Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore DADAISM

DADAISM

Published by Kachornpon, 2016-09-07 12:45:52

Description: DADAISM (ดาดานิสม์)
363_อภิชญา_อึ้งปกรณ์แก้ว_โฆษณา

Search

Read the Text Version

I DON'T BELIEVE IN ART. I BELIEVE IN ARTISTS MARCEL DUCHAMP

DADAISMคำ�นำ�ถา้ พดู ถึงขบถในวงการศลิ ปะ หลายคนอาจนึกภาพไม่ออก ค�ำ วา่ “ศลิ ปะ”ฟงั ดใู ห้อสิ ระดี แล้วท�ำ ไมถึงยังมขี บถเกิดข้ึนอีกหละ่ ?DADAISM (ดาดานิสม์) หรอื คตดิ าดา เปน็ ลัทธศิ ลิ ปะที่ใครหลายคนอาจไมค่ ุ้น แตส่ ำ�หรบั ผู้ทีส่ นใจศลิ ปะแล้ว ดาดา คือลัทธหิ น่ึงที่สร้างผลงานท่ีมีแนวทางใหม่ โดยยึดความคดิ ทต่ี ่อต้านศิลปะและวฒั นธรรมประเพณีสังคมนยิ มในยุคสงครามโลกครั้งท่ี 1จากการพยายามฉกี ต�ำ รา แหวกประเพณีทางศลิ ปะ ทำ�ให้ผู้เขียนเกดิ ความสนใจในคตดิ าดามากกว่าลทั ธิอื่น เพราะผู้เขยี นรสู้ กึ ว่า อสิ ระและความหมายที่แทจ้ รงิ ของศิลปะ อย่ใู นลทั ธดิ าดา อภชิ ญา อ้งึ ปกรณแ์ กว้ 13580363

DADAISMสารบญัศลิ ปะดาดา ทมี่ าข8องช่อื 7RA2O2UL DUC1H4AMP ความ1เ1ปน็ มาMAN30RAY

ADOLFJOHN HEARTFIELD

7DADAISMDADAISM หรอื ดาดานิสม์ คือ ลัทธทิ างศลิ ปะลัทธิืหนง่ึ ที่เกดิ ข้นึ เมอ่ื สมยัสงครามโลกครง้ั ที่ 1 ( ชว่ งต้นครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 ) เรม่ิ ทเ่ี มอื งซูรกิประเทศสวสิ เซอรแ์ ลนด์งานของดาดา มแี นวทางต่อตา้ นทกุ ส่ิง ไม่ว่าจะเป็นสังคม ประเพณีนิยมหรอื แมก้ ระทั่งกฎเกณฑ์ความงามของศลิ ปะแบบเดิมทเ่ี ป็นทยี่ อมรบั อาจกลา่ วได้วา่ ดาดาใชศ้ ิลปะเป็นเครอ่ื งมอื ในการกบฎตอ่ ทุกสง่ิดาดา เป็นศิลปะแบบเยาะเยย้ ถากถาง เสยี ดสี แดกดนั ประชดประชนัลกั ษณะของงานศิลปะแบบดาดาจงึ แสดงออกมาแบบไร้กฎเกณฑ์ ไรเ้ หตุผลเพราะดาดาเชอ่ื ว่ามนษุ ย์ชอบเอาความเกลยี ดชงั มาเปน็ เหตุผลในการท�ำสงคราม ท�ำ ลายล้างเพื่อนมนษุ ยด์ ้วยกนั เองผลงานของศิลปะในลทั ธดิ าดามีช่ือเสียงหลายผลงาน ทุกผลงานลว้ นแสดงออกถงึ ความดบิ เถอื่ น ไม่วา่ จะดว้ ยแนวคิด วสั ดุท่ีใช้สรา้ งงาน หรอื วิธีสร้างผลงาน แต่ก็ยังแฝงไปด้วยความข้เี ล่นของผ้ทู ม่ี คี วามเปน็ ศลิ ปนิ

8 THE DADA TITLE ที่มาของชอ่ื DADAISM โดยปกตแิ ลว้ ช่อื ลัทธิทางศลิ ปะจะถูกตงั้ โดยนกั วิจารณ์แต่สำ�หรับ ดาดาศิลปนิ ในลทั ธิตัง้ ชอ่ื กันเอง โดยการท่ีพวกเขารวมตวั กนั ที่ คาบาเรต์ วอลตร์ ท่ฮี วิ โก้ บอลล์ หนงึ่ ในศิลปนิ ของดาดาเป็นเจ้าของกิจการ ในประ เทศสวิตเซอร์แลนด์ พวกเขาใชม้ ีดทาเนยบาดเขา้ ไปในพจนานุกรมฝรัง่ เศส - เยอรมนั ที่เปน็ คูร่ บกันในสงคราม เม่ือเปดิ พจนานุกรมในหน้าทีม่ ีดบาด เขา้ ไป เป็นคำ�วา่ DADA ซงึ่ เป็นคำ�แสลงในภาษาฝรง่ั เศส แปลวา่ มา้ โยก และบังเอิญพอ้ งกบั คำ�วา่ YES, YES ในภาษารัสเซีย ที่ส�ำ คญั ดาดา ท่ีแปลว่า ม้าโยก ยังสอดคลอ้ งกบั บุคลิกลกั ษณะของศิลปิน กล่มุ นที้ ่ีพยายามเยาะเยย้ สังคมอย่างสนุกสนานราวกับเปน็ เด็ก

SPACE WRITING MAN RAY

SQUARES ARRANGED ACCORDING TO THE LAWS OF CHANCE HANS ARP

11HISTORYในชว่ งต้นศตวรรษท่ี 20 เปน็ ชว่ งสงครามโลกคร้งั ที่ 1 และการปฎวิ ตั ิของรสั เซีย ดาดาไดก้ �ำ เนิดข้ึนจากกลุ่มกวี และนักประพันธ์ในยุโรป โดยเป็นปฎิปักษก์ ับศลิ ปะแบบเกา่ และสร้างค่านิยมใหมท่ ่ีเปน็ สากล ศิลปินแสดงออกถึงอาการเยาะเย้ย ถากถางสิง่ ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในสังคมและมองโลกในดา้ นลบว่าคนเลวท�ำ ร้ายทุกอย่างได้ ดาดาจงึ สร้างผลงานทีผ่ ดิ จากหลกั การความจริง ทำ�ใหเ้ ป็นเรอื่ งเหลวใหลน่าหัวเราะดาดาในปารีสดาดามายังกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส โดย ครสิ ตนั ซาร่า ดาดาท่ปี ารสี ได้รับอิทธิพลมาจากการอา่ นหนงั สอื THE INTERPRETATION OF DREAMSของ SIGMUND FREUDดาดาในสหรฐั อเมรกิ าในช่วงทีเ่ รม่ิ มีความวุ่นวายจากสงครามโลกครงั้ ท่ี 1 ดาดาเขา้ มามบี ทบาทในราวๆปี 1913 โดยจุดเริม่ ต้นจาก MARCEL DUCHAMP และ FRANCISPICABIAนอกจากน้ดี าดายังมอี ทิ ธพิ ลในเบอร์ลนิ โตเกยี ว เนเทอแลนด์ อติ าลี รสั เซยีและอีกหลายท่ี



THE ARTISTS

13 MARCEL DUCHAMP 1887 - 1968

14MARCEL DUCHAMPมารแ์ ซล ดูวช์ องเกดิ 28 กรกฎาคม 1887เสยี ชีวิต 2 ตุลาคม 1968ชาวฝรัง่ เศสสัญชาตอิ เมรกิ ัน เกดิ ที่ฝรัง่ เศส โตในครอบครัวท่ีสนใจเรอ่ื งศลิ ปะ มีงานจติ รกรรมและแกะสลักของคุณตาของเขาตกแต่งเตม็ บ้าน เขากับพีน่ อ้ งอกี3 คนเปน็ ศลิ ปนิ ท่ีประสบความส�ำ เร็จ เขาเคยชนะรางวัลการวาดรูปป1ี 903 และกลายมาเป็นศิลปนิ เขาเคยเรยี นเก่ยี วกับการวาดรูป จากอาจารยท์ ีไ่ มป่ ระสบความสำ�เร็จในการหา้ มลกู ศษิ ย์จากลทั ธิ Impressionism,Post-impressionismและกลุ่มอนื่ ๆท่ีมอี ทิ ธพิ ล อย่างไรก็ตามผู้ใหค้ ำ�ปรึกษาเกย่ี วกับศิลปะกบั ดชู องป์ตอนน้ันคือพ่ชี ายของเขา ตอนอายุ 14 งานช้ินแรกท่ีเขาพยายามวาดอย่างต้ังใจคือ ภาพวาดสีน้�ำ รูปน้องสาวของเขา ในชว่ งนั้นเขาวาดงานเก่ยี วกับทัศนยี ภาพแบบลทั ธิ Impressionism เขาเปน็ ทัง้ จติ รกร ประติมากร นกั เลน่ หมากรกุ และนกั เขียนทเี่ ก่ียวข้องกับลัทธิ Cubism, conceptual art และ Dada เขาไดร้ บัการยกยอ่ งเชน่ เดยี วกบั ปิกสั โซ่ และมาติสส์ เป็นเหมือน 1 ใน 3 ศิลปนิ ทีช่ ่วยนยิ ามการพฒั นาและปฏิวัติในศิลปะทมี่ รี ปู ทรง 3 มติ ิ อยา่ งน่าเช่ือถือสำ�หรับการพฒั นาจิตรกรรมและประตมิ ากรรมทสี่ ำ�คญั เขามีอิทธพิ ลอย่างมากในช่วงศตวรรษที่ 20-21

BICYCLE WHEEL 1913

16 BICYCLE WHEELBicycle Wheel เปน็ งานศิลปกรรมทถี่ กู สร้างขึน้ ดว้ ยวสั ดสุ �ำ เร็จรปู ซึง่ เปน็ การน�ำวสั ดทุ ี่พบเห็นไดใ้ นชวี ิตประจำ�วันมาปรับแตง่ เพิ่มเตมิ ใหเ้ กิดมมุ มองใหมท่ างความคดิ โดยมงุ่ เน้นความส�ำ เรจ็ รูปอย่างชัดเจน Bicycle Wheel เป็นผลงานศิลปกรรมทปี่ ระกอบขน้ึ จากวสั ดุ 2 ประเภท คอื ลอ้ รถจักรยานทีเ่ ป็นโลหะและเก้าอี้ไม้ดูว์ชองเลอื กวสั ดุทมี่ สี ีแตกต่างกนั แตม่ คี วามสอดคลอ้ งกนั ทางรูปทรงBicycle Wheel สร้างสรรค์จากความคดิ ทางปรัชญาทีต่ อบสนองความตอ้ งการสะท้อนความเป็นไปทางสังคมในเรอ่ื ง ค่านิยมเกี่ยวกบั ศิลปะและสนุ ทรียศาสตร์โดยพยายามแสดงออกในเรือ่ งแง่มมุ ทางความคดิ ทมี่ ีความส�ำ คัญกว่าภาพลักษณ์ภายนอกของงานศิลปะ หรอื ท่ีมาของวัสดุอปุ กรณ์ในการสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการสร้างความแปลกใหม่ ให้ผทู้ พ่ี บเห็นได้เกิดความร้สู กึ โต้ตอบกบั งานศิลปะโดยตรงแสดงออกถึงความรสู้ ึกแปลกใหมใ่ นการสรา้ งสรรค์ กระตนุ้ ใหส้ นมาสนใจและคดิ ถึงเหตผุ ล ซ่งึ อาจนำ�ไปสู่ความนึกคดิ หรือองคค์ วามรู้ใหม่ เกดิ การพฒั นาทางความคดิ และสนุ ทรียศาสตร์ น�ำ พาไปสู่ความคิดท่ตี อบสนองความตอ้ งการของศิลปนิ ท่ีมงุ่ เน้นการสร้างสรรคง์ านศลิ ปกรรมทแ่ี ปลกใหมแ่ ละทรงคุณคา่ ทางความคิด อกี ทัง้ ยงั แสดงออกถึงความรสู้ กึ เยาะเยย้ ถากถางงานศิลปะยคุ กอ่ นหนา้ ในรปูแบบดัง้ เดิม เพ่ือลบลา้ งความคดิ และความเช่อื เกย่ี วกับการสรา้ งสรรคง์ านศลิ ปะตามแบบประเพณี

FOUNTAIN 1917

18 FOUNTAIN‘Foutain’ ปี 1917 เปน็ โถฉ่ ี่ธรรมดาท่ีหาได้ตามหา้ งสรรพสนิ ค้าท่ัวไปทนี่ �ำ มาเซ็นชือ่ วา่ R. Mutt 1917 ราวกบั ต้องการตัง้ คำ�ถามที่น่าสนใจยง่ิ วา่ ศลิ ปะคืออะไร? ดูวช์ อง เปน็ ประธานบอร์ดสมาคมศิลปินอิสระ (Society ofIndependent Artists) ในอเมริกา และในงานแสดงนิทรรศการปี 1917ซ่ึงมีนโยบายว่าแสดงผลงานทุกช้ินทีส่ ง่ มา เขาไดส้ ง่ Foutain และปิดบังตวั ตนทเ่ี ป็นเจ้าของผลงานไว้ ผลงานช้นิ น้ีเป็นทถ่ี กเถียงกนั มากในหมสู่ มาชิกบอร์ดโดยไม่มใี ครรู้ว่าประธานอยา่ งดวู ช์ องคือเจา้ ของผลงาน สุดทา้ ยมมี ติไมแ่ สดงผลงาน เพราะมีการถกเถยี งกันว่า โถฉี่ช้นิ นี้เปน็ ศิลปะหรอื ไม่เปน็ ศิลปะ และสดุ ทา้ ย ดวู ช์ องก็ลาออกดูวช์ องได้พูดเอาไวว้ ่า “ถา้ มนั มลี ายเซน็ และคุณฉใ่ี สม่ นั ไม่ได้เพราะวา่ มนั แขวนอยกู่ บั ผนังพพิ ิธภัณฑ์ มนั ก็ตอ้ งเปน็ ศิลปะ จะเป็นอะไรไดอ้ ีก?”

L.H.O.O.Q. 1919

20 L.H.O.O.Q.ภาพทแี่ สดงความคิดของกลุ่มดาดอยา่ งเหน็ ได้ชดั กค็ อื ภาพ L.H.O.O.Q.(Mona Lisa with Mustache and Beard) ภาพ L.H.O.O.Q. นแ้ี สดงให้เหน็ไดช้ ดั ถงึ การตอ่ ต้าน ทำ�ลายคุณค่าของศลิ ปะในอดตี ด้วยการเอาส�ำ เนาภาพเขยี นทม่ี ชี ื่อเสยี งในสมัยเรอเนอซองส์ ของ Leonardo Da Vinci มาเติมหนวดเติมเคราค�ำ ว่า L.H.O.O.Q. ทเ่ี ป็นช่ือภาพ เมอื่ อกเสยี งเป็นภาษาฝรั่งเศสจะฟังดูคลา้ ยกับ คำ�ว่า “Elle a chaud au cul” และถา้ ออกเสยี ง เปน็ ภาษาองั กฤษจะคลา้ ยคำ�ว่า “LOOK”ศิลปนิ กลุ่มดาดามักจะมองงานจติ รกรรมของศลิ ปินกลุ่มอืน่ อย่างดูถูกดูแคลนเพราะพวกดาดาคดิ ว่า ความสวยงามทแ่ี ทจ้ รงิ ไม่มบี นโลก และผลงานเหลา่นัน้ เป็นผลงานท่ีเพอ้ ฝนั ซึ่งขดั กับโลกในความเปน็ จริงในมมุ มองของพวกดาดาพวกเขามกั จะคิดว่าโลกนี้ไมส่ วยงาม มแี ตค่ วามเสแสรง้ หลอกลวง

21 RAOUL HAUSMANN 1886 - 1971

22RAOUL HAUSMANN ราอลู ฮชั แมน เกิด 18 กรกฎาคม 1886 เสยี ชีวติ 1 กมุ ภาพนั ธ์ 1971 เกิดที่เวยี นนาและยา้ ยไปเบอรนิ กบั พอ่ แม่ของเขาตอนอายุ 14 ปี ในตอนแรกเขา ฝกึ ศลิ ปะกับพ่อของเขาทเี่ ป็นผู้เชยี่ วชาญในการสะสมงานศิลปะ และเปน็ จติ รกร เขาพบกับ Johannes Baader สถาปนิกท่ีมีความคิดท่ีแปลกแยก และศลิ ปินคน อนื่ ๆท่ใี นอนาคตกลายมาเปน็ ศลิ ปินในกลุ่มดาดา ใน 1905 เวลาเดยี วกนั กบั ท่เี ขาพบกบั Elfride Schaeffer นกั ไวโอลินทเ่ี ขา แตง่ งานด้วยในปี 1908 เขาเข้าเรยี นในโรงเรยี นสอนศิลปะในเบอรินในปที ล่ี กู สาว เขาเกิด และเขาเรยี นถึง ปี 1911 หลังจากทเี่ ขาเห็นศิลปะแบบ Expressionist เขาก็เรมิ่ ที่จะสรา้ งงานแบบ Expressionist ที่สตดู โิ อ และกลายมาเป็นนกั เขยี น ของ Walden’s magazine ทรี่ ู้จกั ในช่ือ Der Sturm ท่ที เี่ ป็นสถานทีใ่ นการ สร้างผลงานของเขา ในปี 1916 เขาไดพ้ บกับคน 2 คนท่สี �ำ คญั และมอี ทิ ธิพลต่อ งานของเขาภายหลงั คือ นักจติ วิเคราะห์ Otto Gross และ Franz Jung ผูน้ ิยม อนาธิปไตย

MECHANICAL HEAD 1920

24MECHANICAL HEAD ผลงานช้นิ น้ีเปนช้นิ ท่โี ดง ดงั ท่ีสดุ ของ Raoul Hausman แนวคิดในการ สรา งานของ Raoul Hausman ไดม าจากการผสมผสานระหวา ง ปรัชญาของ Wihhelm Friedrich Hegel (1770-1831) ไดเ อาทฤษฎี Karl Marx หัวไมแสดง เรื่องราวของความคดิ โดยการเอาวสั ดุตา งๆ มาประกอบเข้าด้วย กัน Raoul Hausman ไดก ลับเอาความคิดจากขางในมาไวขา งนอก เหมอื นการสรางสมมติฐานความลุมหลงของคนยโุ รป ท่ซี อ นอยู ไดเ ผยใหเ หน็ สิง่ แทรกซึมเหมอื นเปน แรงผลกั ความปาเถอื่ นออกมา ในยคุ ที่เครอื่ งจักร ไดม ามอี ทิ ธิพลในชีวติ คนยุโรป

THE ART CRITIC 1920

26THE ART CRITICเขาไมเ่ ห็นด้วยกับการมองเพียงผิวเผินและขาดความเป็นส่วนตัวในสาธารณรัฐไวมาร์ เขาสนบั สนนุ รูปแบบศลิ ปะใหมๆ่ จดุ เด่นทีอ่ ยู่ตรงกลางของภาพ คอืรปู ศีรษะทีใ่ หญม่ าก เป็นภาพศรี ษะของ George Grosz นักข่าวศลิ ปะท่ีตดิ ตามกลุม่ ดาดา มชี อื่ ของเขาอยูใ่ นรูป บรเิ วณที่เป็นปากและตาเปน็ แบบการต์ นู ระบายด้วยดินสอสบี นกระดาษแผน่ เลก็ ถือดนิ สอแท่งใหญ่ มรี ูปผู้หญงิ และผชู้ ายที่ตดั มาจากหนงั สอื พมิ พ์ เขาตอ้ งการแสดงใหเ้ หน็ วา่ เขามอี ิทธิพลมากกว่าท่เี ขาควรเป็น เขาจงึ แสดงว่าความเห็นของนกั วิจารณ์นน้ั บดิ เบอื นและนอกเรอื่ ง ตาของนักวจิ ารณ์ทีว่ าดใส่กระดาษ ทำ�ให้ไม่สามารถมองเหน็ งานศิลปะไดอ้ ยา่ งที่เขาควรท�ำ นักวจิ ารณ์เห็นแค่อะไรทีเ่ ขาคดิ เหมอื นผู้หญิงด้านขวาที่ตอ้ งการใหเ้ ขาเหน็ ตัวอกั ษรดา้ นหลังเปน็ ค�ำ พูดของนักวจิ ารณท์ ่ดี งั และเขา้ ใจยาก เขาเลือกที่ท�ำ ใหด้ ินสอใหญ่เพราะตอ้ งการแสดงถงึ พลงั ของนักวิจารณ์ศิลปะ เพราะดินสอคอื อาวธุ ของนกั วจิ ารณ์ เขาสามารถเขยี นอะไรก็ไดท้ เ่ี ขาเลอื ก การตคี วามศิลปะเป็นเรอ่ื งท่เี ป็นส่วนตวั แลว้แตบ่ ุคคล เขาเชือ่ ว่าไมม่ ใี ครมีคุณสมบัติทจี่ ะมาตดั สินวา่ งานศิลปะนนั้ ดหี รือไม่ดี ทห่ี ลังมีเงินตดิ อยู่สือ่ ถึงการตกเป็นทาสของคนรวยและเงินของพวกเขา พวกนกั วิจารณ์มเี งินเป็นเบอื้ งหลังความคดิ ของพวกเขาตลอด หนังสอื พิมพท์ ี่แปะด้านขวามคี �ำ ท่ีเก่ยี วกับเงนิ Hausmann ไมช่ อบทใี่ หเ้ งนิ มาเป็นตัวควบคมุ

ABCD 1924

28ABCDในภาพ ABCD มภี าพใบหนา้ และชอื่ ของฮชั แมนอยู่ด้วย สังเกตถงึ ความรนุแรงจากการกัดตวั อักษร ABCD ไว้แน่น และยังมขี ้อมูลเกีย่ วกับการอา่ นบทกวีของฮชั แมน ซึ่งท�ำ หนา้ ท่ีอา้ งอิงถึงวรรณกรรมของลัทธิดาดา มตี ้นขว้ั ของตว๋ัมอื เงนิ ท่ดี ับเพลงิ และ คำ�พดู ท่แี ตกต่างถกู ซ่อนเอาไว้ตลอดทัง้ ภาพคุณค่าของงานชิน้ น้สี ามารถตีความได้หลายทาง แตโ่ ดยรวมแล้วฮชั แมนใช้ภาพนเ้ี ป็นสญั ลกั ษณ์เพ่อื ส่งเสรมิ ให้ผชู้ มทา้ ทายความเช่ือทค่ี นสว่ นใหญย่ อมรบัและสรา้ งความคิดเห็น ความเชอื่ สว่ นตัวขึน้ ให้ศลิ ปะเป็นความหมายของศิลปะ

29 MAN RAY 1890 - 1976

30MAN RAYแมน เรย์เกดิ 27 สิงหาคม 1890เสยี ชวี ิต 18 พฤศจิกายน 1976เกดิ ทอ่ี เมริกา เขาเปน็ ลกู คนโตของครอบครัว เขามีนอ้ งชายและน้องสาว 2 คนช่อื ในตอนแรกของเขาคือ Emmanuel Radnitzky ตอ่ มาในปี 1912 ครอบครวัของเขาเปลีย่ นนามสกุลเป็น Ray ช่วงที่มีการแบ่งแยกชนชั้นและลทั ธิต่อตา้ นยิวที่แพร่หลาย ชือ่ ท่ีคนส่วนใหญ่เรียกเขาเหมอื นเป็นชอ่ื เลน่ คอื Manny ท�ำ ให้เขาเปลี่ยนชือ่ เป็น Man และรวม Man Ray เป็นชื่อของเขาในทีส่ ุด พ่อของเขาทำ�งานในโรงงานเสอื้ ผา้ และมีธรุ กิจตัดเยบ็ สทู เล็กๆเป็นของครอบครัว แม่ของเขาชอบออกแบบเสื้อผา้ ให้สมาชิกครอบครัวและนำ�เศษวัสดุมาปะติดกัน เขาอยากแยกออกมาจากครอบครัวแตง่ านสว่ นใหญข่ องเขา แตก่ ารตัดเย็บสูทมผี ลตอ่ งานของเขามาก เตารดี แบบไมใ่ ช้ไฟฟ้า,จกั รเยบ็ ผา้ ,เส้นไหม,หมดุ ,ผา้ ตัวอยา่ ง และของใช้อื่นๆทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการตัดเยบ็ มกั จะปรากฎเป็นสอื่ กลางในงานของเขาMason Klein ผูด้ ูแลพพิ ิธภัณฑ์ของ Man Ray มีพิพธิ ภณั ฑ์เกย่ี วกับชาวยวิบอกว่า เขาคอื ศินปนิ ชาวยวิ ทนี่ ำ�สมยั คนแรก

THE KISS 1922

32 THE KISSผลงานนี้เป็นหน่ึงในผลงานทีเ่ ก่าแก่ท่ีสดุ ของแมน เรย์ เปน็ กระบวนการท่ีวัตถถุ กูวางโดยตรงไปยังกระดาษภาพถ่ายทไ่ี วต่อการสมั ผัสกบั แสง ในการสรา้ งภาพถ่ายน้ี เขาย้ายเงาของมือท้ังคไู่ ปยงั กระดาษถา่ ยภาพ และทำ�ขัน้ ตอนนซี้ ำ�้ กับส่วนหัวของท้งั คู่

INDESTRUCTIBLE OBJECT 1923

34INDESTRUCTIBLE OBJECT แมน เรย์ เคยท�ำ อะไรออกมาท�ำ นองน้คี รงั้ นงึ เพราะวา่ เสยี ใจทีค่ นรกั ของเค้าทิ้ง เคา้ ไป เค้ากเ็ ลยไปตดั รปู ตาของคนรกั ของเค้ามา แล้วก็เอามาแปะไวก้ บั ลกู ต้มุ นาฬิกาทีเ่ หว่ียงไปเหวี่ยงมา ไม่วา่ เวลาจะผา่ นไปนานแค่ไหน กย็ งั เปน็ ดวงตาดวง นีท้ ีจ่ ้องมองและถูกจ้องมอง ถา้ ทนคดิ ถึงไม่ไหวกห็ ยิบค้อนข้นึ มาทบุ มันซะ มนั ก็ จะถูกท�ำ ลายไปเพยี งเส้ยี ววนิ าที ความต้งั ใจของ แมน เรย์ คอื ทำ�เสร็จแล้วกท็ ำ�ลายซะแลว้ กอ็ นญุ าตใหค้ นอ่นื ท�ำ อันอ่ืนๆขึ้นมา แตไ่ ม่มใี ครกลา้ ท�ำ เพราะเหน็ ว่ามนั เป็นงานศลิ ปะท่ีมคี า่ แต่ใน ที่สุดกม็ ีนกั เรยี นกลมุ่ นงึ ทำ�ลายมนั ไป แล้วกม็ ีศลิ ปินอนื่ ๆทำ�อันอนื่ ๆขึ้นมาอกี

THE VIOLIN OF INGRES 1924

36THE VIOLIN OF INGRESภาพนีไ้ ดร้ ับแรงบันดาลใจจากภาพ Jean-Auguste-Dominique Ingres ของ LaGrande Baigneuseเขาเปลย่ี นรา่ งกายของสตรีเปน็ เครื่องดนตรโี ดยการวาดภาพเสียงหลุมบนหลงัของเธอ เล่นกบั ความคดิ ของการท�ำ ใหร้ ่างกายเคล่อื นไหวได้ ตลอดอาชพี ของเขาแมน เรยร์ ู้สึกทึ่งกับวัตถเุ คยี งคู่กบั รา่ งกายของสตรี

บรรณานกุ รม DADAISM Avery P . 2558 . ABCD . (ออนไลน)์ . แหลง่ ทีม่ า : http://beautyovertime.blogspot.com/2011/05/abcd-by-raoul- hausmann.html Wikipedia . 2558 . MAN RAY . (ออนไลน)์ . แหลง่ ท่มี า : https://en.wikipedia.org/wiki/Man_Ray The Art Story . 2558 . DADA MOVEMENT . (ออนไลน์) . แหลง่ ทม่ี า : http://www.theartstory.org/movement-dada.htm DADA-COMPANION . 2558 . DUCHAMP . (ออนไลน์) . แหล่งท่ีมา : http://www.dada-companion.com/duchamp/ TATE . 2558 . DADA . (ออนไลน)์ . แหล่งทม่ี า : http://www.tate.org.uk/research/publications/tate-papers/13/ behold-the-buffoon-dada-nietzsche-ecce-homo-and-the-sub- lime



DADA, AS FOR IT, IT SMELLS OF NOTHING,IT IS NOTHING, NOTHING, NOTHING. FRANCIS PICABIA


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook