Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Marcel Duchamp

Marcel Duchamp

Published by Kachornpon, 2016-08-03 12:07:38

Description: Marcel Duchamp - Biography (Thai Edition)
13580625_น.ส.เมธาวี-เหมบุตร_สาขาวิทยุและโทรทัศน์

Search

Read the Text Version

MARCELDUCHAMP

I DON'TBELIEVE IN ARTSI BELIEVEIN ARTIST



บทนำ�ตอนเด็กๆเคยต้งั ค�ำถามกบั ตวั เองกันไหมว่าเราเรยี นศิลปะกนั ไปท�ำไม?ศลิ ปะนำ� ไปใช้ประโยชนย์ งั ไง?แล้วความหมายทีแ่ ท้จรงิ ของศลิ ปะคืออะไรกันแน่?หลายคนนิยามความหมายของศิลปะวา่ มันคือ ส่งิ ทสี่ วยงามบางคนนิยามว่า ศิลปะ คอื การแสดงออกทาง อารมณ์ ความคดิ และคณุ คา่ในขณะท่บี างคนศิลปะอาจเป็นอะไรก็ได้ที่สรา้ งสรรคแ์ ละแปลกใหม่หนงั สือเลม่ นข้ี อนำ� เสนออกี หนึ่งแนวคดิ เกยี่ วกับศลิ ปะทีต่ อ่ ต้านความงามของศิลปะในยคุ เก่าๆสู่การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะแบบใหม่ของ\"มาร์แชล ดูว์ช็อง\" ซ่ึงอาจตอบค�ำถามในใจของคุณไดว้ ่าจรงิ ๆแลว้ศลิ ปะคืออะไร? เมธาวี เหมบุตร ผูจ้ ดั ท�ำ



สารบัญเร่ือง หนา้Biography (ประวัติ) 1-6Art With Society and Politics (ศลิ ปะกบั สังคมและการเมอื ง) 7-8Art Work (ลกั ษณะผลงาน) 9-12Readymades (วสั ดุสำ� เรจ็ รูป) 13-14-bicycle wheel (1913) 15-16-bottle rack (1917) 17-18-foutain (1917) 19-20-In Advance of the Broken Arm 21-22Painting (จติ รกรรม) 23-24-About Young Sister (1911) 25-26-Sonata (1911) 27-28-Nude Descending a Staircase No.2 29-30-After Love 31-32Mixed Media 33-34-Apolinère Enameled (1916-1617) 35-36-L.H.O.O.Q.(1919) 37-38สรปุ 39-40บรรณานุกรม 41-42

Biography1

มารแ์ ซล ดูวช์ อ็ ง หรือ อ็องรี-รอแบร-์ มารแ์ ซล ดวู ช์ ็อง (Henri-Robert-Marcel Duchamp)เกดิ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1887 ทีน่ อรมงั ดี (Normandy) ประเทศฝร่งั เศสเขาเตบิ โตมาในครอบครวั ศลิ ปนิ พอของเขาเปนนายกเทศมนตรขี องเมอื งBlainville ครอบครัวของดูวช์ อ็ ง มกั จะ ใชเ วลาวางไปกับการเลน หมากรกุ อานหนงั สอื วาดภาพ และเลนดนตรี และเขาได้เปน็ พลเมืองอเมรกิ ันในปี ค.ศ. 1955The Duchamp Family home in Blainville, Normandy 2

ดูวช์ อ็ งไดเ ดนิ ทางเขา มาในกรุงปารีสเพอ่ื เขารับการศึกษาท่ี Académie Julian ระหวางนั้นเขากไ็ ดรบั เงินเลก็ ๆ นอ ยๆ จากการเปนนักเขยี นการตนู ในชวงนี้เขาไดศ ึกษาลัทธิโฟวิสม(Fauvism) ควิ บสิ ม(Cubism) และ อิมเพรสชั่นนิสม(Impressionism) ผลงานช้ินแรกของเขาคือ Nude Descending A Staircase – 1912 เปน ภาพที่แสดงใหเห็นถึงความสนใจ ของดูวช์ ็องในเร่ือง ของเครอ่ื งจักรกลและการเคลอ่ื นไหวของ รา งกายมนุษยผา นศลิ ปะแบบควิ บิสม ในป ค.ศ. 1911 ดวู ช์ ็องอายุได 25 ป เขาไดพ บ กบั ฟรานซสิ ปก าบียา และในปถ ัดมาดวู ช์ อ็ งไดเขารวมงานในโรงละคร Raymond Roussel's Impressions d'Afrique กบั ปก าบยี า และกโี ยม อาปอลีแนร ซง่ึ ประสบการณใ นครงั้ นี้ไดส้ รา งความประทบั ใจใหด ูวช์ ็องเปนอยางมากเขา “รูสึกวา เปน จิตรกรมันจะดี มากกวา ที่ไดร บั อิทธิพลจากนักเขยี นมากกวา จติ กร คนอ่ืนๆ”3

แRมไยแคคRมไยดด-ี-ีeeลลรรดดซซ้แแ้ั้้ังงyyะะลลรรููนนตตไไnnูกกู หใใ์--์ดดง่่งี้เเ้ีooหแแใในนนนงง้้หหลนนllซซลเเาาื่ือ่องัddยยดดปงันนนนจงงค่าา่ssอืือจีจจใใกกา.ใกคนนศนนาเเนาากนนัันัขข.กมม.ปปศกกกหแแาาใกิถถิ1.รรานลลกออSSา9นุุนะะร1หะะเาาaaร5เเตด9าาออศศททตrrก0ยยาือ5aaยยััยยเาศศยนนน0ดzzู่ด่ดูออยใฝฝขiiือตนว้ว้ยยขnnใคครรอน่อปนยยูู่ด่ดอง่ัั่ง--..งLLศศมตกกเเีปว้ว้งศศคaa..า่อนันัSยยี Sสสvv.ค11aมกกจจศซaaa99.rานันันน.ศrง่ึass22a1จจเเssม.zซขข77zoo9นน1ีขiึง่nาาirr59กกดดnม่าเเ-4สส5วรรเเวูวู-Lขี ปปLะะ4ีียยล์์ชชa่าดaนน็็ททชชอืv็อ็อวูวดvบบ่งง่ััaววีีวลงงช์aูวภภsไไุุตตตติิ่าอื อ็sช์ดดsรรตรรใใวsoงอ็รรส้้สนนสสวัo่าแยยrงมมววาาเตrลขแาาดรรววันันัวดะขขลาสสขขูวททเูวถออะขกก์ชAออี่ี่์ชูกงงาับบั22็องงAlเเคอ็ถeโโขขงlตตรรLLงลูกxไeาางงไลุลุyyดiมุคxจจnดงงddาา้แถลiาาาาแ้anคคiiตงุมุกกนนeeตaมมชง่\"ไไถผผ่งTงปปSSน\"งุงลลคคาeaaTดดชใาตติิ..นeนrrศศeว้้วนนaaรรกnกe..ยยกใถถzzับyนาn11โโับiiยยรรnnร\"99yกนนMคคแ--M66\"าSLLตตมมตa88รaSaaa์ผ์ผะะง่rแtavvryททเเงรูรู้้tตyรรtaaาlำ่�่�ำ่เีเี่่งtง็ง็eนนssนรรlงปปssreววออาooาาrยยนกกrr 4

มารเ์ ซล ดวู ช์ อ็ ง ถือว่าเปน็ ศลิ ปินท่ที รงอิทธพิ ลมากทส่ี ดุ ในศตวรรษท่ี 20 เขามแี นวคิดทตี่ อ่ ตา้ นศลิ ปะแบบเกา่ ๆจงึ ท�ำให้เกิดแนวคดิ ของศลิ ปะในรปู แบบใหม่ๆข้นึ มา ผลงานของดชู อมพท์ �ำใหเ้ กดิ ค�ำถามขึน้ มาว่า ผลงานที่ เขาได้สร้างข้นึ เรยี กวา่ ผลงานศลิ ปะไดจ้ ริงหรือไม?่ ดูวช์ ็องไดพ้ ฒั นาการท�ำงานศิลปะของตนเองจาก Cubism เป็นศิลปะรปู แบบ Futurism กล่มุ ศลิ ปนิ Dada จงึ ยกยอ่ งให้ เปน็ ผ้นู ำ� กลุ่ม5

6

Artwork with Society and Politics7

ศศิลิลปปะะกกับบั สสังงั คคมมแแลละะกกาารรเเมมอืืองง ความเชือ่ ในการสรา้ งงานศิลปะสำ� หรับมารแ์ ชล ดวู ช์ อ็ งแลว้ \"ทุกส่ิงทุกอย่างทศ่ี ิลปินสร้างสรรค์ออกมานน้ั คอื ศลิ ปะ\" ผลงานของเขาในชว่ งแรกได้รบั การตอ่แแกแศวกทหจเขหวตไผปลเแเสภรททัตรค็าตปลิลอรีศ่หลมะมฒัตกัิ่ง้าลิงารั�วำ่ลือถอืะ่สปงลลิวมหเ่ททนสพาใษ่โงไมเ่อเสุหค�ำนกปะรหกลาปศะวแา่อีรแ่สีหยคนณ�ำมวน็้าใธินะดิสกนรน้้าา่คหมยลังหเผวยารุษคีรแแสดษสรงงะมคสคศวกัู่คศ้ระบัมาท่ามรวตมมงยกจ็้วทร�ำวทฐือามลิวเกู่ลิมนรอโ่าี่กากชลย่สรศ้้าทห่แีามกวเจิง้ัลปมทบัปเนมัปม�ำูปงชดิกุมุ่ดาิลมปงั้ปจรจิเัตากขะกุคะสลนัศเชลตน่บัจคมทับชปโาร็นลหถเทใอสวรังติลกัือ่ทิหาวากณกน้าทะนกสุจน็เ่ีกรงงัากป้แกษใเายเ่ีกนลใาชก่ีลใำ�มรคคปม์ศำว�กนานยนมะรแหณดิา่ักิงเ้ันำ�ักล์อมนร่างลิน็ดิกรส้งโลโกันลทขมวลเษาหังอดย์ขตุษป็จขกงารขกัวเว้้สีิจนึ้ี่สัง่มเกอ่ปายรณร้แอรัน้านึ้ะยคเษจิยีขะาังจขชนือสมูปใมงกยงม็นชมแลานทคะรับณชรงอเน่เรศามง้มค็ีคกราลาอ่ืณนศรมภ้องิาเ้ว้างนกลิะณือีคตากวาคาะนใรีจ้นกนทงามัสศ์นันั้นเปรนควเาทิผลษงไะพปา์ศศใกุกแดนลิตม้ีจมคปาะวสัาน่ือ่ีเไหรฐลิลิน็ีย่โสลุหกษุป่อมดะาเนือาขงัเนแดกเ้ซหปปวังะงขิดรไกตมะยร้รคขศศา้ปยไิจดคาคก่ึงอืน็ะะียขับาเ์กา้ปจมดังลิิลวกกนรไร้มับงโวไนวนนึ้หแก็ครปแมปขกปดไธิดบัล่ยีปศยธิคา่ิงภปศตาแอืนยลเ่า้ีผัจะยะเ้วมุ่กลิฏีกอ่ทควรหิล่สลาคงอง้\"้ามุ่เสจดิใกคาาปมเิวายปีบ่พหปชศุดน็ะวยสุบำ�คปรบัรผไนมพิมะเน็ผอนาลิทว้่าโหถะมธวกในันกคลทเคีดามงกันนกัสป้าไึงซา้พิป่วรดิทตงว(กไี่สมวยใอคายดแทับแ่าะaง่ึข็นามาิาส่ีศหษาวร่ไรัปวแจเหปไบุหn่เีมนก้นึมศห่ดรลิมป้ารตมธิร้ว์าละลรรรบtาษขา้เมงิลว้ายู้วปีผข็นอ่่เมจิiเปือว้ือไกัรงส-คเอแป์วา่ปา่าุดปดิัดะตหบาaด์เกวสษ็นรยงกจิกซ็นกนเะรปแา้rอผิมนสอธิารปรเศณเอ่าลtณ็คลนกิ่งขยยกกรรกีลค่ิงบง่ึเ)ลิ็นรน้งแพือานง้์ขคศาท่าิดตใางศ์ก์โณชดทปหรนนคใงดศ์ราิลอำ�รขิี่อันิลเไ้ำ�ชูนำ�ขเหไน์กพใวนทวาวยมลิงปพย้นึปมอเอนดัชะนัึง่ราเคคัตสปศรป่วรูค่ะมยรรเ่ะมผใแือแมว่พัวิดาอถคะิล่าน็ู่กะาาแนา่าพ(บกลงยจะาทจยทุเยปแะยับกงมaลทชแศแา้งงมรบ์ะา่ผหอ้หีพ่าละอ่อคะnครรน่ารรงิลลิเงรเกนลเยะนผนบปงะวกนนัพทอืtดหหนุนะปรคงุดiภไห้ชูักาไเ็น\"�ำอมิ-บ่ีผยลนแท้ีมทินาเหดงaนทมาถมววพอกู้ชาอนา่รกัปเ่�ำาไร้พน็แrง่ิงึงุก่าตัหงกกานมงมรกใงถอtบัฏาคนงทาคสถรหร็น)มาวโ่เ้สีใงึงอมกแกเินวหขดววั่วทิ่งทุะห้นฒัาาสแคะกลขลาาทศคศไายน็ัดนมา่พี้รทลธักวมรปมนมุ่ะอมิลกุดิิลสงู้วแดลีศไะาว้อบตคาไหธงชมเปอปเะ่าย้วมกัิลิจมนปมอ่ชเมวรนรท่ไย้ง์หยนิษไปา่ตรีดน็าน่นอืมชา่้อกรน็ร์ณมา้ว้นษุง่้ันนณบัมนา่้ีะย์ ์ใหเ้ ราไดเ้ ห็นถงึ ความบอบชำ้� ความรุนแรง และความเลวร้ายที่กำ� ลงั เกดิ ขนึ้ จริงในสงั คมปัจจบุ นั ท่ีเราแกลง้ ทำ� เปน็ มองไม่เหน็ และปลอ่ ยผ่านมัน 8

9

ArRTtWwOoRrKkSs 10

ลักษณะผลงาน ผลงานของดูวช์ ็องทำ� ให้ประเดน็ เรอื่ งสนุ ทรียะกลายเปน็ ปัญหา เพราะไม่ สามารถที่จะกลา่ วได้อยา่ งงา่ ย ๆ อกี ต่อไปวา่ \"งานศิลปะช้นิ นี้สวย\" ในแงน่ ้ผี ล งานศลิ ปะของดูว์ช็องเกดิ ข้นึ จากการตดั สินใจด้วยตวั เองลว้ น ๆ ในการทจ่ี ะจดั ให้ อะไรเปน็ ศลิ ปะ อะไรไม่เป็นศลิ ปะ เพราะเขาไมไ่ ดต้ กอยภู่ ายใตข้ อ้ ก�ำหนดความ เปน็ ศลิ ปะจากภายนอก นี่เปน็ การแสดงให้เห็นถงึ ความเปน็ เอกเทศของศิลปะ ความเป็นเอกเทศของศลิ ปนิ ความเป็นเอกเทศแสดงใหเ้ หน็ ถึงลกั ษณะของความ เปน็ สภาวะสมยั ใหม่ เขามีความคิดทจี่ ะต่อต้านศลิ ปะ จนกลายเป็นเรอ่ื งเปน็ ราวเกแิ นวทาง ใหม่ เหมอื นเปดิ ประตใู ห้ศลิ ปนิ ไดเ้ ข้าไปพบกบั โลกใหมอ่ ยา่ งคาดไม่ถงึ เปน็ ลกั ษณะงานตามแบบคติดาดา เขามกั นยิ มตงั้ ช่อื ผลงานของเขาเปน็ ให้เกดิ ความหมายแปลก ๆหรือเกิดการประชดประชัน11

12

READYMADES13

วสั ดุสำ� เร็จรูป (Ready-made) เป็นการน�ำวสั ดทุ ่พี บเหน็ ไดใ้ นชีวติ ประจ�ำวันมาปรบั แต่ง เพิม่ เตมิ ใหเ้ กิดมุมมองใหม่ๆทางความคดิ ดวู ช์ ็องเปน็ ศลิ ปินคนแรกทีน่ �ำวัสดสุ �ำเรจ็ รูปมาใชใ้ นการสรา้ งสรรค์งานศลิ ปกรรมอยา่ งชดั เจนและจรงิ จัง แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ลักษณะงานศิลปะส่ือผสม 14

15

Bicycle Wheel, 1913 “ในปค.ศ. 1913 ผมมีความคิดทจ่ี ะยึดลอของจกั รยานไวก ับเกา อ้ี ในหอ งครวั ของท่ีบานแลว ดมู ันหมนุ ” – มารเ ซล ดวู ช์ ็อง วงลอ้ จักรยานเป็นงานประตมิ ากรรมท่ีสรา้ งขึน้ ดว้ ยวัสดุสำ� เรจ็ รูป (Ready-mades)ประกอบขึ้นจากวสั ดุ 2 ชนิด คือ ลอ้ รถจกั รยานทเี่ ปน็ โลหะและเกา้ อี้ไม้ เป็นการนำ�วัสดทุ พี่ บเหน็ ไดใ้ นชีวติ ประจ�ำวันมาปรับแตง่ เพิม่ เติมเพือ่ ใหเ้ กดิ มมุ มองใหมๆ่ ทางความคิด มีขนาด สงู 124 เซนตเิ มตร ปัจจบุ ันงานชน้ิ แรกได้ศนู ยห์ ายแและได้มกี ารสรา้ งแบบจำ� ลองขึ้นมาในปี ค.ศ.1915, ค.ศ.1963 ดวู ช์ ็องไดสรางสรรคผลงานจากความคิดทางที่ตอบสนองความตอ งการท่ีจะสะทอนความเปน ไปทางสงั คมในเรอ่ื ง คานยิ มเก่ียวกับศลิ ปะ โดยพยายามแสดงออกในเรอื่ งแงม มุ ทางความคดิ ทมี่ ีความสาํ คญั กวาภาพลกั ษณภายนอกของงานศิลปะดว ยวธิ กี ารสรา งความแปลกใหม ใหผ ูท่พี บเหน็ ไดเ กดิ ความรูส กึ โตตอบกับงานศิลปะโดยตรง 16

17

Bottle Rack, 1917 เปน็ ผลงานศลิ ปะตามแนวคดิ ของดูชอ็ งซึง่ ตา่ งจากกศิลปะในอดุ มคตขิ องโบราณ นยั หนงึ่ มผี ู้วเิ คราะหว์ ่าผลงานช้นิ น้ีสะท้อนถึงความรุนแรงของสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ดูชอ็ งไดส้ ร้างผลงานชิ้นนจี้ ากของท่ีอยู่ตามห้างท่ัวๆไปมีลกั ษณะเป็นโลหะสำ� หรับทำ� ใหข้ วดแห้ง(เอาไว้ตากขวด) มเี ดือยแหลมคลา้ ยขนเมน่ เปน็ ผลงานทเี่ กิดจากวสั ดสุ �ำเร็จท่ี 'จริง' ท่ีสุด เพราะไมไ่ ดม้ ีการดดั แปลงใดๆเหมือนกับผลงานช้ินอนื่ ๆ มีผ้วู จิ ารณ์เพิ่มเตมิ ภายหลังวา่ ผลงานชน้ิ นมี้ ีความหมายท่ีซอ่ นเรน้ ทางอารมณ์ (เดอื ยแหลมให้ความหมายว่าอวัยวะเพศชาย) 18

19

Fountain, 1917 น�้ำพุ ขนาด : 360 x 480 x 610 mm. ประเภทงาน : งานประตมิ ากรรม ถูกสร้างข้ึนเม่อื ปี ค.ศ.1917 และไดส้ ูญหาย ในเวลาต่อมาไดม้ ีการสร้างขนึ้ เป็นแบบจ�ำลองในปี ค.ศ.1964 ปจั จุบันอยู่ท่ี : พพิ ิธภัณฑ์เททโมเดริ น์ เมืองลอนดอน ประเทศองั กฤษ ในป 1917 มารเซล ดูชอ็ งว์ สง ผลงานชน้ิ น้เี ขา รว มในนทิ รรศการที่จดัขน้ึ โดยสมาคมศลิ ปนอสิ ระในนวิ ยอรก เขา้ รว่ มโดยใชน ามแฝงวา‘รชิ ารด์ มทั ท์’(R.MuTT) เพอื่ ปกปด สถานะทีแ่ ทจรงิ ของตน เนอ่ื งจากขณะนั้นดูชอ็ งว์เปนหน่ึงในคณะกรรมการของสมาคดังกลาวดวย แมท้ างสมาคมจะกลา่ ววา่ งานศลิ ปะทุกช้นิท่ีสง เขารวมจะไดรบั การจดั แสดงอยางเทาเทยี มกัน แต่ผลงานนก้ี ลับถูกเสยี งส่วนใหญ่ในทีส่ มาคมกลา่ วว่า “มนั ไม่ใช่งานศิลปะ มนั เป็นแค่โถฉ”่ี สดุ ท้าย Duchampจงึ ตดั สนิ ใจลาออกจากการเป็นกรรมการสมาคมศิลปินอสิ ระในนิวยอรก์ 20

21

In Advance of the Broken Arm ผลงานชนิ้ นเี้ ปน็ ไมแ้ ละเหลก็ ที่มสี ังกะสหี ้มุ ขา้ งนอก เปน็ ผลงานวัตถุส�ำเรจ็ (Ready-made) สร้างข้ึนเมือ่ ปี ค.ศ.1964 โดยดชู ็องว์เลือกเอาพล่ัวตักหิมะ ไปวางไว้ในสตดู ิโอศลิ ปะของเขา และเรยี กมนั วา่ “ผลงานศิลปะ” ทที่ ้าทายขนบธรรมเนยี มศิลปะแบบเดิม ดูชองปต์ ง้ั ช่อื ผลงานศลิ ปะช้นิ น้วี า่ “In Advanceof the Broken Arm” เพ่ือสร้างความขบขัน โดยดชู องปบ์ อกวา่ “ถา้ ไม่มีพลว่ั ตกั หิมะในชว่ งทหี่ มิ ะตกหนักมากล่ะก็ เราคงตอ้ งล่ืนลม้ แล้วแขนหกั แน่เลย” 22

PAINTING23

24

About Young Sister 1911 ขนาดผลงาน:73*60 ซม. เทคนิค/วสั ด:ุ สีนำ้� มันบนผนื ผ้าใบ ปัจจบุ นั อยูท่ :่ี พพิ ธิ ภณั ฑ์ Guggeheim ท่ีเมอื งนวิ ยอรค์ เปน็ ภาพวาดหญงิ สาวเตม็ ตวั ปรากฏภาพหญงิ สาวนั่งไขวห่ ้าง กม้ หนา้ เหมือนกำ� ลงั ครนุ่ คดิ อะไรอยู่ ผมสนี ้�ำตาลอ่อนเดน่ ด้านความงาม ใช้ลายเส้นง่ายๆ ลงสีโทนสว่าง พน้ื หลงั สนี ำ�้ ตาลออ่ นตดั กบั สีขาว ท�ำให้ ภาพนา่ สนใจ แตด่ มู ชี ีวติ และสะทอ้ นความรสู้ ึกเศรา้ สร้อย “มีความโดดเด่น ในลายเส้นงา่ ยๆ ดงู ่ายแต่ชดั เจนในความรสู้ ึก”25

26

27

Sonata, 1911 เป็นภาพวาดหญิงสาว4คน 2คนขา้ งหนา้ กำ� ลงั เลน่ ดนตรี คนซ้ายเหมอื นก�ำลังเล่นคีย์บอรด์ คนขวาก�ำลงั สีไวโอลนิ คนกลางทำ� ทา่ ทางเหมอื นน่ังฟงั เพลงบรรเลงประสานเสียงขา้ งหลังของหญิงสาวทง้ั 3คนมหี ญงิ สาวอีกคนหนึ่งกำ� ลังยนื ดกู ารบรรเลงเพลงอยู่เป็นภาพวาดใชล้ ายเส้นงา่ ยๆตามแบบฉบับของดชู องป์ พนื้ หลังสัน้ำ� ตาลมีความกลมกลืนเป็นอันหนึง่ อนั เดียวกนั ทง้ั ภาพ (มคี วามเป็นเอกภาพ) มีความเป็นควิ บิสม์ สะทอ้ นภาพความสุขในครอบครัว มผี ้กู ลา่ ววา่ ภาพนีเ้ ป็นภาพครอบครวั ของดูชองป์ ผู้หญงิ ท่อี ยู่ด้านหลงั สดุ นน่ั คือแม่ของดูชองป์ ส่วนหญงิ สาวอกี 3คนทกี่ ำ� ลัง ด�ำเนนิ เพลงดนตรปี ระสานคือพี่สาวหรือน้องสาวของดชู องป์ 28

29

Nude Descending a Staircase No.2 1912 ขนาด : 147 cm × 89.2 cm เทคนคิ วสั ดุ : สีน�้ำมนั บนผ้าใบ ประเภทผลงาน : งานจติ รกรรม ปจั จบุ นั จดั แสดงอยู่ท่ี : พิพธิ ภณั ฑ์ศิลปะฟิลาเดลเฟีย ในสหรฐั อเมริกา เป็นภาพท่ีมกี ารดัดแปลงเอาพวกรปู ทรงตา่ งๆเชน่ ทรงกรวย ทรงกระบอกมาซ้อนทบั กนั ให้มลี กั ษณะคล้ายคน มีการเคลือ่ นไหวเหมือนคนจรงิ ๆ เปน็ ภาพทแี่ สดงใหเหน็ ถงึ ความสนใจของดชู อ็ งวใ์ นเร่อื งเครอ่ื งจกั รกลและการเคลื่อนไหวของรางกายมนษุ ยผานศลิ ปะแบบควิ บสิ ม 30

31

After Loveภาพวาดพน้ื หลงั สีขาว ที่แสดงถงึ ความเรียบง่าย ไม่มกี ารลงสีและใชส้ ัดส่วนง่ายๆเปน็ ภาพการแสดงความรักของชายหนุ่มหญงิ สาว ก�ำลงั ตระกองกอดกนั มมุ ดา้ น ล่างขวามีการลงชื่อของศิลปนิ ไว้นัน่ ก็คอื มาเซล ดวู ช์ ็อง น่นั เอง 32

Mixed Media33

34

Apolinère Enameled 1916-191735

เทคนิค/วสั ดุ : ผสมสนี ำ้� กบั กาว แปะบนแผน่ ดีบกุ แล้วเอาไปต้ังบนกระดาษแข็งเทคนิค/วัสดุ : ผสมสนี ำ�้ กขับนกาดวผแลปงะาบน:น2แ4ผ.น่4ด*3ีบ4ุกแซลมว้ .เอาไปตั้งบนกระดาษแขง็ ปัจจุบนั อยู่ท:่ี ขพนิพาดิธผภลัณงฑานฟ์ :ลิ 2า4เด.4ล*เ3ฟ4ีย ซในมส. หรฐั อเมริกา ปจั จบุ ันอยทู่ :่ี พิพิธภณั ฑ์ฟิลาเดลเฟยี ในสหรฐั อเมรกิ า ดชู องปว์ าดข้นึ เม่อื ปคี .ศ.1916 โดยปรับเปลยี่ นจากใบปดิ โฆษณา ‘SapolinEnดaูวm์ชeอ็ lงeวdา’ดขเป้ึน็นเมภอื่าปพีคข.อศง.1เด9็ก1ส6าโวดคยนปหรนบั ึ่งเปกล�ำี่ยลนังลจงาสกีขใบอปบดิเตโฆยี งษนณอานใ‘หSaเ้ ปpน็ oสliีขnาวEอnยaา่mงตe้งัleใจd’มเบี ปาน็ งภสา่วพนของเขดอ็กบสเาตวียคงนหอนึง่ท่หีกาำ� ยลไงั ปลงผสดิ ขี สอดั บสเต่วนยี งชน้ินอสนว่ใหน้เทปห่ี น็ าสยีขไปาวอย่างตัง้ ใจ มีบางส่วนขอเงรขียอกบวเา่ ตยี‘Iงmนpอoนsทs่หีibาlยeไปBeผdิด’สดั ส่วน ช้นิ ส่วนทีห่ ายไป เรยี กวา่ ‘Impossible Bed’ 36

37

L.H.O.O.Q. 1919 เป็นภาพท่ีน�ำเอาโปสการ์ดรปู โมนา ลิซ่า ของลีโอนาโด ดาวินชแี ตงเติมใหม ี สีสันมากข้นึ ดว ยการวาดหนวดและเคราลงไป พรอ มเสรมิ คาํ บรรยายใตภาพวา L.H.O.O.Q. ซึง่ เม่อื อานออกเสยี งในภาษาฝรั่งเศสแบบเรว็ ๆ จะไดค วามวา“Elle a chaud au cul” หรอื “เธอชางรอ นแรงเสียจรงิ ” ผลงานชน้ิ น้ไี ด้กลายเปนภาพสญั ลักษณข องกลมุ ดาดาในนิวยอรกทแี่ สดงใหเ ห็นการตอสูกับขนบธรรมเนยี มดว ยอารมณท ่ขี บขนั มากกวา จะผลักดนั ดว ยความโกรธเกรีย้ วแบบในยุโรป 38

39

การพลกิ แพลงอารมณข นั คอื อาวธุ สาํ คญั ของดวู ์ชอ็ งเพ่ือจะแทรกแซงเขาไปทใ่ี จกลางความคิดเกย่ี วกบั ศิลปะแบบเดิมท่เี ขามองวาคับแคบเกนิ ไปในโลกที่มีเปลย่ี นแปลง ศลิ ปน ไมไดมหี นา ท่ใี นการนําเสนอโลกตามท่ตี าเหน็ อีกตอไป เพราะโลกในปจ จุบันซบั ซอ นเกนิ กวาจะอธิบายได้ดวยสื่อแบบใดแบบหน่ึง หนา ทขี่ องศลิ ปน อาจเปนเพยี งการหยบิ ยื่นกญุ แจของความคิดใหผชู มเปน ผูไขประตูปรศิ นาตางๆ ดวยตนเองตามแต ประสบการณข องแตล ะคน หรือกลา วอยา งงา ยๆ ก็คอืกระบวนการในการสรา งสรรคงานไมไ ดผูกตดิ อยูก ับตวั ศิลปน อีกตอ ไป แตผ ลงานจะสมบรู ณไดกต็ อ เม่ือผูชมเขามารว มสัมผสั รับรูและเกิดการปฏิสัมพันธข นึ้ ดงัคําพูดของ ดูวช์ อ็ งที่บอกวว “ผูชมเปนผูเ ชื่อมโยงผลงานเขากับโลกภายนอกดวยการถอดรหสั และตีความความหมายทซี่ กุ ซอนอยูภายใน ดว ยเหตุนี้ พวกเขาจึงเปน สว น หนึง่ ของกระบวนการสรางสรรค” 40

41

บรรณานุกรมวิกิพีเดีย สารานกุ รมเสร.ี ๒๕๕๘. มารแ ซล ดวู ช็อง. (ออนไลน) .แหลง ที่มา https://th.wikipedia.org/wiki/มารแ ซล_ดวู ช ็อง. ๒ เมษายน ๒๕๕๙Aniwat Tongseeda. ๒๕๕๕. บทวเิ คราะหผ ลงาน Bicycle Wheel ของ Marcel Duchamp.(ออนไลน). แหลงทีม่ า : http://aniwat-leilom.blogspot.com/2012/06/bicycle-wheel-marcel- duchamp.html. ๒ เมษายน ๒๕๕๙Siyapah Surathumrong. ๒๕๕๕. DADAISM ศลิ ปะเพอ่ื ตอ ตา นความ เปน ศลิ ปะ. (ออนไลน).แหลงที่มา : http://letusheartheoppositeside.blogspot.com/2011/04/dadaism.html.๒ เมษายน ๒๕๕๙Apolinere Enameled (ม.ป.ป.) . (ออนไลน) .แหล่งทมี่ า https://en.m.wikipedia.org/wiki. ๖ เมษายน ๒๕๕๙Bottle Rack (ม.ป.ป.) (ออนไลน) .แหลง่ ทมี่ า http:// https://en.m.wikipedia.org/wiki/Bottle_Rack.๖ เมษายน ๒๕๕๙After Love (ม.ป.ป.) (ออนไลน) .แหลง่ ทม่ี า http://www.wikiart.org/en/marcel-duchamp/afterlove.๖ เมษายน ๒๕๕๙What is a ready-made (ม.ป.ป.) (ออนไลน).แหลง่ ทมี่ า http://publishing.cdb.org/ucpressebooks.๖ เมษายน ๒๕๕๙Sonata (ม.ป.ป.) (ออนไลน).แหล่งที่มา http:/wikiart.org/en/Marcel-Duchamp/Sonata-1911.๖ เมษายน ๒๕๕๙The Art Story Contributors. (20 Nov 2015). Marcel Duchamp. (ออนไลน).แหลง่ ทม่ี า http://www.theartstory.org/artist-duchamp-marcel.htm#biography_header.๖ เมษายน ๒๕๕๙ 42



ศลิ ปะคอื อะไร? แลว้ อะไรคือศลิ ปะ?ศิลปะคอื ความสวยงามหรอื ความสรา้ งสรรค?์นิยามของศลิ ปะ...ใครเป็นคนก�ำหนด? บางทีศิลปะ อาจอยู่ที่แนวความคิด - มาร์แชล ดวู ช์ อ็ ง -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook