Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Yoshitoshi

Yoshitoshi

Published by Kachornpon, 2021-04-06 08:54:08

Description: Yoshitoshi_631310171_คณิศร_ตั้งศิริ

Search

Read the Text Version

Yoshitoshi's One Hundred Aspects of the Moon ⼤蘇 芳年 COMPLIER BY KNOTBEAR



蘇芳年⼤







คํานํา ศิลปะเปน ตัวบง ชถ้ี งึ วฒั นธรรมแนวคิดทางการเมอื งการใชช วี ิตรว มถงึ ภาพรวมของสังคม ในยคุ น้นั ๆวิถีชีวิตทีเ่ รียบงายและประเพณที ี่เบงบานของประเทศญี่ปนุ ในชวงยุคสมัยโชกนุ และ สมยั กอ นเขาสกู ารปฎิวตั ิเมจหิ ากพดู ถึงศิลปะภาพพิมพแกะไมใ นสมยั น้ันจะมีศลิ ปนคนหนึง่ ท่ี มีชอ่ื เสยี งโดงดงั และเปน บุคคลทีน่ ายกยองจนถึงปจ จบุ นั เรอ่ื งราวชีวิตและความเปนมาของสึกโิ อกะโยชิโทชิ(tsukiokayoshitoshi)ทง้ั ภาพพิมพแ กะไม หรอื ผลงานมากมายรวมถึงยงั เปน กา วแรกทสี่ ําคญั ของงานศลิ ปะแบบเอโรกุโระ(Eroguro) ตา งพดู กันวาพวกมนั คือความวติ ถารของมนุษยแ ตถ า หากมองใหล กึ ถงึ ความหมายทีซ่ อ นอยูจะ เห็นการกดขีแ่ ละความไมเทาเทยี มของสตรีเพศวรรณะดา นชนชัน้ ทง้ั ยงั เกดิ ความเปลยี่ นแปลง ของยุคสมยั ใหมทไ่ี หลทะลกั มาจากโลกภายนอกเขาสญู ่ปี นุ ในยุคการปฏริ ูปเมจเิ ขาตระหนักวา งานภาพพิมพแ กะไมท ่สี บื ถอดกนั มาจะสูญหายไปพรอ มกบั เขาเพราะความเจริญของ วัฒนธรรมตะวันตกเปน สง่ิ ใหมท ใี่ ครๆตางกห็ ลงใหลไปกบั มันเขาจึงอทุ ศิ ทงั้ ชีวิตเพอ่ื ผลิตงาน ภาพพิมพแกะไมแ ละสานตอศลิ ปะในยคุ ของเขาใหคงอยตู ลอดไป คณิศร ต้งั ศริ ิ กมุ ภาพนั ธ 2564



สารบญั 6 8 อตั ชวี ะประวตั ขิ อง สกึ โิ อกะโยชิโตชิ 22 ความเปนมาภาพพมิ พแ กะไม 28 ศลิ ปะแบบ เอโรกุโระ 40 การปฎวิ ตั ิเมจิ 43 ผลงานชุด หนึ่งรอ ยแงม ุมของดวงจนั ทร 44 ใบไมท ่ีรวงหลน บรรณานกุ รม

1

⼤蘇芳年の歴史 - History of Yoshitoshi Tsukioka - 2

3

⼤蘇 芳年 TSUKIOKA YOSHITOSHI สึกิโอกะ โยชโิ ตชิ เกิดในเขตชมิ บาชชิ วงยคุ สมยั เอโดะเกาในป 1839 ชอื่ เดมิ ของเขาคือ โอวารยิ า โยเนจโิ ระพอของเขาเปน พอ คาทร่ี าํ่ รวยจนสามารถเลือ่ นสถานะ จากพอ คาธรรมดากลายเปนซามไู รในท่สี ุดตอมาพอของเขาไดฝ ากโยชโิ ตชเิ มื่อตอนอายุได 3 ป ไปอยูกับลุงของเขาประกอบอาชพี เปนเภสชั กรทีไ่ มม ีลกู ชายเมื่ออายุยา งเขา หาขวบเขาเรสิ่ นใจ ศิลปะและเริ่มถอดบทเรยี นจากวรรณกรรมตางๆท่ลี ุงซือ้ ให ในป 1850 เมือ่ เขาอายุ 11 ป ลุงเขาเร่ิมเหน็ ความสามารถของหลานท่มี ีตองานศิลปะและ วรรณกรรม โยชโิ ตชิ ถกู สง ไปฝก งานโดยลุงของเขากบั อาจารย อูตะกาวะ คนุ โิ ยชิ เปน หนึ่งใน อาจารยท่ีมชี ื่อเสยี งดา นภาพการพมิ พแ กะไมซ ่งึ เปนรุนสุดทา ยของสํานัก อทุ ากาวะ 4

ผลงานของ อาจารยอ ูตะกาวะ คนุ โิ ยชิ ผลงานของ สึกิโอกะ โยชโิ ตชิ 5

- ผลงานชดุ ไทโก เปน ผลงานชุดๆแรกท่โี ยชโิ ตชิเริม่ ปลอยสสู าธารณะ - ในระหวา งการฝกอบรมของโยชโิ ตชมิ งุ เนน ไปทีก่ ารทักษะการรา งเสน และคดั ลอกภาพสวน อาจารย คนุ โิ ยชิ จะเนน ไปทางวาดภาพจากชวี ิตจรงิ ซ่ึงแตกตางจากการฝก อบรมทางดา น ภาษาเพราะเปาหมายของศลิ ปน คือการจบั ภาพรอบตัวแทนท่ีจะตีความตามตัวอกั ษร โยชโิ ต ชิเร่มิ ไดเรยี นรอู งคป ระกอบของเทคนิคการวาดภาพตะวนั ตกและมมุ มองผา นการศกึ ษาผล งานของ คนุ โิ ยชิ จากภาพพมิ พต างประเทศและการแกะสลักงานพมิ พแ รกของโยชิโตะชิ ปรากฏในป 1853 แตห ลังจากน้ันไมมีการปรากฏผลงานของเขาอกี เปนเวลาหลายป เนอ่ื งจากผลของการลม ปวยอยางกะทันหนั ของอาจารย ตอมาไมนานอาจารยข องเขาก็ไดเสียชีวิตลง ในป 1861 หลังจากนน้ั เขาผลติ ผลงาน 44 ภาพ ซึ่งเปน ท่รี จู กั ตัง้ แตป 1862 และภายในระยะสองปม กี ารออกแบบเพิ่มเตมิ อกี 63 ชิ้นของเขา สว นใหญเปน ภาพพิมพค าบกู ิ(เปน การเตนรําประเภทหน่ึงญีป่ นุ ) นอกจากนี้เขายังมีสวนรว ม ในการออกแบบชดุ 1863 โทไคโด รวมกับศิลปน สาํ นกั อูตางาวะ จดั ภายใตการอปุ ถัมภของ คนุ ซิ าดะ เจา สํานกั 6

⽊版画 ภาพพิมพแ กะไม - The Fever หรือ โรค - ภาพพิมพแ กะไม หรือ โรมาจิ เปนวธิ ที ่ใี ชในการสรา งงานศลิ ปะทเ่ี รยี กวา ภาพอูกิโยะ ภาพพิมพแ กะไมเปนสงิ่ ท่ที ํากันใน จนี มาเปนเวลาหลายรอ ยปเพ่อื ใชส าํ หรบั ผลิตตาํ ราและหนังสอื แตจนกระทง่ั มาถงึ สมัยเอโดะ (ค.ศ. 1603-ค.ศ. 1867) ภาพพิมพแกะไมก ถ็ ูกพฒํ นาวธิ ีการพมิ พจน คลา ยคลงึ กันกับท่ีเรียกวาการแกะไมในเพ่ือสรางพมิ พทางชาติตะวันตก การพมิ พจ ะเรม่ิ ดว ยการวาดตวั หนงั สือหรอื ภาพบน \"กระดาษวาช\"ิ ปด บนแผนไมท ่มี ักจะเปน ไมเชอ รรจี ากนน้ั ก็จะทําการแกะไมตามรอยทีว่ าดหรือรา งไวในรปู หลังจากนั้นก็ใช \"บาเรง็ \"(Baren) เพื่อ ทบั กระดาษใหต ิดกับพิมพที่ทาหมึกไวใ หเ กดิ ลวดลายหรือตัวหนงั สอื ปรากฏบนกระดาษในชวงแรก การขัน้ ตอนประคบจะทําดวยมอื แตตอ ถูกพัฒนามาเปนเครอื่ งมอื ชวยตรงึ แมแบบไวใ หแ นน กอนท่ีจะ กดพมิ พซ งึ่ จะทาํ ใหก ารพมิ พหลายสีทาํ ไดงายข้นึ และสะดวกเมอื่ ตอ งการจะพมิ พสีแตละสซี อนไปบน สีที่พมิ พอยูก อนแลว แตค วามนยิ มเขา มาเปน จํานวนมากทําใหจํานวนสที ่ีใชและความซบั ซอ นในการ พิมพม ากขนึ้ และตองฬชป ระสบการณทส่ี งู 7

8

エロ・グロ・ナンセンス - Ero Guro Nansensu - 9

エロ グロ - เอโร กุโระ - งานศิลป หรือ ความวิปลาศของมนษุ ย - กาํ แพงทางประเพณแี ละเสียงกรดี รอ งของหญิงสาว - 10

- ฟุรเู ทระ ฮาชโิ รเบ กาํ ลังฆา ผหู ญงิ บรกิ ารคนหนง่ึ ในสุสาน - 11

Ero Guro Nansensu น้นั เปน การยืมคาํ ภาษาอังกฤษของชาวญป่ี นุ ท่ีมาจากคาํ วา Erotic, Grotesque และ Nonsense หากมองแบบผวิ เผิน Ero Guro แสดงออกถงึ ความสยดสยอง เลอื ด ความตาย การฆา การ เสพสังวาส และความวติ ถารของมนุษย แตถ า มองลกึ ลงไป มันจะแฝงไปดว ยขอ คิดท่ีมากกวา ความ สยดสยองเหลานน้ั เชน มมุ มองของสังคมท่ีมตี อเรอื่ งเพศหรอื บางก็ขามไปยงั แนวคดิ ดา นการ ปกครองและชนชั้น แตในหลายๆคร้งั ศลิ ปนทีส่ รางสรรคผ ลงานเหลานีม้ กั จะบอกเลาวา ความหมาย ของภาพไมมีอะไรทีพ่ ิเศษไปมากกวาจิตใจมนษุ ยของงผดู เู องวาจะตีความหมายออกมาเปนอยางไร สวนท่ีมาทไ่ี ปของงานแนว Ero Guro นั้นบา งกม็ องวา เปน งานท่ีเกดิ ขน้ึ ในประเทศญีป่ นุ ชว งป 春画ค.ศ.1930 มมุ มองความคดิ แบบนีม้ ีแฝงอยใู นวัฒนธรรมญ่ปี นุ มานานแลวอยางเชน ผลงานศิลปะแนว ชุงกะ( Shunga)หรอื ภาพแนวเสพสงั วาสของญ่ีปนุ นนั้ กม็ กั จะมอี ะไรพสิ ดารเกินกวา ท่จี ะ จนิ ตนาการไดในสว นผลงานของ โยชิโตชิ เนนสร างสรรคผลงานท่เี ลา เรอ่ื งการฆาตกรรมหรอื การทรมานเหมอื นเปนกาวเล็กๆที่สาํ คัญของงานแนว Ero Guro ไดออกเผยแพรส ูประเทศญีป่ นุ 12

- ฟุรเู ทระ ฮาชโิ รเบ กาํ ลังฆา ผหู ญงิ บรกิ ารคนหนง่ึ ในสุสาน - 13

ผลงานสวนใหญข อง โยชิโทชิ ในครสิ ตทศวรรษ 1860 เปน ภาพทีม่ ีเน้อื หา รนุ แรงและเกย่ี วกับความตายหัวขอ การเขยี นมแี รงบันดาลใจบางสว นมาจากการสญู เสียบดิ าและจากสังคมทโี่ หดรา ย และกฎหมายทเ่ี อื้อเฉพาะชนชั้นบริหารโดยรัฐบาล โชกนุ โทะกุงะวะ รวมทัง้ ผลของการตดิ ตอกับโลกตะวันตกในปลายป ค.ศ. 1863 โยชโิ ทชิก็เรมิ่ เขยี นภาพความโหดรา ยและมเี นอ้ื หาที่รุนแรงตอจิตใจของผูช มผลงาน รวมเขา เปน ภาพพมิ พเกีย่ วกบั การตอสทู ่ีเตม็ ปดวยการนองเลอื ด ประชาชนช่นื ชอบภาพประเภทนี้เพราะทําใหพวกเขาตระหนักถึงปญหาทางโครงสราง ของสงั คมซงึ่ ทาํ ใหโยชิโทชิกลายเปนทน่ี ิยมอยางแพรหลายและเพิม่ อันดับความสําคญั ในหมศู ลิ ปนภาพอุกิโยะในเวลาตอมา ในขณะทญ่ี ี่ปุนอยใู นระหวา งสงครามโยะชิโทะชิ ก็ชว ยใหผทู ี่ไมไดมีสว นรว มกับเหตกุ ารณทเ่ี กิดขน้ึ ผคู นไมไ ดชอบเพยี งการวางองค ประกอบของภาพและฝมอื การวาด แตท าํ ใหพ วกเขาไดข อคดิ จากงานของเขาดว ยท้ัง ยงั สะทอนสังคมไดเห็นไดช ดั ถงึ สถานการณทีเ่ กดิ ขน้ึ ในปจจุบนั 14

- นาโอสเุ กะ กอมเบอิ เขากําลังฉีกหนงั หนา นายของเขาหลังจากฆาปาดคอ - 15

ระหวางป ค.ศ. 1866 จนถงึ ป ค.ศ. 1868 เขาไดส รา งความสะเทอื นใจใหแ กผชู มเปนอันมากโดยเฉพาะในชุด \" การฆาตกรรมย่ีสิบสี่กรณี \" พรอมคําบรรยายภาพชุดนแี้ สดงใหเ หน็ วธิ ฆี าคนดว ยวิธตี า งๆ เชน การฆาโดยการตดั รางของสตรี เปนชน้ิ โดยมรี อยมือของฆาตกรเปอ นอยูบนเส้อื ผาทั้งของฆาตกรและเหยื่อ ตวั อยางอื่นกไ็ ดแก ภาพในชุดท่ีสรา งในป ค.ศ. 1866 (การใชช ีวิตของคนสมยั ใหม) ซง่ึ เปนภาพความขดั แยงทาง อํานาจระหวา งกลมุ นักเลน การพนันสองกลมุ และภาพในชดุ ท่ีสรา งในป ค.ศ. 1867 นิชกิ ิ อกุ โิ ยะโคดนั ทสี่ รางหลังจากยุทธการอุเอะโนะ เชื่อกันวา งานของโยะชิโทะชมิ ีอทิ ธพิ ลตอนกั เขียนรนุ หลงั ๆและรวมท้งั ศิลปน แมว า โยะชิโทะชจิ ะ สรางช่ือเสยี งจากงานประเภท \"นองเลือด\" แตอนั ท่จี รงิ แลวงานประเภทนี้เปนเพยี งสวนนอยของ งานทง้ั หมดทีส่ รา งขึน้ แตเปนงานทม่ี ักจะถกู ไดรับการวจิ ารณมากกวา งานประเภทอื่นซึง่ ทําใหเ ขา ถูกมองขามงานประเภทอ่ืนๆ และ ความลกึ ซง้ึ ของผลงานทีส่ รางข้ึนมา 16

ซาดะ อาเบะ สาวจติ วปิ รติ \" ใชเ ชอื กรัดคอแฟนหนุม จนเสียชีวิต กอนเฉือนอวัยวะเพศเก็บเปนที่ระลกึ \" เธอถกู จบั กุมเมือ่ 21 พฤษภาคม 1936 พรอ มรอยยมิ้ 17

แตกวา ท่ีศิลปะแนว Ero Guro จะมตี วั ตนทีช่ ดั เจนตามการจดบันทกึ ก็เปน เวลาลวงเลยเขาสู ปลายยคุ ไทโชและชว งตนยคุ โชวะ (ประมาณป ค.ศ. 1912-1936) ไดเ กดิ เหตุอกุ อาจทีก่ อ ข้นึ โดย อาเบะ ซาดะ หญงิ สาวผูเคยเปนเกอิชาและมคี วามนยิ มในการรวมเพศพรอ มกบั การรดั รางกายแตเธอ ไดกาวขา มความเปน คน โดยทาํ การรดั คอคนรกั เสยี ชีวิตกอนจะตัดเอาอวัยวะเพศของคนรกั ตดิ ตวั และเมอ่ื ถกู จับกุม เธอกลบั มีรอยย้มิ ใหเ จา หนา ท่เี ห็น จนกลายเปน ภาพถา ยท่ชี วนขนลุกของสอ่ื ท่นี าตกใจกวา นนั้ คือ อาเบะ ยงั คงพกอวยั วะเพศของเขาติดตัวในชุดกโิ มโนเกือบตลอดเวลา อีกทั้ง เธอยังคงเดินชอปปง ดูภาพยนตร และพกั อยูในชนิ ากาวะในโตเกยี วอยางสบายใจ ท่นี า ทึ่งคือเธอยัง คงตดิ กับความรักของอิชิดะ รักจนถึงขนั้ ไดรว มรกั กับอวยั วะเพศ เอาอวัยวะใสเ ขา ไปในปากหรแื มแ ต พยายามสอดใส แมว า อวยั วะเพศดังกลา วจะแหงเห่ียวไมท าํ งานแลวก็ตามจนกระทั่งวนั ที่ 21 พฤษภาคม ในชวงเวลาบา ยเจาหนาทตี่ ํารวจนกั สืบไดเบาะแสของผเู ชาหองคนหนึ่งทนี่ า จะเปน ชาดะบุคคลทพ่ี วกเขาตามหาหลังจากท่พี วกเขามาหอ งเธออยทู ี่นัน้ พอดแี ละเม่ือเธอเห็นเจาหนา ที่ ตํารวจนักสบื จึงไดพูดวา “ไมตอ งเปน มพี ธิ ีการมากหรอก คุณกําลงั หาซาดะ อาเบะ ใชเปลา ละ ฉันนแ้ี หละคอื เธอ” เมอ่ื ตํารวจไมเชือ่ เธอจึงแสดงอวยั วะเพศอิชิดะเปน หลักฐาน ณ ยุคนน้ั คดีนี้ถือวา เปน คดีทส่ี ะเทอื น ขวัญแกชนชาวญีป่ ุน แตในขณะเดยี วกันก็กลายเปนตัวจดุ ชนวนใหศลิ ปะแบบ Ero Guro เบกิ บานขน้ึ ซงึ่ ไมใชแ คง านจิตรกรรมอยางทีค่ าโกะนาํ เสนอเทา น้นั แตย งั มงี านวรรณกรรม อยางผลงานของ เอโดกาวะ รัมโป หลายเร่ืองก็มีบรรยากาศแบบ Ero Guro จนผลงานเหลา นขี้ องนกั เขยี นไดรับการ พฒั นาไปสกู ารสรางภาพยนตรแ ละดนตรที เ่ี ลาเร่อื งราวในแบบ Ero Guro จริงจงั ในภายหลงั จน ถึงยคุ ตอ มาและยังเปนท่สี นใจของผคู นในยุคปจจุบนั 18

- หญงิ ชรากําลงั นั่งลับมดี ไวส าํ หรับแลเ นอ้ื หญงิ ทอ งแกเ พอ่ื รับประทาน - 19

การท่ี Ero Guro เบงบานข้ึนมาเปน ศิลปะแนวยอ ยแนวหนง่ึ ไดอ ยา งเต็มที่นัน้ ไมใ ชเ พราะคดฆี าตกรรมทอี่ กุ อาจ จนเกิดความประทับใจแกเ หลา ศลิ ปน แตเพราะงานแนวนเ้ี ปนการแสดงออกของศลิ ปน ในยคุ นน้ั ท่ตี อ งการแสดงอารยะ ขดั ขืดตอเหตกุ ารณตา งๆ ทีเ่ กิดในสงั คมญ่ปี ุน ณ ชวงเวลาน้นั ทั้งในเชิงการ ปกครองทเี่ ร่ิมเห็นวาระบบปตาธิปไตยนั้นกดดนั สังคมมามากเกนิ ไปและคดีท่มี ี อิสตรี อยาง อาเบะ ซาดะ เปน ผกู อเหตกุ ็แสดงใหเห็นแลววา ผชู ายที่เปน ใหญก ็ สนิ้ อํานาจไดบ นสังเวยี นเพศสมั พันธไ ดเ ชน กัน ประเด็นนี้มากกวา ที่ทาํ ใหเหลา ศลิ ปน เรม่ิ จะเลา เรือ่ งใหอ ิสตรนี น้ั ใชพลังทางเพศ เพ่อื กดขบี่ รุ ุษไดแ ละเร่มิ รังสรรคผ ลงานที่สะทอ นภาพลักษณนั้นซงึ่ จะตรงขามกบั งานศลิ ปะของญีป่ ุน สมัยกอ นที่บรุ ษุ เพศมักจะเปน ใหญ กระนั้นเม่ือเวลาผา นไป อกี ระยะ กระแสของ Ero Guro กล็ ดดีกรลี งไปบา งทาํ ใหง านแนวน้ีเริ่มไปแฝงตัว อยูในกลุมงานศิลปแนวอนื่ มากข้ึน แตเมือ่ พวกมันออกมาสสู ายตาผคู นเมอ่ื ใด พวกมันมักจะสรางความตระหนกั ถึงความหมายและความรนุ แรงของภาพเสมอ 20

ตวั อยางผลงาน 英名 ⼆⼗⼋ 衆句 28 ฆาตกรรมที่มชี อ่ื เสียง 21

22

明治維新 - Meiji Restoration - 23

明治維新 - การปฎิวัติเมจิ - ทิง้ อดีตแบบเกา และ กาวสูอนาคตแบบใหม - กลบั คนื สูก ารปกครองภายใตจกั รพรรดิ - 24

Meiji Restoration - เปลย่ี นผานการปกครองจากโชกนุ สจู ักรพรรดิ - การปฎิวตั ิเมจิ เปนเหตกุ ารณป ฏริ ูปประเทศญ่ีปุน ในปค.ศ.1868เพอื่ รวบอํานาจจากรัฐบาลโชกุนโทะกงุ ะวะ กลบั คืนสกู ารปกครองภายใตจ ักรพรรดิเปน ศูนยกลางอาํ นาจเพยี งแหง เดยี วของประเทศญป่ี ุน แทนโชกนุ การปฏริ ูปครงั้ น้ีกอใหเกดิ การเปลยี่ นแปลงตอระบบการปกครองและโครงสรา งทาง สงั คมของญป่ี นุ อยา งมหาศาลการยกเลกิ ระบบโชกุนจนทําใหเกิดสงครามนอ ยใหญต อรัฐบาล กลางญป่ี นุ อันมอี งคจักรพรรดิเปน ศูนยก ลาง เมือ่ กองกาํ ลังของโชกนุ สว นหนง่ึ ไดห ลบหนไี ปยงั เกาะฮอกไกโดและพยายามแบงแยกดินแดนต้ังเปน รฐั อสิ ระชอื่ สาธารณรัฐ เอะโซะ ตอ มากอง กําลังผูจงรกั ภกั ดีตอ จกั รพรรดไิ ดเ ขา โจมตแี ละยตุ กิ ารแบง แยกดนิ แดนนใ้ี นสงครามฮะโกะดะเตะ ณ เกาะฮอกไกโด พฤษภาคม ค.ศ. 1869 จบลงดวยความพายแพของกองกําลังฝา ยโชกุนอันนาํ โดย เอะโนะโมะโตะ ทะเกะอะกิ โดยในสงครามครง้ั นี้ถอื เปนจดุ ส้ินสดุ ของระบอบโชกนุ และ เปน การฟน ฟูพระราชอํานาจอยา งสมบรู ณรวมถงึ เปนจดุ เร่ิมตนการขยายอิทธิพลทางดานการ ทหารจนเกดิ สงครามจีน-ญี่ปุนครั้งท่ี 1 ในเวลาตอมา 25

ภาพวาดเหตกุ ารณเ มือ่ เขา ฤดใู บไมรวงของป ค.ศ. 1868 หลังจากทีค่ ณะรัฐบาลในพระองคตัดสินใจยา ยเมืองหลวงไปยังนครเอโดะและเปลย่ี นชอื่ เปนโตเกียว เพ่อื งายตอการรกั ษาความปลอดภยั ตอ การคุกคามของกลมุ อาํ นาจเกาในขณะทก่ี ารรบพ่ึงจะเรม่ิ ตน (ภาพดานซา ย) สมเดจ็ พระจกั รพรรดิมตุ สึฮโิ ตะ จักรพรรดิพระองคท่ี 122 ของประเทศญ่ีปนุ (ภาพดานขวา) ภาพราชวงศข องสมเดจ็ พระจกั รพรรดิมุตสฮึ โิ ตะ 26

แควน ซตั สึมะ โชชู และโทซะซึง่ อยูท างตะวนั ตก(สีแดง)รวมกําลังเพอ่ื โคนลมกองทัพ ฝายโชกนุ ที่ โทะบะ-ฟชุ มิ ิ หลงั จากนั้นไดร กุ คบื เพ่อื ควบคุมสวนที่เหลอื ของญป่ี นุ อยา ง ตอ เนื่องจนกระทง่ั ถงึ การตอ สคู ร้ังสดุ ทา ยในภาคเหนอื ทเ่ี กาะฮอกไกโด คนโด อิซะมิ ผนู าํ กลุมผูสนบั สนนุ โชกนุ \"ชินเซ็งงุมิ\"เผชิญหนากบั ทหารของแควนโทะซะ ในยทุ ธการโคชู-คะสึนมุ ะ การปะทะกนิ เวลาหลายวันดว ยประสทิ ธภิ าพดา นอาวุธและจาํ นวน คนท่นี อ ยในทสี่ ุด คนโดถกู กองทัพฝายในพระนามจักรพรรดเิ มจจิ ับเปน เชลยและไดถกู ประหารชีวติ ดว ยการตดั ศีรษะในวันท่ี 17 เดือน 5 ตามจนั ทรคติ ป ค.ศ. 1868 27

(พลเรอื โท อโิ ต ซุเกะยกุ ิ ผบู ญั ชาการกองเรอื ผสมของญปี่ ุน) การปฏิรูปญ่ปี ุนในสมยั เมจิ ใหค วามสําคัญเปน พิเศษกับการเสริมสรางความแขง็ แกรง ใหท นั สมัยมีการสงนายทหารทงั้ ทหารบกและทหารเรือจาํ นวนมากไปฝกศกึ ษาท้งั ยทุ ธศาสตรแ ละ ยุทธวธิ ีในกองทัพบกและกองทัพเรือของชาตติ ะวันตกยึดแบบมาจากราชนาวีอังกฤษซง่ึ เปน กองทพั เรอื ทที่ รงอานุภาพมากทสี่ ดุ ในโลกในเวลานัน้ รวมถงึ มกี ารสงนกั เรยี นไปเขารบั การ ศกึ ษาฝก งานในราชนาวีอังกฤษและประเทศมหาอํานาจท่ัวโลก ภาพวาด ทหารญปี่ ุนกําลงั ประหารทหารจีน 38 นายท่ีขัดขืนเพ่อื ไมให คนอน่ื เอาเปนเย่ียงอยา งหลงั จากไดรบั ชัยชนะจากกองเรอื เปย หยาง ทีไ่ มม คี วามพรอมในการรบและการโกงกนิ จากภายในราชสํานักตา ชิง 28

⽉百姿 - One Hundred Aspects of the Moon - 29

⽉百姿 - หนึง่ รอยแงมุมของดวงจันทร - ผลงานชิ้นสุดทาย เพ่อื สานตอวฒั นธรรมใหค งอยู - ทกุ ภาพลวนซอนความหมายจากดวงจนั ทร - 30

One Hundred Aspects of the Moon - หน่ึงรอยแงมุมของดวงจนั ทร - เปนชอ่ื ชุดรวมผลงานช้ินสาํ คญั และมีชอ่ื เสียงทส่ี ดุ ของ โยชโิ ตชิ จดุ ประสงฆทส่ี รา ง ผลงานชน้ิ น้ี โยชติ ิชิ กลาววาตัวเขาเปน หนึ่งในคนทห่ี ลงใหลตอ ความเจรญิ หลังการปฎวิ ัติเมจิ จึงกงั วลวาประเทศของเขาจะละท้ิงประเพณแี บบเกาดังน้นั เขาเลยสรา งผลงานชิ้นนขี้ ึน้ มา เพ่อื เปน ตัวแทนของเขาหลังจากท่เี ขาตายไป ภาพมีเนือ้ หาเก่ยี วกับกับ ประวตั ิศาสตรญ ป่ี ุน วรรณกรรมของจีน รวมถึงนิทานพ้นื บา นตา งๆในเอเชีย เนน ใหแงค ดิ แกผูดูหรือผูซ้อื ผลงาน จดุ เดนของภาพชุดนคี้ ือทกุ รปู จะปรากฏดวงจนั ทรท ้ังท่ีอยบู นฟา พื้นน้าํ หรอื แมกระทัง้ เงา สะทอนของกระจกซง่ึ จะมีอยใู นรปู แทบทกุ ใบ ผลงานในชุดนมี้ จี ํานวนภาพทั้งสิน้ 100 ชนิ้ การออกแบบหาภาพแรกชองชุดถกู วาง จาํ หนายในป 1885 เพียงชวงขามคนื ภาพเหลา น้ถี ูกขายเกลี้ยงเพยี งเวลาไมก ช่ี ่วั โมง ดวย ความสวยงามของภาพวาดและความประณตี ของผลงานผูคนจะมาตัง้ แถวกอนรุงเชาหนา สาํ นกั พมิ พเพอ่ื รอซื้อภาพชดุ น้ีท่ีออกมาใหมทกุ ๆอาทิตยโ ดยแตล ะภาพจะถยอยผลิตออกมา จนกวาจะครบ 100 แบบ 31

(ภาพดานบน) เปนภาพหนา ปกของชุดผลงาน หน่ึงรอยแงมมุ ของดวงจนั ทร ท่ีแสดงรายละเอยี ดจํานวนผลงาน ช่อื ผูแตง คอื โยชิโตชิ และสํานกั พมิ พค ือ อากยิ ามะ บัวมอน วางจัดจําหนายระหวา งป ค.ศ. 1885 - 1892 32

\" ซึเนะโนะบแุ ละปศาจ \" ซเึ นะโนะบุ เปน คนดแู ลศาลแหง หน่งึ คืนหนง่ึ เขาไดย ินเสียงผาถกู ลากไปตามพืน้ ดา นนอกหอ ง และเสยี งเพลงโบราณรอ งลอยมาตามลม เพียงไมก ี่อดึ ใจภาพตรงหนา ของเขาคือปศ าจเทน็ กุ หรอื ยกั ษเ จาปา ลอยปรากฏอยูบ นทอ งฟา เหยีบพน้ื เมฆตอ หนา เขา (ตาํ ราพงศาวดารญีป่ นุ ) 33

\" ดวงจันทรแ ละหิมะบรสิ ทุ ธท์ิ ่ีแมนาํ อาซาโนะ \" ชคิ าโกะเปน ลกู สาวของพอคา ทีร่ ํา รวยจากโรงตีเหลก็ พอของเธอถกู จําคกุ หลงั จาก ถูกกลาวหาวาท้งิ เศษโลหะจากโรงตเี หล็กของเขาลงในทะเลสาบอาซาโนะชาวบาน ในบรเิ วณนนั้ ไดกินปลาในแมน า้ํ และเกดิ อาการปวยในเวลาตอ มาลกู สาวทาํ ใจไม ไดท ีพ่ อ ของเธอตองเขา คกุ โดยไมไ ดเปนคนทาํ จึงไดกระโดดลงไปยังแมนําอาซาโนะ ท่เี ตม็ ไปดว ยหิมะเพอื่ ฆา ตวั ตายตามพอ ของเธอไป 34

\" ดวงจนั ทรข อง โอคุรสุ ุ ใน ยามาชโิ ระ \" ชวงป 1582 โชกุน อาเคจิมติ สึฮเิ ดะ บงั คับให โอดะโนบุนา ทาํ เสปากุ(ควานทอ งดว ยดาบส้ัน) หลังจากนัน้ กองกาํ ลงั ของเขากแ็ ตกพา ยทันทใี นการตอ สกู ับยามาซากิเมอื่ ทราบขา วหัวหนา ทัพ มติ ซฮู เิ ดะหนเี อาตัวรอดจากศึกครัง้ น้โี ดยอาศัยชวงชลุ มุนระหวา งการลาถอยแตในระหวา งทาง หลบหนีเขาถกู พวกชาวนาฆา ตายเย่ยี งคนขีข้ ลาดใกลกับหมูบา นโอกูรสู ึ 35

\" ดวงจนั ทรแ ละควัน \" ในชว งยุคเมจิ นักดับเพลงิ ถือไดว า เปนอาชพี ท่ีมเี กยี รติยศ ดวยความกลา หาญและทักษะของพวก เขาในการชวยผคู นและบา นเรือนจากเปลวไฟ พวกเขามกั มรี อยสักเต็มตัวและสวมชุดคลมุ ขนาด ใหญท่ที าํ จากผาฝา ยหลายชั้น ถกู แชดวยนํา้ เพอ่ื ใหส ามารถทนอยใู นกองเพลิงไดเปน เวลานาน มกั จะปกดวยตราสัญลักษณของสาํ นกั นกั ดับเพลิง (บรเิ วณดา นหลังของหมวก) สวนในภาพ คือ การแขงขนั ดบั เพลงิ ประจําปร ะหวางสาํ นกั เพือ่ ทดสอบฝมือและประลองความสามารถ 36

\" อาริโกะรอ งไหในแสงจันทร \" เปนเรอื่ งราวของ อาริโกะโนะไนชิ เปน สาวรบั ใชท ่ีศาลเจาอิสคึ ชุ มิ ะที่โดง ดงั ในยคุ เฮียน (794-1185) เธอมีทักษะในการเลนเครื่องดนตรแี ละขบั รอ งตอมาเธอตกหลุมรักนักบวชรปู หนงึ่ แตเขากลับตายไป ในสงครามกลางเมอื งความรักท่ีไมส มหวงั ของเธอจึงทาํ ใหเ ธอขบั รอ งบทกวดี วยเสยี งโหยหวญกอนท่ี จะกระโดดลงทะเลสาบบวิ ะจมหายไป เร่อื งราวของเธอถูกเลาตอ มาในละคร Ariko noNaishi. 37

\" ดวงจนั ทรและความสงบท่ีแทจ รงิ \" นักบวชสองคนพบหญงิ ชรานัง่ สงบนง่ิ อยูบนโหลงฝงศพระหวางการเดนิ ทางของ พวกเขาเธอบอกกับนกั บวชทงั้ สองวา ความอัปยศจะเกดิ กับฉัน เม่ือฉันพดู ชอ่ื ของ ฉนั แตถาคณุ จะสวออ นวอนใหฉันฉันจะบอกคุณน่ีคอื ชือ่ ของฉัน พรอ มกบั หญิงชรา ชม้ี อื ไปท่บี ริเวณฝาของโลงศพท่เี ธอน่ังทับมนั อยู ภาพน้ไี ดรบั แรงบนั ดาลใจจาก ฉากในละคร Noh จะเห็นหญิงชรานง่ั อยางสงบบนหลมุ ฝง ศพของเธอในแสงจันทร 38

39

40

平和に死ぬ - ใบไมทีร่ ว งหลน - บ้นั ปลายของชีวิตเปน ชวงที่ โยชิโทชิ ผลิตผลงานมากท่ีสดุ ที่รวมท้งั ภาพชุด \"ทัศนยี ภาพ 100 มุมของพระจันทร\" (ค.ศ. 1885–1892) และ ชดุ \"ปศ าจ 36 ตน\" (ShinkeiSanjurokuten) (ค.ศ. 1889–1892) และภาพชุดของนกั แสดงคะบูกิและฉากสงคราม ในชว งสองสามปสุดทายของโยชโิ ตชิ อาการทางจิตของเขาลกุ ลามอกี ครงั้ เชน เรือ่ งการเห็น ภาพหลอนอขงศลิ ปนทต่ี ายไปแลว มาเยีย่ มนอกจากนนั้ ยงั มปี ญ หาดา นสขุ ภาพทเี่ สื่อมโทรมลง และสญู เสยี ทรัพยสนิ เงนิ ทองไปหมดเม่อื บานถกู โจรกรรมหลงั จากน้นั ไมนานอาการของเขาก็ กาํ เรบิ หนักขึ้น เขาถูกสง ตัวเขา รักษาในโรงพยาบาลจติ เวชและออกจากโรงพยาบาล เมอ่ื เดอื นพฤษภาคม ค.ศ. 1892 และไดไ ปเชา หอ งเลก็ ๆอยู จนกระทงั้ วันที่ 9 มิถนุ ายน ค.ศ. 1892 โยชโิ ตชิไดจ ากไปอยางสงบเมื่อมีอายุไดเ พยี ง 53 ป จากอาการเสนโลหิตในสมองแตกภายในหองเชาของเขา แผนหนิ อนสุ รณแดโยะชิโทะชิไดรับการสรางขึ้นใน อากาชิ โอคุโบ ทโี่ ตเกียวในป ค.ศ. 1898 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook