Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Andrew Wyeth

Andrew Wyeth

Published by Kachornpon, 2018-06-20 00:44:14

Description: Andrew Wyeth_13600283_กัลยรัตน์_เผยฉวี

Search

Read the Text Version

“ การตายของพ่อฉนั ผลกั ดนั ให้ฉันตอ้ งเขียนภาพทมี่ ีอารมณ์เศร้าสร้อยและเตม็ ไปดว้ ยความรู้สกึ อันลกึ ซงึ้ หนักหน่วง และมันก็กลายเปน็ สไตล์ทต่ี ิดตวั ฉันตลอดมา ” แอนดรูว์ ไวเอท

บทนำ� แอนดรูว์ ไวเอท เจา้ ของผลงานทีโ่ ด่งดงั อย่าง Christina’s World จิตรกรชาวอเมรกิ นัท่มี เี อกลักษณ์ในการสร้างผลงานทโ่ี ดดเด่นด้วยภาพทม่ี ักแสดงถงึ ความแหง้ แลง้ ไรส้ ีสันและเงียบเหงา เปน็ จิตรกรที่นำ�ประสบการณ์ความสูญเสยี ครง้ั ใหญ่ในชวี ิตของเขามาถ่ายทอดในงานศิลปะอย่างยาวนาน หนงั สือเลม่ น้เี ปน็ หนงั สอื ท่รี วบรวมประวัตแิ ละผลงานของแอนดรวู ์ ไวเอท แสดงใหเ้ ห็นถงึ อทิ ธิพลจากเหตกุ ารณ์การสูญเสยี บิดาในปี ค.ศ.1945 ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ทัศนคตใิ นการทำ�งานของเขาให้เปลีย่ นไปและกลายเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตวั ของงานเขา ผจู้ ัดท�ำ หวงั ว่าข้อมูลทงั้ หมดในหนงั สอื เล่มนจี้ ะเป็นประโยชนแ์ ก่ผูอ้ ่าน และทำ�ใหผ้ ู้อา่ นสนใจประวัตแิ ละผลงานของศลิ ปนิ แอนดรวู ์ ไวเอท มากขึน้ กลั ยรตั น์ เผยฉวี

สารบญั 4 1801 ประวตั ิศิลปนิ 2802 ผลงานช้ินส�ำ คญั 3803 ผลงานกอ่ นได้ร้จู กั การสูญเสยี 7004 ผลงานหลงั เผชิญความสญู เสีย05 บรรณานุกรม

01 ประวัตศิ ลิ ปนิ

Andrew Newell Wyeth แอนดรวู ์ ไวเอท เกิดเม่ือวันที่ 12 มถิ ุนายน ค.ศ.1917 เปน็ จิตรกรภาพเหมือนจรงิ ชาวอเมริกัน เขาเป็นหนึง่ ในศลิ ปินท่ีมีชอ่ื เสียงที่สุดในสหรฐั ฯ ในช่วงกลางศตวรรษท่ี 20 งานศลิ ปะของเขาส่วนใหญจ่ ะวาดภาพทิวทศั น์และผคู้ นรอบ ๆ ตัวเขา ทงั้ ในบ้านเกิดของเขาที่แชดสฟ์ อร์ดรฐั เพนซลิ เวเนีย และทบ่ี ้านในฤดูร้อนของเขาในคุชชิง รฐั เมน แอนดรูว์ ไวเอท เสยี ชีวติ ขณะมีอายุ 91 ปี ในวันที่ 16 มรกาคม ค.ศ.2009 ไวเอทมักจะกล่าวว่า “ฉนั วาดชีวติ ของฉนั ” 5

แอนดรวู ์ ไวเอท เปน็ บุตรชายของ แคโรลิน บอ็ คเกียส ไวเอท และเอ็น.ซ.ี ไวเอท ศิลปินและนักวาดภาพประกอบชาวอเมริกนั ไวเอทเปน็ น้องคนสดุ ท้องในบรรดาพน่ี อ้ งหา้ คน ไดแ้ ก่ เฮนเรียตต์แคโรลิน นาธาเนียล และแอน 6

ตอนเด็ก ๆ รา่ งกายเขาไม่แข็งแรงจนทำ�ใหพ้ ่อแม่ตอ้ งพาเขาลาออกจากโรงเรียนก่อนที่เขาจะเรียนจบช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 เขาเรียนกบั อาจารยส์ ่วนตวั ทพ่ี อ่ จา้ งให้มาสอนท่บี า้ น หากแตญ่ าติ ๆ และการสงั เกตคนในครอบครัวกม็ อบท้ังจินตนาการและความคดิ สร้างสรรค์ใหก้ ับเขา รวมถึงพี่น้องในบ้านไวเอทเชน่ กันที่ลว้ นกลายเปน็ ศิลปิน ตัวแอนดรูว์เองกร็ กั การวาดรปู ต้งั แตย่ ังเดก็ เขาสเกต็ ซ์ภาพเปน็ กอ่ นทีจ่ ะอา่ นหนังสอื ได้ เมอ่ื เป็นวยั รนุ่ พ่อของเขาพาเขาเขา้ สตดู ิโอเพือ่ ฝึกงานเขียนภาพประกอบ การฝกึ แบบดง้ั เดิม ประกอบดว้ ย การวาดรูปทรงเรขาคณิต การวาดภาพหุ่นน่งิ และหนุ่ ต้นแบบจากชวี ิตจรงิแล้ววาดอกี ครัง้ ตามจนิ ตนาการ พอ่ ของเขาถอื เปน็ แรงบันดาลใจสำ�คัญทท่ี ำ�ใหเ้ ขารกั การวาดภาพทิวทัศน์ชนบท รวมท้งั เซนสข์ องความโรแมนติก รสนยิ มและความสามารถทางศลิ ปะเขากล็ ว้ นได้รบั มาจากพ่อของเขา ถึงแม้การวาดภาพประกอบจะไม่ใชเ่ ส้นทางที่เขาต้องการ แต่เขาก็ยังทำ�ผลงานภาพประกอบหลายตอ่ หลายช้ินออกมาโดยใชช้ อื่ ของพอ่ ของเขา 7

ค.ศ.1933 แอนดรูว์ ไวเอท เร่ิมทำ�งานที่ฟารม์ Kuerner ใกล้ ๆ บ้านของเขาในแชดสฟ์อร์ด รัฐเพนซิลเวเนีย ฟารม์ น้เี ปน็ ของ Karl และ Anna Kuerner ชาวเยอรมัน ซ่ึงจะเปน็ ตน้ แบบส่วนใหญใ่ นการทำ�งานตลอดชีวิตท่ีเหลอื ของเขา ปเี ตอร์ เฮริ ด์ พีเ่ ขยของไวเอทและยงั เป็นนกั เรียนของพ่อเขา ไดแ้ นะน�ำ วธิ ีการใช้สฝี นุ่ ให้กบั ครอบครัวไวเอท จติ รกรท้ังสามคนทดลองเทคนิคสีฝนุ่ กนั และ แอนดรูว์ ไวเอท คือคนแรกที่วาดสฝี ุ่นได้เสร็จสมบูรณ์ เป็นภาพเหมอื นของลูเป้ สุนขั พันธ์ุบอสตันเทร์เรยี ร์ของเขา 8

ต่อมาเขาเปลย่ี นมาใช้สนี ้ำ�ในการวาดภาพ ดว้ ยฝีแปรงทเี่ ด็ดขาด ฉับไว ชุ่มฉ่ำ�และรุ่มรวยด้วยสสี ัน พออายุได้ 20 ปี ไวเอทมงี านแสดงเดยี่ วภาพวาดสีน้ำ�ครง้ั แรกในแกลเลอร่ี Macbethนิวยอร์ก ผลงานของเขาไดร้ ับการสนใจอยา่ งล้นหลาม ภาพวาดทกุ ชิน้ ขายหมดในเวลาแค่สองวันและเขาก็กลายเป็นศลิ ปินดาวร่งุ นบั ตั้งแตน่ ้นั ภาพวาดสนี ำ้�โดย แอนดรูว์ ไวเอท จดั แสดงอยูท่ ี่ Macbeth Gallery, New York เขียนขึน้ เมื่อวนั ท่ี 19 ตลุ าคม ถึงวันที่ 1 พฤศจกิ ายน ค.ศ.1937 9

หลังจากนัน้ แอนดรวู ก์ เ็ รม่ิ เปลี่ยนวธิ กี ารทำ�งาน โดยเขียนใหช้ ้าลง ใส่ใจกับรายละเอยี ดและองค์ประกอบมากขึ้น และลดความส�ำ คัญของการใช้สลี ง เขาหนั มาวาดภาพสนี ำ�้ โดยใช้เทคนิคแบบ dry brush และตอ่ มากพ็ ฒั นาไปใช้สฝี ุ่นเทมเพอรา (Egg Tempera – สีฝนุ่ ที่ใช้ไขแ่ ดงเปน็สว่ นผสมในการยดึ เกาะสี) นอกจากน้นั เขายังศกึ ษาประวัตศิ าสตร์ศลิ ปะด้วยตัวเอง เขาหลงใหลงานศิลปะยุคเรอเนสซองสแ์ ละงานจิตรกรรมของอเมรกิ ัน โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ผลงานของ วนิ สโลว์โฮเมอร์ (Winslow Homer) ภาพสีน้ำ�วาดโดย แอนดรวู ์ ไวเอท จัดแสดงที่ Currier Gallery of Art ในแมนเชสเตอร์รัฐนิวแฮมปเ์ ชียร์ นิทรรศการเด่ยี วคร้งั แรกของไวเอทจัดขนึ้ ท่ีพิพิธภัณฑ์ ซ่ึงมีภาพ Cat-O-NineTails ทเี่ ขียนขน้ึ ในปี ค.ศ.1938 รวมอยดู่ ว้ ย 10

แอนดรวู ์ ไวเอท ถกู จัดว่าเป็น “หนง่ึ ในศลิ ปนิ ท่อี ายุน้อยท่สี ุดและมีความสามารถมากทส่ี ุดคนหน่ึงของอเมริกา” ในนิตยสาร American Artist ฉบับเดือนพฤศจิกายน ค.ศ.1942หน้าที่ 17-18 11

ในวันที่ 19 ตลุ าคม ค.ศ.1945 เอน็ . ซี. ไวเอท พอ่ ของแอนดรวู ์ เสียชีวิตจากอบุ ตั เิ หตุรถไฟชนในขณะขบั รถข้ามทางรถไฟ ใกล้กับฟาร์ม Kuernerแอนดรวู ก์ ลา่ วว่า “การเสียชีวิตของพอ่ ฉัน ท�ำ ใหฉ้ นั ไดส้ ัมผัสกับส่งิ ท่อี ยเู่ หนือตวั ฉัน ส่งิ ทีค่ ิดและร้สู กึ สงิ่ ทม่ี ีความหมายเปน็ ทกุ สิง่ ทกุ อยา่ งส�ำ หรับฉนั ” (“My father’s death… put me intouch with something beyond me, things to think and feel, things that meanteverything to me.”) เหตุการณน์ ี้ส่งผลกระทบถงึ ชีวติ และทศั นคติในการท�ำ งานของเขาเปน็ อย่างมากทิวทัศน์ในภาพของเขาเปลยี่ นเป็นแหง้ แลง้ ไรส้ สี นั และเงยี บเหงา บุคคลทป่ี รากฏในภาพมกั จะเตม็ ไปด้วยอารมณ์ที่ลกึ ลบั ขมขน่ื และสะเทือนอารมณ์ เขากล่าวในภายหลงั ว่าการตายของพ่อเขา “ผลักดัน” ใหเ้ ขาต้องเขียนภาพที่มอี ารมณ์เศร้าสรอ้ ยและเต็มไปด้วยความรสู้ กึ อันลกึ ซงึ้หนักหนว่ ง และมนั ก็กลายเป็นสไตล์ที่ติดตวั เขาตลอดมา 12

เขาได้รบั การยกใหเ้ ทียบเคยี งกับศิลปินอเมริกันระดบั ต�ำ นานอยา่ ง เอ็ดเวริ ด์ ฮอปเปอร์ ในช่วงปี 1950 และ 60 แอนดรูว์ ไวเอท ปรากฏตวั บอ่ ย ๆ ในนิตยสารชั้นนำ�อย่างTime และ Life ในฐานะศลิ ปินยอดนยิ มของอเมรกิ า ผลงานของเขาถูกสะสมโดยพิพธิ ภณั ฑช์ นั้นำ�หลายตอ่ หลายแห่ง อาทิ พิพิธภณั ฑ์ศิลปะสมัยใหม่ นวิ ยอร์ก (MoMA) พพิ ธิ ภณั ฑ์ศิลปะเมโทรโพลแิ ทน (Metropolitan Museum of Art), พิพธิ ภัณฑว์ ทิ นีย์ (Whitney Museum) พิพิธภัณฑ์สมธิ โซเนยี น (Smithsonian American Art Museum) ฯลฯ 13

รชิ ารด์ เมอรีแมน เขยี นหนังสอื Andrew Wyeth วางจำ�หน่ายทว่ั ไปและแบบลมิ ิเต็ดอดิ ิช่นั ในหนงั สือทั้งสองแบบมกี ารอา้ งอิงคำ�พูดทีโ่ ดง่ ดงั จากแอนดรูว์ ไวเอท ว่า “I think one’sart goes as far and as deep as one’s love goes. I see no reason for painting butthat. If I have anything to offer, it is my emotional contact with the place where Ilive and the people I do.” 14

เพือ่ นทั้งสองของเขา อลั วาโร โอลสนั เสยี ชีวติ หลังจากวนั ครสิ ต์มาสและตอ่ มาครสิ ตินา่ กเ็ สียชวี ติ ในวันท่ี 27 มกราคม ค.ศ.1968 งานชนิ้ สุดท้ายทำ�เสรจ็ ทีบ่ ้านของโอลสันในเดอื นกนั ยายน ค.ศ.1969 และเขาก็ไม่ใช้ท่นี ่ันเป็นสถานที่ทำ�งานอกี เลย End of Olsons, 1969 15

วันท่ี 15 มีนาคม ค.ศ.1973 แคโรลิน บอ็ คเกยี ส ไวเอท แมข่ องเขา เสยี ชวี ติ ลงในวยั 86ปี ผลงานชื่อ Night Mare ทำ�เสรจ็ ในปนี ้ี ท�ำ ใหเ้ ห็นถงึ ความตายในจติ ใจของแอนดรูว์ ไวเอท “Night Mare” ภาพวาดสนี ำ้�โดย แอนดรูว์ ไวเอท เขยี นข้นึ ในปี ค.ศ.1937 ต่อมาในวันท่ี 6 มกราคม ค.ศ.1979 Karl Kuerner เสียชวี ิตในวัย 80 ปี ไวเอทได้สร้างงานภาพเหมอื นชิ้นสดุ ทา้ ยของ Karl ท่อี ย่ใู นอาการเจบ็ ป่วย ชื่อภาพวา่ Spring ใน ค.ศ.1978 16

ในวนั ที่ 16 มกราคม ค.ศ.2009 แอนดรวู ์ ไวเอท เสียชีวติ อยา่ งสงบในระหว่างทเ่ี ขาหลับอยู่ทบี่ ้านของเขาในแชดสฟ์ อร์ด ดว้ ยวัย 91 ปี เหลือท้ิงไว้แตผ่ ลงานและแรงบันดาลใจสคู่ นรุ่นหลงั 17

02 ผลงานชิ้นส�ำ คญั

Christina’s World1948Winter1946Trodden Weed1951Braids1977 19

Christina’s World1948Tempera on panel81.9 x 121.3 cmThe Museum of Modern Art (MoMA), New YorkCity, USA 20

ผลงานที่โดง่ ดงั ของแอนดรูว์ วาดเสรจ็ ในเดือนกันยายน เปน็ ภาพวาดแบบเหมือนจรงิขนาดปานกลาง เขียนด้วยสฝี นุ่ เทมเพอราบนแผ่นไม้ เป็นภาพทิวทศั น์ของพื้นทีร่ าบชายฝ่ังในเมนผู้หญิงในภาพนีม้ ีตัวตนอยจู่ รงิ ๆ เธอมีช่อื ว่า แอนนา ครสิ ติน่า โอลเซน่ (Anna Christina Olson1893-1968) เธออาศัยอยใู่ นฟารม์ ท่เี มืองคชุ ชิง มลรัฐเมน ไวเอทพบกบั เธอและน้องชายในปี ค.ศ.1939 เม่อื เธอมอี ายุ 46 ปี จากการแนะนำ�ของ เบ็ตซี เจมส์ (ซึ่งต่อมาเธอกลายเป็นภรรยาของเขา) ซง่ึ มีบา้ นอยูใ่ กลก้ บั ฟาร์มของครอบครวั โอลเซ่น พวกเขากลายเปน็ มิตรสหายท่ีดตี ่อกนั ในเวลาต่อมา ตวั คริสตนิ า่ น้นั เป็นโรคกลา้ มเนือ้ เสื่อมสภาพ (ไม่ได้รบั การวินฉิ ัยโรคแต่สันนิษฐานวา่นา่ จะเกดิ จากโปลิโอ) ท�ำ ให้เธอพกิ ารตง้ั แตเ่ อวลงไปและเดนิ ไม่ได้ ไวเอทไดแ้ รงบันดาลใจในการเขียนภาพนจ้ี ากการท่ีเขาเห็นเธอคลานขา้ มทงุ่ หญ้าไปมาโดยไมใ่ ช้รถเข็นจากหนา้ ตา่ งบ้านพักของเขาซึ่งอยใู่ กล้ ๆ แตอ่ นั ท่จี ริง นางแบบในภาพกไ็ มใ่ ชต่ ัวคริสตินา่ ซะทเี ดยี ว แต่เป็นเบ็ตซี ภรรยาของเขาเองมาโพสเป็นแบบในส่วนของหัวและล�ำ ตวั ให้ ส่วนชดุ สชี มพู แขนขาทล่ี บี เล็ก และท่าทางในการคลานนัน้ เขาไดม้ าจากตวั คริสติน่าน่ันเอง ภาพน้เี ป็นหน่งึ ในภาพวาดทก่ี ลายเปน็ สญั ลกั ษณข์ องวงการศิลปะอเมริกัน และเป็นหนึง่ในภาพท่ถี ูกจดจ�ำ ท่สี ดุ ในประวตั ิศาสตรศ์ ิลปะอเมริกัน กลายเปน็ สว่ นหนงึ่ ของวฒั นธรรมป๊อปอเมรกิ นั ถกู ลอกเลยี น ทำ�ซ�ำ้ รวมถึงลอ้ เลยี นไปท่ัวโลกปจั จุบันถกู แสดงเป็นคอลเลค็ ชนั ถาวรอยู่ในพพิ ธิ ภณั ฑ์ศลิ ปะสมยั ใหม่ (MoMA) นวิ ยอร์ก 21

Winter1946Tempera on board79.7 × 121.9 cmSeattle Art Museum 22

ไวเอทสร้างงานนีห้ ลงั จากการเสียชวี ิตของพอ่ เขา สถานทีใ่ นภาพคือเนนิ เขาทีบ่ ้านKuerner ใกลก้ ับทพี่ ่อเขาถกู รถไฟชน ไวเอทไดก้ ล่าวไว้วา่ เด็กผูช้ ายในภาพกค็ ือเขา ท่อี ยู่กับความสญู เสีย 23

Trodden Weed1951Tempera on board50.8 x 46.35 cmPrivate collection 24

ไวเอทอธบิ ายถงึ การสร้างภาพวาดนใ้ี นจดหมายทตี่ พี ิมพใ์ น ARTnews เดอื นพฤษภาคมค.ศ.1952 ว่าภาพนี้เปน็ ภาพวาดเหมือนตัวแอนดรวู ์ ไวเอทเอง แสดงภาพจากหวั เข่าของเขาใส่รองเท้าหนังสงู คเู่ กา่ ซึ่งรองเท้าน้ีเปน็ ของ Howard Pyle อาจารย์ของพ่อเขา ไวเอทไดร้ ับรองเทา้ บู๊ตนี้เปน็ ของขวัญวันคริสต์มาสจากภรรยาของเขาในปี ค.ศ.1950 เขาสวมรองเทา้ ได้พอดีและใชส้ วมเดินไปรอบ ๆ ในแชดส์ ฟอร์ด ขณะฟนื้ ตัวจากการรักษาอาการเจ็บปว่ ย 251

Braids1977Tempera41.9 × 52.1 cmSeattle Art Museum 26

ไวเอทชวน Helga Testorf มาเปน็ แบบให้เขาในปี ค.ศ.1971 จนถึงปี ค.ศ.1985เขาสร้างงานจติ รกรรมกว่า 240 ภาพ เป็นภาพเธอ และภาพน้ีคอื หนึง่ ในน้ัน มหี ลายภาพท่เี ปน็ภาพเปลือย ซง่ึ ท�ำ งานถกู ปิดเปน็ ความลับแม้แตค่ ่สู มรสของพวกเขา 27

03 ผลงานกอ่ นได้ร้จู กั การสญู เสยี

before1945 29

Spring Landscape at Kuerners, 1933 30

Caldwells Island, 1937 31

Big Spruce, 1938 32

Black Hunter, 1938 33

Coming Storm, 1938 34

Young Swede, 1938 35

Little Caldwells Island, 1940 36

Lobster #04, 1940 37

04 ผลงานหลงั เผชญิ ความสญู เสยี

after1945 39

Oil Lamp, 1946 40

Below Dover, 1950 41

Roaring Spout, 1953 Sea Snails, 1953 42

The Olson House, 1954 43

Monday Morning, 1955Nicholas,1955 44

The Mill, 1959 45

Geraniums, 1960Young Bull, 1960 46

The Granary, 1961 47

Chester County, 1962 Garret Room, 1962 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook