Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Victor Vasarely

Victor Vasarely

Published by Kachornpon, 2017-03-27 02:11:04

Description: Victor Vasarely_13580485_ธีรวิช_โกวิทวิชาบุตร_นิเทศ(Film)

Search

Read the Text Version

1

ForVaiscatroerly



บทนำ� หนังสอื เล่มนเ้ี ปน็ สว่ นหนังในรายวชิ า Man and Art (มนษุ ย์ กับศิลปะ) รหสั วชิ า 082101 มหาวทิยาลัยศลิ ปากร สาขานิเทศศาสตร ์ เอกภาพยนตร์ ภายในเน้ือหาของหนังสือมเี นอ้ื หาเกี่ยวกับประวัติของ ศิลปนิและรวบรวมผลงานศิลปะของตัวศิลปนิ ซึง่ ในหนังสือเล่มนน�ำ เสนอประวตั ิของVictor Vasarely ศิลปนิ ลัทธิ Op Art (Opitcal Art) หรอื ในชื่อภาษาไทยว่า“ศลิ ปะภาพลวงตา” ซึง่ จะเลา่ ถงึ ประวัติการท�ำ งานของเขาตง้ั แต่เริ่มต้น จนถึง จดสงู สดุ และ ผลงานช้นิ สดุ ท้ายของเขา หลักงานทำ�งานของศิลปะลวงตาท่ี ทำ�ใหส้ ายตาเราและการมองเห็นบดิ เบอื นไป การทไี่ ด้เลือกศลิ ปินท่านนี้ข้นึ มา เพราะเลง็ เห็นวา่ ออปอาร์ตหรอืศลิ ปะลวงตานัน้ มขี ้อมูลบนโลกอินเทอรเ์ น็ตน้อย และ สือค้นไดย้ าก จงึ ได้หยิบยกศิลปินเดน่ ๆของวงการนมี้ า เพอื่ ให้ทราบถงึ ผลงานทเ่ี ปน็ เอกลักษณะและความพิเศษของศิลปะที่ ตอ้ งใชห้ ลกั การทำ�งานดวงตาของมนุษยเพือ่ ท�ำ ให้เกิดผลของของช้ินงานได้ ธรี วิช โกวทิ วิชาบุตร 13580485 ผู้จดั ทำ�

สารบัญแนวคิดและรปู แบบ - 6 ประวัติ - 7ผลงาน และ แรงบลั ดาลใจ - 9-28Out the studio - 29ออกแบบในอตุ สาหรรม - 30Old In his old age - 31อา้ งอิง - 32

แนวคิดและรปู แบบ ออ็ ปอาร์ตติส โดยทั่วไปมักจะให้ความส�ำ คญั เก่ยี วกับพฤตกิ รรมการทำ�งานของดวงตาและพวกเขายังพัฒนาองค์ประกอบที่เป็นแอบสเตร็คเพื่อสำ�รววจปรากฏการที่หลากหลายทางใน้านการรับรู็ผา้ นดวงตา เช่น ภาพตดิ ตา,โมเร่ เอฟเฟค, ความละลานตา และทกุ ชนดิ จากผลของจากการทีภ่ าพส่งผลตอ่ดวงตา การเคลอื่ นไหวของภาพลวงตานน้ั ไม่ไดย้ ดึ ติดกบั ตวั แนวคดิ ท้งั ระยะและขอบเขตของภาพ ศลิ ปนิ ตอ้ งการทำ�ใหต้ วั สญั ลกั ษณค์ �ำ ว่าออปอารต์ น้นั มีความยืดหยนุ่ และพลกิ แพลงมากกวา่ 6

Biography ประวตั ิ Victor Vasarely77

Victor Vasarely เกิดท่เี มืองเพซ ประเทศฮังการีในปี 1906 เขาใช้เวลาช่วงวัยรนุ่ ในเมือง \"ปเิ อสตาน\"ี Pieštany ในภาษาภาษาสโลวกั (ปัจจบุ ันเรยี กวา่ Pöstyénในภาษฮังการี เขียนต่างกันแต่อา่ นออกเสียงเหมอื นกนั ) และตอ่ มากย็ ้ายมาอยู่ บูดาเปส ในช่วงตน้ ของชีวิตเขา วาสาลาร่ีไดพ้ บว่าใช้เวลาอยกู่ บั วทิ ยาศาสตรม์ ากกว่าศลิ ปะ และในปี 1925เขา้ ไดส้ มคั รเข้าสอบและได้รับเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยแพทย์ของบูดาเปส ที่ซึ่งเข้าใช้เวลากวา่ 2ปีในการเร ยี น ในปี 1927 วา สาลารี่ ไดเ้ ปล่ียนชีวติ ครง้ั สำ�คัญ เขาได้ตดั สนิ ใจท่ีจะ ห ยุ ด ก า ร เ รี ย น ด้ า น แ พ ท ย์ และเปลี่ยนทิศทางอย่างแน่ว แน่ การตัดสนิ ใจครั้งนี้ตาม ความต้องการของเขาท่ีจะ ประกอบอาชีพด้านศิลปะ ในปีนั้นเขาได้เข้าศึกษาใน โ ร ง เ รี ย น ส อ น ก า ร ว า ด ข อ งบูดาเปสระหวา่ งปี 1925- 1927 และไดเ้ ป็นนักเรยี น ภายใตก้ ารสอนของAlexander Bortnyik ทีม่ ิวลี่ หรอื ทเ่ี รารจู้ ักกนั ดีในชอื่ สถาบันการสอนศิลปะเบาเฮาส์ เบาเฮาส์มีความเดน่ ในการสนิ ด้าน สถาปตั ยกรรมและการออกแบบกราฟคิ ซง่ึ สอดคล้องกบั อปุ กรณก์ ารสอนคุณภาพสูงดว้ ยการออกแบบทด่ี ีของส่ิงตา่ งๆและสภาพบรรากาศ ในขณะทเี่ ขาอยู่สถาบันเขาไดร้ จู้ ักกและคณุ เคยกบั รูปแบบการออกสไตลข์ องPaul Klee and Vasily Kandinsky และทฤษฎีระดับสขี องWilliam Ostwald 88

Work & Inspiration งาน และ แรงบลั ดาลใจ99

เปน็ เวลากว่า2ปี ท่ีวาสลารีไ่ ด้ศกึ ษาในสถาบนั สอนศลิ ปะแหง่ ชาติPodolini-Volkmann เขาก็ยังใช้เวลากับตวั เองในการอ่านหนงั สือประเภทต่างๆอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะเร่อื งเก่ยี วกับวทิ ยาศาสตร์ และไดซ้ ึมซบั งานวทิ ยาศาตรข์ องEinstein, Heisenberg, Bohr and Wiener เขาได้ค่อยๆเรม่ิ พัฒนาไอเดยี ทว่ี า่ วทิ ยาศาสตร์ได้ไปถงึ จุดสูงสดุ ที่จะสามารถอธิบายไดแ้ ล้ว และมันกไ็ ดแ้ สดงออกมาผา่ นทางผลงานศิลปะ ผลงานเหลา่ นน้ั ถูกสรา้ งให้สามารถเขา้ ใจได้ผ่านทางการมอง Etudes Bauhaus A - 1929 Victor Vasarely Oil on board เขาได้มคี ำ�พูดอธบิ ายท่ีเกย่ี วกบั ไอเดยี ระหว่างการพบกนั ของจุดระหว่างศิลปะและวิทยาศาสตร์ “ศลิ ปะและวทิ ยาศาสตรค์ ือทั้งสองส่ิงของการแสดงออกทางความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย พบกนั อกี คร้ังในรปู แบบการสรา้ งจนิ ตนาการทอ่ี ยู่ทีส่ อดคลอ้ งกับความรู้สกึ และความรู้ร่วมสมัยของเรา” 10

ไอเดยี ของวาสลารน่ี ะขณะน้ี เปน็ เพียงแคค่ วามคิดเท่านน้ั และบางสิง่ บางอยา่ งต้องการการเรม่ิ ตน้ และรปู ร่างท่ีเหมาะสม ตอนน้ีเขาเพยี งมองหาจุด หมายเท่านั้น เขาได้พบในสง่ิ ท่ีเขากำ�ลังมองหาในรา้ นกาแฟท่ตี งั้ อยขู่ า้ งๆแมน่ �ำ้ Danubeบ่อยครัง้ ทเี่ ขามกั จะมาในสถานท่ที ก่ี ลุ่มผมู้ คี วามรูน้ ดั มาพบเจอ กัน เพือ่ พดู คุยเกย่ี วกบั การเมอื ง เศรฐกิจ ปญั หาสังคม ความก้าวหน้าของ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ดนตรี และ ศิลปะที่จดั จา้ น ทา่ มกลางsหมู่ความรู้ และความมชี ีวิตชีวา เขาไดย้ นิ เก่ยี วกบั โรงเรียนBau- hausซึง่ สอนเกย่ี วกัยงานฝีมอื และศลิ ปกรรมกอ่ ตัง้ โดยสถาปนกิ Walter Gropi- us ในปี 1919สงิ่ ท่ีนา่ สนใจมากกวา่ น้นั สำ�หรับเขาก็คอื สถาบนั Muhelyได้รบั การยกย่องเทียบเท่าBauhaus ซง่ึ เป็นศนู ย์กลางของการศกึ ษาศิลปะในฮงั การี Etudes Bauhaus C – 1929 Victor Vasarely Oil on board11

Etudes Bauhaus D – 1929 Victor Vasarely Oil on board เขาไดเ้ ข้ามาเรยี นในสถาบัน Muhely ซึง่ ตอนนั่นด�ำ เนนิ การโดยSán-dor Bortnyik ในป1ี 929 โรงเรียยนไดพ้ ยาายามอย่างากเพอื่ ทจ่ี ะไปถงึ เป้าหายเดมิ ของ Bauhaus แนวคดิ พน้ ฐานของสถาบันในการสอนคือ ทงั้ หมดของศลิ ปะและงานฝีมือ และ ด้านสถาปตั ยกรรม ใชค้ วามสมั พนั ธต์ ามวัตถุประสงค์ของ ลูกบาศก์ สีเ่ หลี่ยม และ ทรงกลม เปน็ หลกั การสอนของBauhausส่งผลให้อิทธิพลเป็นวงกว้างในศิลปะสถาปตั ยกรรม และดไี ซน์ ของตะวนั ตก สิบปีต่อจากนห้ี ลงั จากตายและยงั คงเหลืออยจู่ จนถงึ ทกุ วนัใน Muhely วาสลารี่ได้สำ�รวจความหลากหลายทางรปู แบบของภาพ รวมทัง้ส่งิ ทเ่ี ป็นนามธรรม ดว้ ยความสามารถของเขาเป็นทช่ี ดั เจนให้กบั ทกุ คนทเ่ี ขาพบในช่วงเวลานแี้ ละเขากแ็ ยกตวั ออกมาเป็นเปน็ นกั เรียนดีเดน่ ในชัน้ เรียน 12

ในตอนน้ี วาสลารไ่ี ด้ท�ำ งานในสองบทบาททโี่ รงงานผลิตลกู ปนื (สำ�หรับ เคร่ืองจักรกลต่างๆ)เป็นท้ังพนักงานในแผนกบัญชีและยังออกแบบโปสเตอร์ให้กับ ทนี่ ีอ่ กี ดว้ ยอ ปี1930 เพ่ือค้นหาบางสิ่งบางอยา่ งทม่ี ากขึน้ วาสลารไี่ ดย้ ้ายไปท่ปี ารสี เมืองแหง่ แสงสี ซง่ึ ในตอนนน้ั เป็นศูนยก์ ลางของงานศลิ ปะต่างๆของโลก และ หลงั จาก น้ันเข้าไดแ้ ต่งงานกบั Claire Spinner ซึง่ เพอื่ นท่เี รียนมาดว้ ยกันในสถาบนั เป็น พวกเขามลี กู ดว้ ยกัน 2 คน Andre และ Jean-Pierre ในปี 1930 เขาไดเ้ ป็น นกั ออกแบบกราฟคิ และศิลปนิ ทำ�โปสเตอร์ ซ่งึ เขามักนรูปแบบของ�ำ รูปทรงเลขา คณติ และภาพท่แี สดงถงึ องคป์ ระเหล่าน้ันเขา้ ไปในช้นิ งาน เขาไดห้ างานตามเอเจนซีบ่ รษิ ทั โฆษณาตา่ งๆ แตไ่ ม่ได้ทำ�ในบทบาท่ที ้าทายเท่า ไหร่ และ ใช้เวลามากและมากขนึ้ ในชว่ งบา่ ยเพือ่ ท�ำ งานศิลปะของเขาคาวมใฝฝ่ นั ของเขาคือการไดท้ �ำ งานทง้ั วันทั้งคืน Autoportrait – 1934 Victor Vasarely Pastel on paper13

การท�ำ งานของ วาสลาร่ี ใน L’Echiquier – 1935ชว่ งเวลาน้สี ว่ นใหญ่เปน็ รูปเปน็ รปู ร่างและ่เกี่ยวขอ้ งกบั รูปกราฟิค แตภ่ ายใน Victor Vasarelyงานน้ีกไ็ ด้หวา่ นเมลด็ พนั ธข์ุ องkineticและ optical สู่งานของเขาในภายหลงั Oil on board ภาพนถี้ กู วาดในปี 1935 เราจะสงั เกตุเห็นได้ว่าความหลาหลายทางรปู แบบของเขาได้ถกู พัฒนาในช่วง10ปีที่ผ่านมา ในช่วงอายุ30ปี ไมว่ ่าเขาจะตระหนักหรอื ไม่ ว่าเขาไดว้ างรากฐานเป็นแนวทางส�ำ หรบั งานอนาคตของเขาขา้ งหนา้ ไวแ้ ลว้ ผลงานอืน่ ท่ีนา่ สนใจในชว่ ง นปี้ ระกอบดว้ ย Arlequin ที่เขาได้ใช้ เทคนคิ ในการจดั สีอย่างเปน็ ระบบและ การบดิ เบอื นเส้นตาราง เพ่อื ใหร้ ปู ดมู ีชี วติ และเคลือ่ นไหวข้นึ มาArlequin – 1936 Victor Vasarely Oil on canvas 14

ผลงานในชดุ นมี้ ที ้ังหมด3ช้ินงานน้ีคอื Zebras ภาพน้ีถกู สรา้ งจากทำ� จากลายหมนุ โดยไม่ต้องรา่ งตามหลักการของโครงสร้าง และแสดงให้เหน็ อย่าง ชดั เจนว่าความสามารถของเส้นสามารถสร้างความรู้สกึ คล่องแคล่วเคลื่อนไหวได้ Zebras - 1937 Victor Vasarely Oil on canvas Zebras - 1944 Victor Vasarely Oil on canvas15

Zebras - 1950 Victor Vasarely Oil on canvas Tigres - 1938 Victor Vasarely Oil on canvas ผลงานช้ินนี้สร้างโดยการใช้ภาพเสอื 2ตัวนำ�มาสลับซอ้ นกนั และการใช้สที ีต่ ดั กันอยา่ งชดั เจน 16

การเปล่ยี นแปลงครัง้ ส�ำ คญั ในสไตลก์ ารทำ�งานของวาสลาร่ีได้เปลีย่ น หลังจากท่เี ข้าจัดแสดงผลงานในนทิ รรศการครงั้ สำ�คัญ ในผลงานกราฟิคและ ภาพวาด ท่ี แกลลอลีD่ enise Reneในป1ี 944 นิทรรศการไดร้ บั ประสบความ ส�ำ เร็จอย่างมาก และ เขาได้ทำ�การตัดสินใจอุทศิ ตนในงานจติ กรรมต้ังแตน้นั ในช่วงเวลานี้ เขาได้สนใจในงานของศลิ ปนิ นามธรรม เชน่ Auguste Herbin, Piet Mondrian และศลิ ปินสถาปตั ยกรรม le Corbusierไอเดียของ ศลิ ปินเหล่านม้ี ีผลกระทบตอ่ เขาอย่างมาก และปี1945เขากไ็ ดเ้ ปน็ ทำ�งานจติ รกร แอปสเตร็คอย่างเตม็ ตัว เขาไดก้ ำ�ลังอย่บู นเส้นทางท่ไี ด้รบั การยอมแตย่ งั ไมเ่ ปน็ ที่พอใจสำ�หรับ เขาเพราะเขายงั หาสไตล์ที่เป็นของตนเองไมไ่ ด้ La Cuisine Jaune a Cocherel - 1946 Victor Vasarely Oil on wood17

ปี1947 วาสลาร่ีไดเ้ รมิ่ ใช้เวลาว่างในวนั หยุดในBrittany’s Belle-Isle และค้นพบแรงบันคาลใจในขณะทเ่ี ขาก�ำ ลังเดินอยู่ริมชายหาดบนเกาะท่ีสวยงาม Ezinor – 1949 Victor Vasarely Oil on boardแรงบนั ดาลใจของภาพนเ้ี กิดจากรอยแตกบนกระเบอื้ งผนงั ของสถานีรถไฟใต้ดิน Denfert-Rochereau ในปารีสโดยวธิ ีที่แปลกประหลาด ทแี่ บ่งแกว้ และการจัดระเบยี บก้อนกรวดท่ีชายหาด Belle-Isle-sur-Mer “ผมมน่ั ใจที่จะจดจำ�รปู ทรงเรขาคณติ ภายในของธรรมชาติ”เขาไดก้ ลา่ วไว้ในชว่ งนี้ เขาไดเ้ รมิ่ ย้ายจากจากวาดจติ รกรรมทเ่ี ป็นรูปแบบนามธรรม แต่ได้พฒั นาจากการวาดรปู เหมือนเป็นการวาดรูปทีจ่ ดั องค์ประกอบดว้ ยรปู ทรงเลขาคณิต ผลงานในชว่ งนไี้ ดร้ บั อทิ ธพลงจากKazimir Malevich Black Square และหลังจาดนั้นเขาได้พบกับสไตล์การวาดของเขา Black Square – 1920 Kazimir Malevich Oil on canvas 18

ในชว่ งน้ี เขาไดเ้ รม่ิ ย้ายจากจากวาดจติ รกรรมทเี่ ป็นรูปแบบนามธรรม แต่ได้พัฒนาจากการวาดรูปเหมือนเป็นการวาดรูปท่ีจัดองค์ประกอบด้วยรูปทรง เลขาคณิต ระหวา่ งปี 1951 และ ป1ี 959 วาสลารี่ยังคงทำ�งานวาดทเี่ ก่ียวกับรปู ทรงเลขาคณติ และไดเ้ รื่มวาดภาพเหลา่ นัน้ ในสขี าวด�ำ ในช่วงนีเ้ ราจะเห็นได้ วา่ การพัฒนาสง่ิ ท่เี ราเรยี กว่า ออปอารต์ ชือ่ Vega เป็นชื่อ ท่ีตั้งตามดวงดาวที่สว่างที่สุด ในหมูด่ าวนักษัตร เขาไดว้ าดกระดานหมากรกุ ข นาดใหญและทำ�ให้เกิดความ รู้ สึ ก ร บ ก ว น ก า ร รั บ รู้ ท า ง สายตา โดยการใหเ้ สน้ ท่สี รา้ ง ตารางส่ีเหล่ยี มนั้นโคง้ งอ Vega – 1957 Victor Vasarely Acrylic on canvas ภาพวาดที่แสดงตอ่ ดวงตาดว้ ยข้อมูลท่ีขดั แยง้ กัน โดยขณะที่เราอ่าน สว่ นหน่ึงของพนื้ ท่ีบนภาพในแนวของเสน้ ทะแยงมมุ และ อีกสว่ นในแนนนอน และแนวต้งั โดยแท้จริงแล้วภาพบงั คบั ให้เราขยบั ไปข้างหนา้ และขา้ งหลัง เมื่อ เราท�ำ อยา่ งน้นั พนื้ ผวิ ของภาพวาดจงึ แสดงผลของการขยับ ท้ังการยืดออก การ หดตวั เขา้ และ การเกดิ ลูกคลืน่ - รากฐานของออปอารต์ ได้เกิดข้นึ แล้ว - 19

การเกิดภาพลวงตา ในบางครัง้ ตาของคนเรากไ็ ม่ได้เห็นส่ิงทเี่ ปน็ อยจู่ ริงเสมอไปและสามารถถูกหลอกได้ง่าย ตาและสมองของคนเราจะทำ�งานประสานกนั อย่างใกล้ชดิ กนั มาก โดยตาทำ�หนา้ ทร่ี บั ภาพเขา้ มา สว่ นสมองท�ำ หนา้ ท่ปี ระมวลผลและวเิ คราะห์ว่าภาพที่รบั เขา้ มาเป็นภาพอะไร มีสีอะไร เปน็ ภาพเคลื่อนไหวหรือภาพนง่ิ เม่ือแสงจากวัตถกุ ระทบกับเลนสต์ าจะเกดิ การหกั เหและเกดิ เปน็ภาพจรงิ บรเิ วณจอตา(retina) และจอตาก็จะดูดซับและแปลงภาพใหเ้ ป็นสญั ญาณไฟฟ้าสง่ ตอ่ ไปยังสมอ ป1ี 955แกลลอรี่ Denise René ไดร้ บั มากกว่าเพยี งการบกุ เบิกการแสดงของ คินเนตดิ อาร์ต“Le Movement” ซ่งึ เป็นนทิ รรศการของวาสลารใน่ี ขณะเดยี วกันเอง เขาไดต้ พี มิ พ์ผลงาน ‘Yellow Manifesto ในการทเี่ ขาไดก้ ลบั ไปสอนในกาฝึกอบรมของ Bauhaus เพ่ือร่างแนวคิดของ “plastickinetics” Cassiopee II – 1958 Victor Vasarely Acrylic on canvas 20

ส�ำ หรับศิลปิน จติ รกรรมและประติมากรรมกลายเปน็ การร่วมถา่ ยทอด เปน็ ส่งิ ที่แนน่ อนมากเมอ่ื ท่ีจะพดู ถงึ สอง สาม และหลายมิติ ศิลปะพลาสติก อีกไม่ นานเราก็จะได้มีการประการทีช่ ัดเจนของความร้สู กึ ความคดิ สรา้ งสรรค์ แต่การ พัฒนาของความรูส้ กึ ทีส่ ร้างไดใ้ นพนื้ ท่ที ีแ่ ตกตา่ งกนั การเคลื่อนไหวไมไ่ ดข้ นึ้ อยกู่ ับองค์ประกอบหรอื เรือ่ งท่เี ฉพาะเจาะจง แต่ขนึ้ อยกู่ ับความเขา้ ใจในการแสดงทางสายตา โดยตัวของภาพเองท่เี น็ ตัว ตดั สิน เกมอื นเชน่ เดียวกบั ผู้วาด เขาไดร้ บั รางวัลนักวจิ ารณ์ในกรงุ บรัสเซลสแ์ ละเหรียญทองท่มี ิลาน เพราะผลมาจากการประกาศคร้งั นข้ี องเขา Alphabet VB – 1960 Victor Vasarely Acrylic on canvas ในระหวา่ งช่วงน้ี วาสลารไี่ ด้พัฒนางาน Alphabet Plastique พ้นื ฐานของระบบตาราง ทสี่ ร้างความสัมพันธ์ระหวา่ ง รูปแบบและสี ในช่วงน้ี ในช่วงนี้จดุ เช่นของเขาคือการนำ�รูปแบบการใช้สกี ลบั มาใชใ้ หมใ่ นงาน ซง่ึ ในตอนนี้งานของเขาก็ไดแ้ บ่งออกเปน็ 2รปู แบบ Alphabet Plastique และ Folklore Planetaire. 21 21

Bora III – 1964 Victor Vasarely Oil on canvas ถึงแมว้ ่าวาสแรลจ่ี ะเป็นทรี่ ู้จกั มากมายและไดร้ ับหลายรางวลั อนั ทรงเกยี รติ แตเ่ ขากย็ งั ไมเ่ ป็นที่รูจ้ กั ในระดับสากลจดุ เปล่ยี นในปี 1965เมือ่ วาสแรล่ีได้จดั แสดงชดุ ผลงาน ทเี่ รยี กว่า “The Re-sponsive Eye” หรอื การตอบสนองของดวงตา ใน New York’s Museumof Modern art ท�ำ ใหเ้ ขาได้เทียบเคยี งกับศลิ ปนิ ออปอาร์ตอืน่ ๆ เชน่ BridgetRiley เขาก็ได้ถกู ขนานนามว่าFather of op art (บดิ าแห่งศิลปะลวงตา)ผลตอบรบั จากการจดั แสดงงานนนั้ ดีอย่างล้นหลาม และไม่กีป่ ีหลงั จากน้นัศิลปะแขนงน้ีกไ็ ดถ้ กู แพร่กระจายไปในทง้ั สู่ โฆษณา บรรจภุ ัณฑต์ า่ งๆ ท้งัแฟชัน่ และการออกแบบอ่ืนๆ ผลงานชิ้นนี้ไดส้ ง่ ผลให้เขาไดีรบั การยอมรบั ในถานะศลิ ปนิ ระดบั สากล และผลงานชดุ นย้ี ังไดร้ ับเชญิ ไปจัดแสดงในห้องแกลลอรีห่ รอื พิพิธภัณณท์ ว่ั โลก 22 22

ความแตกต่างของสีโทนร้อนและเย็นในภาพนี้ได้สร้างภาพลวงตาอย่าง ครอบคลุมของโครงสร้าง3มิติซ่ึงทำ�ให้ดวงตาเราสับสนว่าภาพน้ีเว้าเข้าหรือนูน ออก การลวงตานส้ี ่งผลออย่างมปี ระสิทธภิ าพและน่นั ทำ�ใหเ้ ราเกือบจะลืมว่านค่ี อื ภาพท่ีถูกวาดขน้ึ มา แม้ว่าสีขาวและดำ�ส่งผลที่ดีท่ีสุดในภาพลวงตาสีก็ยังเป็นกลอุบายท่ี ศิลปินออปปารต์ นิยมใช้ ครทู ี่สอนในบนั เฮาส์ อย่างเชน่ โจเซฟ อัลแบล์ ใหแ้ นวคิด ว่าไม่ใช่เพียงแค่ความสมั พันธห์ รอื นยั ของสี ท่มี คี วามสำ�คัญบ่อยๆตอ่ งานศิลปะ แต่ ความเรยี บง่ายของมนั คอื การท่มี นั แสงผลตอ่ ตาของเรา Duo 2 - 1967 Victor Vasarely Gouache and Acrylic on board23 23

ในชุดผลงานท่ี 3 ผลงานชดุ น้ีชื่อ the Gestalt ซ่งึ แปลจากภาษาเยรมันวา่ รูปทรง วาสลารไ่ี ด้นำ�ความหลงไหลในรปู ทรงหกเหลยี่ มมาใสใ่ นผลงานชุดน้ี และเขาไดส้ รา้ งชดุ งานทชี่ อ่ื วา่ “Homage to the Hexagon” ควบคู่ไปกับ ชุด the Gestalt ภาพวาดในชุด ผลงานนีด้ ูเหมือนมีลกั ษณะ เป็นของแขง็ แต่ใหค้ วาม รู้สกึ ไม่มีตวั ตนและเป็นไปไม่ ได้ รปู ทรง3มิตปิ ระกอบดว้ ย ลูกบาศก์และเรยี งต่อเนอ่ื ง กนั เปน็ โครงสรา้ ง วง่ึ ทำ�ให้ผู้ ได้รับชมนัน้ รู้สึกสับสนทาง สายตา เขาได้เปลีย่ นแปลง ดา้ นการใช้สี อยา่ งเต็มที่ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลของการลวงตาท่ีมากKeple- Gestalt -1968 ขน้ึ ทั้งดา้ นพืน้ ที่ แสง ความ เคลื่อนไหว และ โครงสร้างVictor Vasarely Acrylic on canvas ION 10Homage to the Hexagon 1969 Victor Vasarely Color screenprint on paper 24 24

แมว้ ่าเขาจะรบั ค�ำ เปรียบเทยี บกับ งานที่มลี ักษณะดา้ นความขดั แยง้ ในพ้ืนท่ี ของ M.C. Escher Relativity 1953 M.C. Escher Lithograph แต่นี้กไ็ มไ่ ดค้ วามยตุ ิธรรมเนื่องเพราะจากขนาดและความเขม้ ของ ประสบการณ์ผลงานเหลา่ น้ีผลิตเพ่ือใหเ้ กิดมุมมองแตกต่างกัน หลักใหญ่ ใจความในงานของ Escher ทเ่ี ขาใช้คอื มติ ิ บน ล่าง กลาง ขวา ซา้ ย ทไ่ี มร่ ู้ ทม่ี าท่ีไปทแี่ น่นอน ่ หรอื แพทเทริ น์ ที่ทำ�ให้สบั สนวา่ ส่งิ ไหนคือรปู รา่ ง จุดไหนคือ พน้ื ที่25 25

ในปี1968 วิคเตอร์ได้สรา้ งชดุ ผลงานวาดอื่นๆ ท่ีเปน็ ที่นิยมอย่างมากและไดถ้ กู ร้จู ักอย่างกวา้ งๆชื่อว่า Vega ในปี1957ทเี่ ขายังใช้เทคนิคการบิดเบี้ยวพน้ื ผวิ อยู่ จนกระทั่งชดุ ผลงานถูกสรา้ งมาจนถงึ ในปี1968 เม่ือเขาไดเ้ ริ่มการใช้สลี งไปในงาน Vega-Nor – 1969 Victor Vasarely Acrylic on Canvas ในชดุ ผลงานนีเ้ ราจะเหน็ ความเชียวชาญด้านการใช้สแี ละรปู ร่าง ภาพนอี้ งจากการใชท้ รงกลมท่บี ดิ เบี้ยวกับเสน้ ตารางหลากหลายสี พื้นผวิ ท�ำ ใหถ้ กูโคง้ งอ ใหค้ วามรสู้ กึ เหมอื นกับจะหลุดออกมาหรือถูกดูดเขา้ ไปในระดับความลึของพน้ื ผิว 26 26

ในรอบปที ีผ่ ่านมา วาสลารสี่ รา้ งชดุ ผลงานท่แี ตกต่างกนั หลายงานซ่ึง เป็นตัวสร้างชือ่ เสยี งให้แกเ่ ขา หนึ่งในนนั้ คือชดุ Vonal ท่ที เี่ ขากลับมาเยีย่ มเยีนกอ่ นทเี่ ขาจะคน้ คว้า (เหมอื นเชน่ งานชุดZebras)และงานกราฟคิ แต่ตอนนว้ี าดโดยการใช้งานระบบ สอี ย่างเต็มที่ ผลงานชุดนนย้ี งั คงเหมือนชดุ งานท่ใี ชเ้ สน้ กอ่ นหน้านี้ในการวจิ ยั การเคลอื่ นไหวและการรบั รู้ Vonal-Stri – 1975 Victor Vasarely Acrylic on canvas ในVonal-Str ตวามรู้สกึ ลึกและความเคล่ือนไหวถูกสรา้ ง โดยทวี่ า สลาร่ีใช้เสน้ ขนาดเลก็ ลงเรื่อยๆเขา้ สู่ศูนยก์ ลางของผนื ผ้าใบ ย่ิงเรามองเข้าท่ี ศนู ย์กลางเราก็ย่ิงร้สู กึ ว่ามันห่างไกลมากขึน้ ทกุ ครัง้ การเปลย่ี นสที ใ่ี ช้ในพ้นื ที่ ท�ำ ใหผ้ ้มู องภาพรสู้ กึ ถงึ พลงั งานการเคลอื่ นไหว ความลึกและ พ้ืนที่27 27

เป็นชว่ งต้นปี 1950, Vasarely ใชม้ าตราวดั ขนาดเบอ้ื งตน้ ส�ำ หรบั ในงานวาดของเขา วาสลารี่ เรียก การวางแผนนี เหล่าน้ี - โปรแกรม (หนึง่ ซงึ่ แสดงให้เห็นว่าทางดา้ นขวา) ไ ดส้ รา้ งเสเ้นขราูปไดแ้พบฒับในหามร่แะบละบรสูปแี ทลระงที่สามารถเข้ากันกบั สีของเขา นนั่ คือผลงานที่ถูกเรยี กว่า alphabet เขาได้ลองทำ�งานเหลา่ น้ีบน program ก่อนทจี่ ะลงมอื ทำ�ผลงานชุดใหม่ ในตอนต้ันเขาใชแ้ บบฟอร์มนีท้ รี่ า่ งจาโปรแกรมดดยตวัเอขเอง แตใ่ ชปี 1965 เขาได้ให้สงิ่ นีก้ ับผู้ชว่ ย เพื่อชว่ ยเขาในการทำ�งาน Programmation Victor Vasarely ในเริม่ แรกเขาไดห้ ลงไหลในเทคโนโลยที ี่มีมาใหม่ และไดดเ้ หน็ ตัวตน้ แบบของคอมพิวเตอร์ เขาไดย้ นื ยันที่จะน�ำ ตัวตน้ แบบของคอมเพวิ เตอร์มาติดต้งั ท่ี the Vasarely Foundation ในระบบการท�ำ งานของเขา งานplasticalphabetและprograms ไดว้ าดไปพรอ้ มๆกนั ดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และคอมพวิ เตอรศ์ ลิ ปะของปัจจุบนั นไี้ ด้ทำ�ให้เราเห็นเขากา้ วมาได้ไกลขนาดไหน The Vasarely Foundation 28 28

Out the Studio ในปี 1954 วาสลารีไ่ ดส้ รา้ งงาน Tribute to Malevitch’ ภาพผนัง เซรามกิ ขนาด 100 ตารางเมตรทีม่ หาวิทยาลัยการากสั , เวเนซเุ อลาซึง่ เขารว่ ม ออกแบบด้วยสถาปนิก Carlos Raúl Villanueva ในปี 1967 ได้รบั เลอื ก เขาได้ออกแบบศาลาแบบฝรง่ั เศสท่ี the Montreal World Fair Expo.29 29

ออกแบบในอตุ สาหกรรม วาสลาร่ี รูส้ ึกวา่ เปน็ เอกลักษณ์ของงานศลิ ปะและการมีส่วนรว่ มสว่ นบคุ คลของศลิ ปินในการด�ำ เนินการของมนั เป็นความคิดของชนช้นั กลาง เขาทำ�งานโดยใช้ตัวเองเพ่อื การในตลาตอุตสหกรรมโดยกระบวนการทีท่ ันสมัย การ จำ�กดั ตัวเองใหเ้ ป็นเสน้ แบน รปู ทรงเรขาคณติ ท่เี รยี บงา่ ยและสีท่ีไมม่ กี ารปรับแตง่ เขามองวา่ ตัวเองเปน็ \"ผู้สร้าง\" ของการออกแบบท่ีสามารถผลิตได้ในราคาไมแ่ พงและในขนาดเท่าเดิมหรือย่อขนาดลง ส่ิงนีไ้ ด้สะท้อนใหเ้ ห็นในวิธีการของเขาของความคิด การท�ำ งานบนกระดาษกราฟ ของเขาจะท�ำ สัญลักษณข์ องตวั อักษร (ส�ำ หรับรูปร่างจะปรากฏในตารางกราฟท่กี �ำ หนด) และหมายเลข (1ถึง16 เพ่อื บอกโทนหรอื ความหมายของส)ี โดยใช้รปู ทรงเรขาคณติ ท่ีเรยี บง่ายและเฉดสที ่ีได้รับการแก้ไขโดยใช้การกำ�หนดขนาดของเขา ทำ�ใหเ้ ขาหรือคนอ่นื ๆสามารถสรา้ งส�ำ เนาของการออกแบบได้ ดว้ ยวธิ ีนเี้ ขาผลิตงานศิลปะซ่ึงเขาเชื่อวา่ จะเป็นประโยชน์ตอ่ ทุกคนในสังคมโดยการให้บรกิ ารและราคาไมแ่ พง 30 30

In his old age Victor Vasarely ในช่วงอาย7ุ 0 เขาก็ยงั คงท�ำ การวจิ ัยเร่ืองความลึกและความ เคลอ่ื นไหวในภาพลวงตาสอื เนง่ื มาบนผลงานทมี่ โี ครงสรา้ งซบั ซ้อนของเขา ผล งานเหล่านี้เปน็ สงิ่ ที่หนา้ ต่นื เต้นและเป็นการรเิ ริม่ สงิ่ ใหม่ เหมอื นกับผลงาน ใน ช่วงบนั ปลายของเขากถ็ กู กองดว้ ยเกยี รตินิยม เขากลายเป็นพลเมืองกติ ติมศักด์ิ ของนวิ ยอร์กและในปี 1990 ได้รบั การเล่อื นตำ�แหน่ง (ในฝร่งั เศส) เป็น Grand Officer de l’Ordre national du Mérite (Vasarely ไดก้ ลายเป็นพลเมอื ง สญั ชาตฝิ รัง่ เศสิในปี 1959) ในปี 1970 เขาไดเ้ ปดิ พพิ ธิ ภณั ฑข์ องเขาเปน็ ครงั้ แรกในกอร์เดส, ฝรั่งเศส (ปิดใหบ้ รกิ ารในปี 1996) The Vasarely Founda- tion museum เปิดในปี 1976 อย่ใู น Aix-en-Provence, ฝรง่ั เศส, เชน่ เดยี ว กบั พิพธิ ภณั ฑ์ Vasarely ในเพซ, ฮังการี สถานทเ่ี ขา เกดิ ของ ในปี 1987 พพิ ธิ ภัณเขาต่อไปเปดิ ใน Zichy Palace ในกรุงบดู าเปสต,์ ฮังการี วาสลาร่ีเสยี ชวี ติ ในปารีสขณะอายุ91 วันท1่ี 5มนี าคม คศ. 1997 31 31

บรรณานกุ รมhttp://www.vasarely.com/site/site.htmhttp://www.fondationvasarely.fr/uk/vasarely4.phphttp://www.masterworksfineart.com/artist/victor-vasarely/http://www.visual-arts-cork.com/history-of-art/op-art.htmhttp://www.theartstory.org/movement-op-art-artworks.htm#pnt_1https://en.wikipedia.org/wiki/Victor_Vasarelyhttp://www.encyclopedia.com/topic/Victor_Vasarely.aspxhttp://www.op-art.co.uk/victor-vasarely/http://art-now-and-then.blogspot.com/2013/05/vic-tor-vasarely.htmlhttp://www.wikiart.org/en/victor-vasarelyhttp://www.fondationvasarely.fr/uk/foundation.phphttp://blog.indexpendent.com/?p=308 32

Victor Vasarely 1953

34


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook