังคงไดร้ บั ความชื่นชอบอยเู่ สมอจนถงึ ปจั จบุ ัน บางคนถึงกบัยกย่องเขาวา่ เป็น “Father of Pop Art”Born : 24 February 1922 Hometown : Pimlico, London, EnglandDied : 13 September 2011 Aged : 89 5
ป๊อป อารต์ คอื อะไร ? ป๊อปอารต์ หรือ ศลิ ปะประชานยิ ม เป็นปรากฏการณข์ องศิลปะทีเ่ ร่มิ ตน้ ในช่วงราวกลางทศวรรษ 1950 ในประเทศอังกฤษ และลามไปยังอเมริกาในช่วงปลายทศวรรษ 1950โดยได้รบั ความนิยมจากผู้ชมมากมาย จากการทีล่ อ้ เลยี น เสียดสี และสะท้อนสังคมแบบบรโิ ภคนยิ มในสมัยนนั้ ไดเ้ จบ็ แสบและแปลกตาผ้ชู ม โดยมผี ้รู เิ ร่ิมในอังกฤษคอื EduardoPaolozzi และ Richard Hamilton ศลิ ปินกล่มุ นีม้ ีความเช่อื ทางศลิ ปะว่าศลิ ปะจะตอ้ งสรา้ งความตื่นเตน้ อย่างฉบั พลนัทันใดแก่ผพู้ บเห็น ดังนน้ั เน้อื หาศลิ ปะของป็อปอาร์ตจึงเปน็ เรือ่ งราวท่เี กย่ี วขอ้ งกบั ผู้คนท่ัวไปโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรอื่ งราวเกี่ยวกบั ผ้คู นและสงั คมในปจั จุบนั ท่ีกำ� ลังได้รับความสนใจหรอืวพิ ากษ์วจิ ารณใ์ นขณะนนั้ ซงึ่ อาจนบั วา่ เปน็ ผลต่อยอดของการเปลย่ี นทศิ ทางและแนวทางศลิ ปะมาต้งั แต่ศลิ ปะแนวสัจนยิ ม (Realism) เห็นได้จากเนอ้ื หาจะเริม่ ไม่เก่ียวขอ้ งกบัเทพนิยาย ประวตั ศิ าสตร์ หรอื ศาสนา เหมือนกบั งานศิลปะในยุคกอ่ นหนา้ และเพ่อื ใหก้ ารสะท้อนเรอ่ื งราวท่ปี รากฏในปัจจุบนั ในยุคท่ที ุกสงิ่ เร่มิ มาจากระบบอุตสาหกรรมและให้ความรสู้ กึ ในความเป็นปจั จบุ นั อย่างแทจ้ ริง ศิลปินปอ็ ปอารต์ มักจะใชว้ สั ดจุ ริง หรือการปะติดในการสร้างผลงาน จึงเป็นท่ีมาของเอกลกั ษณ์ของปอ๊ ป อาร์ต และของศิลปินหลายๆคนท่ีหยิบยืมเอาส่ิงท่มี ีอย่แู ลว้ ในท้องตลาดมานำ� เสนออย่างมชี วี ติ ชีวและสสี ันฉุดฉาดดังเชน่ คนสว่ นใหญใ่ นสมัยนั้น ส่วนท่มี าของช่อื ปอ๊ ป อาร์ตนั้น หลายคนเชอื่ มาจาก Popular แต่วา่ กม็ บี างกระแสที่เช่อื ว่า มาจากผลงานของ รชิ าร์ด แฮมลิ ตัน ทชี่ ื่อว่า Just what is it that makestoday’s homes so different, so appealing? โดยมาจากค�ำวา่ Pop ทอี่ ย่บู นอมยิม้ ของผชู้ ายในภาพ 9
ประวตั ิของริชารด์ แฮมิลตัน้ รชิ าร์ด แฮมิลตั้นเกดิ ในย่าน Pimlico ในกรงุ ลอนดอน ประเทศองั กฤษ ตอนเขาอายุ 15 ปี เขาออกจากโรงเรียนมาทำ� งานเป็นผ้ชู ่วยของวศิ วกรไฟฟา้ ในบริษทั ผลิตเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า และใช้เวลาในชว่ งตอนเยน็ เรียนศิลปะทโ่ี รงเรยี นสอนศลิ ปะ Saint Martin (SaintMartin’s School of Art) และทีน่ ี่เองท่ที �ำใหเ้ ขาคน้ พบพรสวรรค์ทางด้านศลิ ปะ เขาจงึ เร่ิมอยากจะไปศกึ ษาตอ่ ในสถาบันศิลปะ Royal Academy หรอื Royal Academy of Arts 11
จนกระทงั่ ปี 1938 เขาอายุ 16 ปี มากพอท่จี ะเขา้ ศึกษาที่ Royal Academy แต่เรียนไดไ้ ดเ้ พยี ง 2 ปีกต็ ้องหยุดเรียนเพราะสงครามโลกครัง้ ที่ 2 จงึ ตอ้ งไปทำ� งานเปน็ พนกั งานเขยี นแบบอตุ สาหกรรม ทำ� งานร่วมกบั วศิ วกรและนกั วิทยาศาสตร์ทีบ่ รษิ ทั EMI กลมุ่ ธุรกิจและคา่ ยเพลงทม่ี ชี ือ่ เสยี งในอุตสาหกรรมเกย่ี วกับการบนั ทึกเสยี ง เขาทำ� งานทีน่ ่เี ปน็ เวลา 5 ปีมกี ารพฒั นาความสนใจทางดา้ นเทคโนโลยมี ากข้นึ เรอื่ ยๆ จนกระทงั่ ปี 1946 แฮมลิ ต้นั ตัดสนิใจต้ังใจกลับไปศกึ ษาต่อท่ี Royal Academy ให้จบ แตเ่ พยี งเพราะเขาตอ่ ตา้ นในวธิ กี ารสอนของคณุ ครู หลังจากนั้น 2 ปตี อ่ มาเขาไดม้ าเรียนท่ี Slade School of Art ขณะท่ีเรยี นอย่ทู น่ี ี่เขาสนใจศิลปะภาพพมิ พ์อยา่ งมาก และได้มโี อกาสศึกษาหนงั สือนิยายเร่อื ง Ulysses ของJames Joyce เขาจงึ ไดท้ �ำการเริ่มสรา้ งชดุ ผลงานภาพพมิ พ์ตวั ละครเรอ่ื ง Ulysses (โดยเสร็จหมดทกุ ภาพในช่วงปี 1998)In Horne’s house Buck Mulligan 12
เขารำ�่ เรยี นและฝกึ ฝนมาตลอดจนกระทง่ั ปี 1951 ก็เรียนจบมาได้ แฮมิลตน้ั กเ็ ร่ิมทำ� งานอยทู่ ่พี พิ ิธภณั ฑ์ศิลปะร่วมสมยั ในลอนดอน (Institute Of Contemporary Arts) โดยมหี น้าทดี่ แู ลพพิ ธิ ภณั ฑ์และออกแบบโปสเตอร์หรือใบปลวิ และยงั ได้มีส่วนร่วมในนิทรรศการจดั แสดงผลงานชื่อ Growth and Form ในปี 1951 และอกี คร้งั กบั นิทรรศการ Man,Machine and Motion ในปี 1955 และนอกจากทำ� งานทพ่ี ิพธิ ภัณฑแ์ ล้วเขายังมีอาชีพเปน็อาจารย์อยู่ที่ Central School of Arts อีกดว้ ย Institute of Contemporary Arts Growth and Form Man, Machine and Motion 13
ในป1ี 952 พิพธิ ภัณฑ์ท่ีเขาทำ� งานอยู่ถูกใช้เปน็ สถานท่ีจดั ประชุมคร้ังแรกของกลมุ่คนที่ใชช้ ือ่ กลุม่ ว่า Independent Group พวกเขาคือกลมุ่ คนหัวสมัยใหม่ ต้องการส่ิงใหม่ๆโดยกลุ่มนรี้ วบรวมสมาชิกหลากหลายรูปแบบทั้ง จติ กร ประติมากร สถาปนิก นกั เขยี น นกัวจิ ารณ์ เปน็ ตน้ โดยมีบุคคลส�ำคัญในกลุ่มคือ Eduardo Paolozzi ศิลปนิ ขาวสกอตแลนด์(อีกหน่งึ ผุ้บกุ เบกิ ศลิ ปะลัทธิ Pop Art) แฮมลิ ต้นั จึงได้รู้จกั กบั เปาลอซซี ่ และเขา้ ร่วมกบัIndependent Group Eduardo Paolozzi 14
ทำ� ใหแ้ ฮมลิ ตั้นได้ พบปะ แลกเปลีย่ น และได้รบั ความร้มู ากมาย และมโี อกาสจัดนทิ รรศการของตัวเองอยู่บอ่ ยๆในหลายท่ี ต่อมาในปี 1955 แฮมิลต้นั จดั แสดงผลงานในนทิ รรศการทชี่ ่ือว่า Man, Machine and Motion โดยแสดงท่ี Hatton Gallery เป็นทแ่ี รกผลงานชิ้นน้ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ ฝมี อื ของแฮมลิ ตัน้ น้ันเข้าขนั้ มากพอ ในปีเดยี วเขายังได้มโี อกาสจดันทิ รรศการของเขาเองโดยเฉพาะท่ี Hanover Gallery ใน London ท�ำให้ในปีต่อมาแฮมลิ ตนั้จึงได้รบั เชิญใหแ้ สดงผลงานของตัวเองท่ี the Whitechapel Gallery ใน Londonนทิ รรศการช่อื ว่า This Is Tomorrow และแฮมิลต้นั ก็ได้สรา้ งผลงานซง่ึ ถือวา่ เปน็ ผลงานทีย่ งิ่ใหญท่ ่ีสุดของเขาเลยคือผลงานท่มี ีช่อื ว่า Just what is it that makes today’s homes sodifferent, so appealing? หลงั จากภาพนถ้ี ูกแสดงก็ไดร้ ับความนยิ มเปน็ อยา่ งมาก ผลงานและนิทรรศการนีจ้ งึ ถูกมองว่าเป็นเหมอื นกา้ วแรกของศลิ ปะ Pop Art ที่มาสู่ประชาชน และขยายและส่งอิทธิพลตอ่ ศิลปนิ มากมายในองั กฤษ 15
หลังจากผลงานของเขาประสบความสำ� เรจ็ แฮมลิ ตน้ั ไดร้ บั เชญิ ไปเป็นอาจารย์สอนศิลปะที่ Royal College of Art เขาไดป้ ั้นศิลปนิ มากมายในมหาวทิ ยาลยั แหง่ นีเ้ ชน่ DavidHockney, Peter Blake เป็นต้นDavid Hockney Peter Blake แฮมิลตน้ั ไมเ่ คยหยดุ สร้างผลงานดๆี ออกมา เขาจงึ ได้รับความนิยมมากขน้ึ เรื่อยๆและผลงานของเขาก็ไดร้ บั ความนยิ มจากผู้ชมมากขึ้นเช่นกันHers Is a Lush Situation (1957) Pin-up (1961)...Together let us explore the stars (1962) 16
ปี 1962 ภรรยาของแฮมิลตั้น Terry O’Reilly ประสบอบุ ัติเหตุทางรถยนตเ์ สยี ชวี ิตเพือ่ ฟน้ื ฟสู ภาพจิตใจ แฮมลิ ตั้นจงึ ตัดสินใจเดนิ ทางไปที่อเมรกิ าเพือ่ ไปชมผลงานของผ้ใู หแ้ รงบนั ดาลใจแกเ่ ขาในการสร้างผลงานศลิ ปะ Marcel Duchamp ที่ Pasadena Art Museumแฮมลิ ต้ันช่นื ชอบผลงานของดวู ช์ อ็ งมาตลอด ทนี่ ั่นเขาไดพ้ บกบั ผ้นู �ำศิลปินผู้น�ำลัทธิปอ๊ ป อารต์มากมาย และได้รจู้ กั กับมาแซล ดชู ็อง หลงั จากกลบั จากอเมรกิ าเขาจงึ ตัดสินใจสร้างผลงานกอ๊ ปป้ีของดูว์ช็องข้ึนมาคือ The Large Glass ซึง่ อย่ใู นชดุ ผลงาน The Bride StrippedBare by Her Bachelors, Even ของดูวช์ ็อง และได้จดั แสดงท่ี Tate Gallery ในปี 1966 Marcel Duchamp The Large Glassby Marcel Duchamp by Ricahrd Hamilton 17
เขาน�ำสงิ่ ต่างๆรอบตัวทเ่ี ปน็ ที่นยิ มในสมัยนน้ั มาใส่ในผลงานของเขาจนถูกมองวา่เปน็ ศิลปินป๊อป อาร์ตคนสำ� คญั ทีส่ ดุ คนหนีง่ เลยทเี ดียวAdonis in Y fronts (1963) A little bit of Roy Lichtenstein for ... (1964) Interior II (1964)Interior (1964) 18
ปี 1965 เขาได้นำ� ผลงานใหมอ่ กี ชน้ิ ออกมาสู่สาธารณชนชื่อวา่ My Marilyn หลังจากมารลิ นิ มอนโร เสยี ชีวติ ไป 3 ปี 19
นอกจากนั้นแฮมิลตัน้ ยงั ได้เป็นเพอื่ นกับนักดนตรที กี่ ำ� ลงั โดง่ ดงั เปน็ ที่นยิ มทส่ี ดุ ในยคุนนั้ คือ Paul McCartney แหง่ วง The Beatles และได้ช่วยพอลออกแบบหน้าปกอลั บ้ัมท่ีจำ� หน่ายในปี 1968 ข่ือวา่ White Album เช่นเดียวกับลกู ศษิ ย์ของเขา Peter Blake ท่ไี ด้ออกแบบปกอลั บั้ม Sgt. Pepper’s Lonely Hearts Club Band ของ The Beatles ที่จำ� หนา่ ยในปี 1967 ในช่วงปี 1970 แฮมิลตัน้ ไดต้ ดั สนิ ใจย้ายไปอาศัยอยทู่ ่ีฟารม์ ในแถบ Oxfordshireกบั ภรรยาในอนาคตของเขา Rita Donagh ในชว่ งนี้ แฮมลิ ตั้นเร่ิมมีความสนใจและตอ้ งการสืบหาคำ� ตอบในการผสานเทคนิคการวาดและการถา่ ยภาพใหล้ งตวั ที่สดุ และเขาก็เริม่ เดินเขา้ใกลค้ �ำตอบมากขน้ึ เรอ่ื ยๆ ซับซอ้ นและมสี ไตล์เปน็ ของตนเองมากขนึ้ 20
แม้วา่ อายเุ ขาจะมากขึน้ เร่ือยๆแตแ่ ฮมลิ ตนั้ ไม่เคยทจ่ี ะหยุดพัฒนาและมกั จะมอบโอกาสหลายอย่างใหก้ บั ตวั เองอยูเ่ สมอ ช่วง 1980 เขารับงานออกแบบอุปกรณท์ างอุตสาหกรรมทเ่ี ขาเคยสนใจเมอื่ ก่อน โดยเขาได้ออกแบบภายนอกเครื่องคอมพวิ เตอร์ 2เครอ่ื งคือ OHIO (1984) และ Diab DS-101 (1986) ในขณะเดยี วกนั เขาก็ได้ผลิตผลงานทางศิลปะออกมาดว้ ยเชน่ กัน ในปี 1981 เขาเร่มิลงมอื สร้างผลงานเปน็ ไตรภาคออกมาช่ือว่า Northern Ireland ประกอบดว้ ย The Citizen(1981-83), The Subject (1988-90) และ The State (1993) โดยมสี าเหตมุ าจากปญั หาความขดั แย้งของกลุ่มกอ่ ความไมส่ งบ IRA ในไอร์แลนด์เหนอื 21
หากยังจำ� ไดใ้ นสมยั ท่เี ขาได้เข้าศึกษาท่ี Slade School of Art เขาได้สร้างชดุ ผลงานตวั ละครในหนังสือนยิ ายเร่ือง Ulysses ของ James Joyce ไว้ ปี 2002 British Muse-um ไดจ้ ัดนทิ รรศการผลงานชุดนโี้ ดยใชช้ อ่ื นิทรรศการวา่ Imaging Ulysses เปน็ ความบงั เอญิอยา่ งย่ิงที่ในปีนน้ั เป็นปที แี่ ฮมลิ ต้ันอายคุ รบ 80 ปีพอดี เชน่ เดยี วกับหนังสือนยิ ายของ JamesJoyce ก็มีอายุครบ 80 ปีเชน่ กนั แฮมลิ ต้ันอธบิ ายในหนงั สือภาพของเขาวา่ แนวคิดการวาดUlysses มาจากตอนสมยั ทีเ่ ขาเรยี นอยู่ที่ Slade School of Art โดยเขาน้นั มกั จะปรบั แต่งและท�ำผลงานซ�้ำไปมาเรื่อยๆ จนวันหนง่ึ เขาคดิ วา่ ยิง่ เขาวาดใหม่และปรบั แต่งเทา่ ไหร่ภาพตัวละคร Ulysses ของเขายง่ิ ใกลเ้ คียงกับเทคนคิ การเขยี นของ James Joyce เทา่ น้นั นอกจากที่ British Museum แล้วผลงานชุดนีย้ งั ได้จดั แสดงที่อนื่ อีกดว้ ยท้ัง Irish Museum ofModern Art (Dublin ประเทศไอร์แลนด์) และ Museum Boijmans van Beuningen(Rotterdam ประเทศฮอลแลนด์) 22
ในช่วงชีวติ ของเขาไดส้ รา้ งผลงานและมีอทิ ธิพลต่อวัฒนธรรมการใช้ชีวิตของผู้คนมากมาย น�ำเอาความช่นื ชอบหรอื ความนิยมของคนสว่ นใหญม่ าใชเ้ ป็นประเด็นในการสือ่ สารผ่านผลงานศลิ ปะ เขาได้รบั เกียรติในการจัดแสดงผลงานนบั คร้งั ไมถ่ ว้ น และเคยได้รบั รางวัลมามากมาย เชน่ William and Noma Copley Foundation Award, John MooresPainting Prize, Talens Prize International, Leone d’Oro, Arnold Bode Prize และรางวัลอืน่ ๆอีกมากมาย แฮมิลตนั้ เสยี ชวี ติ ในวนั ท่ี 13 กนั ยายน ค.ศ. 2011 ดว้ ยอายุ 89 ปี โดยทางครอบครัวไมไ่ ด้เปิดเผยสาเหตุการตาย แตม่ บี างกล่มุ เชื่อวา่ เขาปว่ ยและตายด้วยโรคชรา น่าเสยี ดายท่เี ขาไม่สามารถท�ำงานชน้ิ สุดท้ายในชวี ิตเขาให้เสร็จ ผลงานก่อนตายทเ่ี ขาก�ำลงั ทำ� อยู่มชี ื่อวา่ Le chef d’oeuvre inconnu – a painting in three parts เป็นภาพปรน้ิ ท์สขี นาดใหญส่ ามชิ้นทีถ่ กู สรา้ งดว้ ยโปรแกรม Photoshop แม้จะยังทำ� ไม่เสร็จหลงั จากแฮมิลตน้ั เสียชวี ิตลง ก้ได้มีคนนำ� ภาพพวกน้นั ปรนิ้ ท์ออกมาจัดแสดง ถือเปน็ ผลงานชิ้นสดุ ท้ายของแฮมลิ ตนั้ในวงการศิลปะป๊อป อาร์ต 23
ผลงานของรชิ ารด์ แฮมลิ ต้นั รชิ าร์ด แฮมลิ ต้นั นน้ั มเี อกลกั ษณ์ทางผลงานทไ่ี ม่เปน็ รองใคร ประเด็นของผลงานเขามักจะเปล่ียนอยูเ่ สมอ นเี่ ปน็ ส่งิ ทเี่ ขาไดเ้ รยี นรู้หลังจากพบกับ Marcel Duchamp และผลงานของยงั ถกู สร้างออกมาหลากหลายรปู แบบท้ัง ภาพพมิ พต์ า่ งๆ ภาพวาด ภาพถา่ ย ภาพตัดแปะศิลปะการจดั วาง และชว่ งหลังกไ็ ด้สรา้ งผลงานผ่านคอมพิวเตอรอ์ กี ดว้ ย ในชว่ งปี 50 - 60 ผลงานของเขามกั จะเก่ียวขอ้ งกบั ส่ิงตา่ งๆรอบตวั ในชวี ติ ประจำ� วนัเพราะเขาปราถนาทจี่ ะใส่ส่วนประกอบในชีวิตประจ�ำวนั ทั้งหมดลงในผลงาน เพ่อื ต้องการเสียดสปี ัจจบุ ันของเขา โดยมกั จะใช้วสั ดุจริงๆมาสรา้ งผลงานแทนการวาดภาพ ผลงานของเขาดมู อี ารมณข์ ันในงานเปน็ อย่างมาก แต่ก็มกี ารเสียดสี ประชดชนั ที่เจบ็ แสบมากๆ เปรียนเสมือนกบั ผูช้ มกำ� ลงั หัวเราะอยู่ เขากเ็ ดนิ ออ้ มมาตบหวั ผู้ชมจากขา้ งหลงั ผลงานของเขาหลายชน้ิ ได้รบั ความนยิ มมากเสยี จนเปน็ สญั ลักษณ์ประศิลปะปอ๊ ปอาร์ตไปแลว้ วนั น้ีเราจะนำ� ผลงานบางชิ้นของเขามาให้ไดร้ ้จู ักกนั เป็นบทความสง่ ท้ายขอบพระคณุ ทก่ี รุณาอา่ นจนจบ 25
“Just what is it that makes today’s home’s so different, so appealing?” ปี 1956 ภาพตัดแปะบนกระดาษ ภาพน้เี ปน็ ผลงานชิ้นเอกของแฮมิลตน้ั เลยก็วา่ ได้ โดยสร้างข้นึ เพือ่ แสดงในนทิ รรศการร This is Tomorrow เม่ือปี 2004 ไดถ้ กู ปรบั ปรงุ ให้ดีขน้ึ โดยแฮมิลตั้นเองและเปลี่ยนขอ่ื เป็น Just what was it that made yesterday’s homes so different, soappealing? 26
“Towards a definitive statement on the coming trends in menswear and accessories (a) Together let us explore the stars” ปี 1962 ภาพสีน�้ำมัน สเี ซลโู ลสและภาพพมิ พ์บนแผน่ ไม้ บคุ คลในภาพน้ีคอื ภาพของ John F. Kennedy ท่ีในชณะน้ันกำ� ลังเรมิ่ โปนเจคไปเหยบี ดวงจันทร์เป้นครงั้ แรกของโลก แฮมิลตัน้ ตอ้ งการส�ำรวจว่าแฟช่ันและความเป็นชายนัน้ ขน้ึอยูก่ บั เทคโนโลยใี นสภาพแวดล้อมของโลกหรือไม่ และก�ำลงั สงสัยในวัฒนธรรมนิยมสมัยนน้ัเป็นอย่างมาก 27
“Interior” ปี 1964 ภาพตัดแปะบนกระดาษ ภาพน้มี าจากภาพยนตร์เรอ่ื ง Shockproof (1949) ก�ำกัยโดย Douglas Sirkแฮมิลตน้ั บังเอิญพบเจอภาพถา่ ยจากภาพยนตร์บนพื้นหอ้ งเรยี นเรียนที่เขาสอนอยู่ และประหลาดใจกบั การจัดวางองคป์ ระกอบภาพนมี้ าก จงึ ได้ทำ� การสร้างผลงานเลียนแบบโดยทำ�เป็นเอกลกั ษณ์ของเขาเอง 28
“Interior II” ปี 1964 ภาพสีน�ำ้ มัน สีเซลูโลสและภาพพมิ พบ์ นกระดาน เชน่ เดียวกับภาพก่อนหนา้ เปน็ ตัวละครจากภาพยนตร์เรอื่ งเดียวกัน โดยภาพน้ีเลยี นแบบจากซนี หนง่ึ ของหนัง 29
“My Marilyn” ปี 1965 ภาพพมิ พ์บนกระดาษ ในปปี ี 1964 หลงั จาก Marilyn Moroe เสียชีวติ ไป 2 ปี แฮมลิ ต้นั ถ่ายภาพเธอจากนิตยสาร และทำ� การพมิ พ์ออกมา จากน้นั ก็ตดั แปะภาพและวาดสลี งเพ่มิ เติม 30
“Just what is it that makes today’s homes so different?” ปี 1992 ภาพพิมพ์บนกระดาษ คอื ผลงานรเี มคจากผลงานช้นิ เอกของเขาในปี 1956 เพราะปอ๊ ป อารต์ คือการเอาวฒั นธรรมในปัจจบุ นั มาสรา้ งผลงาน ภาพนจ้ี งึ ไม่ใช่การตัดภาพจากนติ ยสารมาแปะ แตเ่ ปน็ ตดัแปะภาพในคอมพิวเตอร์แลว้ จงึ พิมพ์ออก โดยผา่ นโปรแกรม Quantel Paintbox 31
“The Heaventree of Stars” ปี 1998 ภาพพิมพ์บนกระดาษ เดอะ เฮฟเว่นทรี ออฟ สตาร์ เปน็ ภาพชายหญงิ สองคนนอนบนเตียงแบบกลับหัวกันโดยงานชนิ้ นถี้ กู รวมอยใู่ นชดุ ภาพตัวละคร Ulysses ของ James Joyce ซงึ่ แฮมลิ ตัน้ เริม่ ทำ�ตั้งแต่ปลายทศวรรษ 40 32
“Le chef d’oeuvre inconnu – a painting in three parts” ปี 2011 ภาพพิมพ์บนกระดาษ แม้แฮมลิ ต้ันจะยงั ท�ำไมเ่ สร็จ แต่ผล งานนถ้ี อื วา่ เป้นผลงานชิ้นสดุ ทา้ ยของแฮ มลิ ตัน้ ก่อนจะเสยี ชวี ติ ดว้ ยอายุ 89 ปี แลว้ ปตี อ่ มา 2012 ภาพนี้จึงค่อยถกู พิมพ์ ออกมาส่สู าธารณชน ภาพนเ้ี ปน็ ภาพมาจากเรื่องสนั้ เรื่อง Le Chef-d’oeuvre inconnu หรอื The Unknown Masterpiece ของ Honoré de Balzac โดยในตอนแรกแฮมลิ ตน้ั ต้ังใจ จะท�ำแค่ภาพเดยี ว แตส่ ดุ ทา้ ยก็ได้แยกออก มาทำ� ทงั้ หมด 3 ภาพด้วยกนั 33
บรรณานุกรมArtnet Worldwide Corporation. Richard Hamilton. สบื ค้นเมือ่ 19 เมษายน 2559,จาก http://www.artnet.com/artists/richard-hamilton/.Artsy. Richard Hamilton. สบื คน้ เมือ่ 19 เมษายน 2559, จาก https://www.artsy.net/artist/richard-hamilton/works.Fiona MacCarthy. (7 February 2014). Richard Hamilton: they called him Daddypop. สืบคน้ เม่อื 18 เมษายน 2559, จาก http://www.theguardian.com/artandde-sign/2014/feb/07/richard-hamilton-called-him-daddy-pop.Laura Cumming. (16 February 2014). Richard Hamilton – review. สืบค้นเม่ือ 18เมษายน 2559, จาก http://www.theguardian.com/artanddesign/2014/feb/16/richard-hamilton-tate-modern-ica-review.Marina Vaizey. (14 October 2012). Richard Hamilton: The Late Works, NationalGallery. สืบค้นเมื่อ 18 เมษายน 2559, จาก http://www.theartsdesk.com/visual-arts/richard-hamilton-late-works-national-gallery.MATTHEW ISRAEL. (3 Feb 2015). What Makes Richard Hamilton the First PopArtist?. สบื ค้นเมอ่ื 19 เมษายน 2559, จาก https://www.artsy.net/article/matthew-what-makes-richard-hamilton-the-first-pop. 34
บรรณานกุ รมNorbert Lynton. (13 September 2011). Richard Hamilton obituary. สืบค้นเมอื่ 24เมษายน 2559, จาก http://www.theguardian.com/artanddesign/2011/sep/13/richard-hamilton-obituary.The National Gallery. Richard Hamilton: The Late Works. สืบค้นเม่อื 21 เมษายน2559, จาก https://www.nationalgallery.org.uk/whats-on/exhibitions/richard-hamilton-the-late-works.The Telegraph. (13 Sep 2011). Richard Hamilton. สืบคน้ เมอ่ื 18 เมษายน 2559, จากhttp://www.telegraph.co.uk/news/obituaries/culture-obituaries/art-obituar-ies/8760860/Richard-Hamilton.html.Terry Riggs. (December 1997). Richard Hamilton. สบื คน้ เม่ือ 21 เมษายน 2559, จากhttp://www.tate.org.uk/art/artists/richard-hamilton-1244Wikimedia Foundation, Inc. (11 April 2016). Richard Hamilton. สืบคน้ เม่อื 18เมษายน 2559, จาก https://en.wikipedia.org/wiki/Richard_Hamilton_%28ar-tist%29#cite_note-21.-. -. Richard Hamilton. สบื ค้นเมื่อ 18 เมษายน 2559, จาก http://www.hamilton-rich-ard.com/. 35
Search
Read the Text Version
- 1 - 38
Pages: