บทนำ� ในโลกใบน้ีต่างมีผ้คู นใหค้ ำ�นยิ ามกับศลิ ปะมากมาย ทุกชว่ งเวลาของยุคสมยั ต่างเกิดลทั ธิทางศิลปะขึ้นเพอ่ื ท่ีจะแสดงออกถึงแนวคดิ ของผคู้ นในยุคสมัยนน้ั ตอ่ มาตามกรอบแบบแผนขนบเดิมทีเ่ คยวางกนั มาถึงเร่อื งของการท�ำ งานศิลปะไดเ้ กิดจุดเปลย่ี นข้นึ ศลิ ปะคอนเซป็ ชวลอารต์ ในเล่มท่จี ะแนะนำ�ต่อไปนเ้ี ปน็ ศลิ ปะเชงิแนวคิดที่เน้นความสำ�คญั ทางด้านความคดิ ของศลิ ปินและจนิ ตนาการของผชู้ มเป็นหลัก เป็นศิลปะท่ีเน้นการแสดงออกทางความคิดของศิลปนิมากกว่าความงดงามของผลงานเหมอื นด่ังสมยั เกา่ ตวั ผลงานไม่มีผิดหรือถูกเทา่ กบั ความคดิ ของศลิ ปนิ ผสู้ รา้ งงานและผลงาน ความสวยงามที่แทจ้ ริงของศลิ ปะคอนเซ็ปชวลอารต์ น้ันอยทู่ ีเ่ ราจะนยิ ามและให้ความหมายกบั มนั อย่างไร อาจกล่าวไดว้ ่าคุณค่าของงานศลิ ปะนั้นอยู่ทก่ี ารให้ความหมายกเ็ ป็นได้ นภิ ากร บวั เพ็ชร
สารบัญ เนื้อหา หนา้คอนเซ็ปชวลอาร์ต คอื อะไร ? 7ศลิ ปินคนส�ำ คญั - Joseph Kosuth 12 - John Baldessari 24 - On Kawara 34แกลเลอรงี่ านคอนเซป็ ชวลอารต์ 44
Blah, Blah, Blah, 2009Mel Bochner
Serial Project No.1 (ABCD) Sol Lewitt สเี คลือเงาอะลูมเิ นยี ม, 51 x 414 x 414 ซม. พพิ ธิ ภณั ฑศ์ ิลปะสมันใหม่, นิวยอร์ก6
คอนเซ็ปชวลอารต์ คอื อะไร ? ค�ำ วา่ “คอนเซป็ อารต์ ” ปรากฏขน้ึ เมอ่ื ปี 1961 ในบริบทอเมริกันเป็นครั้งแรกในบทความชอื่ เดียวกันของศิลปินกลุม่ ฟุกซุส นามว่า เฮนรี่ ฟลินต์ ไดร้ บั การตพี มิ พใ์ นปี 1963 ได้ใช้ศัพท์คำ�น้ีเพื่ออ้างถึงศิลปะชนิทหน่ึงที่มีลักษณะแตกต่างจากศิลปะชนิดอื่นอย่างเห็นได้ชัดในแง่ของการเล่นภาษา หลงั จากนัน้ ไม่กป่ี ีคำ�ว่า “คอนเซป็ อาร์ต” ก็ถกู แทนท่ดี ้วยคำ�วา่ “คอนเซป็ ชวลอารต์ ” เปน็ ชอื่ ทค่ี ดิ โดย โซล เลอวิตต์ เพ่อื ใชอ้ ธบิ ายถงึ การเคล่ือนไหวทางศิลปะท่ตี วั ผลงานไม่ได้มีความส�ำ คญั มากเทา่ กับความคดิ หรอื มมุ มองทีซ่ ่อนอยเู่ บ้อื งหลัง ภาพสเก็ตช์ ขอ้ ความ หรอื แมแ้ ต่กระบวนการตา่ ง ๆ ล้วนถือว่าเปน็ ผลงานทางศลิ ปะโดยศลิ ปนิ ไมจ่ ำ�เปน็ ตอ้ งลงมือสร้างสรรคผ์ ลงานให้เสร็จสมบูรณ์ มิตทิ ่สี ำ�คัญของศิลปะคอนเซป็ ชวล คอื การลดทอนลักษณะทางกายภาพของศลิ ปะวัตถุให้เหลอื เพียงจินตนาการท่เี กดิ ขนึ้ เปน็ ภาพในใจผู้ชมเทา่ นนั้ ด้วยเสียงวพิ ากษ์วิจารณ์จากสถาบนั ตา่ ง ๆ และความกงั ขาเกย่ี วกับศิลปะในรูปแบบเดิม ๆ คอนเซป็ ชวลอาร์ตจึงกลายเปน็ ทางเลือกใหม่ที่มคี วามสำ�คัญในวงการศิลปะ โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในยคุ ที่ภาพถ่ายกลายเปน็ สง่ิ ทีม่ ใี ห้พบเห็นอยูท่ ่ัวไป และภาพเขียนกลายเปน็ วธิ กี ารนำ�เสนอศิลปะในรูปแบบเกา่ 7
ปลาย 1960 เกิดการทดลองทำ�งานศิลปะแนวคอนเซป็ ชวล องคป์ ระกอบทางความคดิ ถูกนำ�มาใช้แทนวสั ดุซง่ึ ในสายตาศลิ ปนิ หลายทา่ นน้ั มองวา่ เปน็ ส่ิงฟมุ่ เฟือย การนำ�เสนอผลงานใน รูปแบบที่ “ไร้วตั ถวุ ิสัย” นับเปน็ ความแตกตา่ งจากการน�ำ เสนอศลิ ปะในรูปแบบเดิมอยา่ งเหน็ ได้ ชัด เพียงแค่สจู บิ ตั ร บัตรเชิญ โทรเลข หรือป้ายโฆษณาเล็ก ๆ ก็สามารถกลายเป็นงานนิทรรศการ ได้ เพียงชั่วพริบตาศิลปะกก็ ลายเปน็ ขอ้ มลู ในรูปแบบท่พี ิเศษกว่าอยา่ งอ่นื นดิ หนอ่ ยตรงที่มีภาพ และตวั อกั ษรวางอยู่ดว้ ยกันเทา่ น้นั ถึงตอนนผ้ี ชู้ มกจ็ ะถูกบงั คบั ให้มีสว่ นร่วมในงานศลิ ปะซ่งึ สว่ น ใหญม่ กั จะต้องใชค้ วามพยายามทำ�ความเข้าใจอย่างหนักหนอ่ ย8
“สำ�หรับศิลปะคอนเซ็ปชวลความคิดหรือมุมมองเป็นมติ ิท่สี ำ�คญั ทส่ี ุดของผลงาน... การวางแผนและการตดั สินใจเกิดข้ึนลว่ งหน้าไปกอ่ น ผลงานจะออกมาหนา้ ตาอยา่ งไรค่อยมาวา่ กันทหี ลงั ความคดิ กลายมาเปน็ กลไกขับเคลอื่ นให้เกดิ ศลิ ปะได”้ โซล เลอวิตต์ 9
Sol LeWitt Hartford, 1928 – New York, 2007, Costruzione cubica, 197110
ศลิ ปนิ คนสำ�คญั 11
JOSEPH KOSYTH เกดิ เมอ่ื วันที่ 31 มกราคม 1945 โทลโี ด (โอไฮโอ) , สหรัฐอเมรกิ า12
โจเซฟ โคซุธ ศลิ ปินชาวอเมรกิ ันผู้มคี วามสำ�คญั ในการบกุ เบกิ และขบั เคลอ่ื นกระแสศลิ ปะเชิงแนวคิด เขา เป็นศิลปินตัวอย่างช้ันยอดของการทำ�งานศิลปะขณะ เดียวกันนนั้ ผลงานของเขากถ็ กู วิจารณ์อยา่ งรนุ แรงเชน่ กนั ต้นปี 1956 โคซธุ ได้มองเห็นศิลปะในมมุ มองท่ีเปล่ียนไป เขาทำ�งานศิลปะด้วยอารมณ์ความรู้สึกสว่ นตัว และลดความสำ�คัญของวัตถุทางศิลปะลงทำ�ให้ผลงานเข้าใกล้แก่นแท้มากข้ึนสำ�หรบั โคซธุ แล้ว หน้าท่ขี องศิลปะคอื การต้งั ค�ำ ถามถงึ สาระในตัวของมนั เอง งานศิลปะของโคซุธจึงเป็นการแสดงออกทางความคดิ และการวเิ คราะห์ เพอ่ื หาค�ำ ตอบวา่ ศลิ ปะนนั้ คอือะไรกันแน่ มีบ่อยคร้ังท่ีงานของโครซุธมักจะอ้างอิงจากแนวคิดของนกั จติ วิทยาชอื่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ และมีความสนใจเกย่ี วกับปรชั ญาภาษาของลุด วิทเกนสไตน์ จึงได้น�ำ มาเป็นแรงบันดาลใจในการสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะหลายงาน 13
ปี 1969 โคซุธตีพิมพ์บทความเร่ือง “ศลิ ปะตามหลงั ปรชั ญา” ลงใน นติ ยสารช่ือ “สตูดโิ อ อนิ เตอร์เนชั่นแนล” ซง่ึ พดู ถึงพ้นื ฐานทางปรชั ญาตา่ ง ๆ ท่ี ปรากฏในผลงานของเขาเพื่อแยกแยะว่าผลงานทเี่ ขาทำ�นัน้ แตกต่างจากการน�ำ เสนอผลงานศิลปะแบบคอนเซ็ปชวลอารต์ อื่น ๆ ในความคิดของโคซธุ น้ัน “ศิลปะทางความคิดขนาดแท”้ จะตอ้ งละทิ้งส่ือและเทคนิคแบบดง้ั เดมิ อยา่ ง สน้ิ เชงิ แตต่ อ้ งมีรปู แบบการนำ�เสนอถึงแนวความคดิ ลว้ น ๆ เท่านัน้ มปี ระโยค หน่ึงในบทความเร่อื ง “ศิลปะตามหลังปรัชญา” ท่สี ะท้อนใหเ้ ห็นถงึ ทศั นคติของ โคซธุ อยา่ งชัดเจน กล่าวว่า “ความหมายอนั ‘แท้จริงท่ีสุด’ ของคอนเซ็ปชวล อารต์ คือการไต่ถามถงึ พืน้ ฐานทางความคดิ ของค�ำ ว่า ‘ศลิ ปะ’ ว่ามีความหมายอย่างไรนัน่ เอง ” โจเซฟ โคซธุ14
ผลงาน 15
One and Three Chairs, 1965 Museum of Modern Art, New York ในชว่ งกลางศตวรรษที่ 1960 ขณะกำ�ลงั ศกึ ษาอย่ทู ่ี School of Visual Arts โคซธุ ไดส้ รา้ งผลงานขน้ึ มาชุดหนึ่งคอื 1966 Art as idea as idea หรือ ศลิ ปะคือความคิด ความคิดคือศิลปะ ประกอบดว้ ย One and Three Chairs, One and Three Brooms และ One and Five Clocks ผลงานทั้งสามชน้ิ ถูกนำ�เสนอในวิธกี ารท่คี ลา้ ยคลงึ กนั น คอื เป็นการน�ำ วตั ถุ ภาพถา่ ยวตั ถุ และค�ำ อธิบายของวัตถุดงั กลา่ วในพจนานกุ รมท่ีถูกขยาย มาจัดแสดงเทียบ เคียงเรียงต่อกัน เพ่อื ต้งั ค�ำ ถามและตรวจสอบไปยงั คณุ คา่ ของศิลปะ ความหมาย รวมไปถงึ เป้าหมายและการอ้างอิงแตกต่างจากการสร้างศิลปะตามขนบเดิมท่ีให้ความสำ�คัญแก่ความ งามทางสทุ รียศาสตร์16
เกา้ อีห้ นง่ึ และสามตัว (One and Three Chairs) ผลงานนจี้ ัดแสดงโดยมเี ก้าอ้ี ภาพถา่ ยของเกา้ อ้ีและความหมายหรอื คำ�จำ�กดัความของคำ�ว่า “เก้าอี้” ในพจนานุกรม ซึง่ ผลงานนี้ท�ำ ให้เกิดคำ�ถามมากมาย เชน่ อะไรคือเกา้ อ้ีท่แี ท้จริง ผ่ารการกลา่ วซ้ำ� ๆ ผา่ นตวั งานชน้ิ นีว้ า่ “นค่ี ือเกา้ อ้ี น่ีคือเก้าอี้ นีค่ ือเก้าอี”้ ผลงานชิ้นน้ียังนำ�ไปสู่การต้ังคำ�ถามถึงนิยามของคำ�ว่าศิลปะ โดยกระบวนการตรวจสอบดงั กลา่ วอาจได้รับอทิ ธิพลมาจากแนวคดิ แบบปฏฐิ านนยิ ม (Positivism) และปรชั ญาทางด้านภาษาศาสตร์ ทน่ี ำ�วัสดสุ �ำ เร็จรูป (Ready Made) มาท�ำ เป็นผลงานศลิ ปะ และ One and Three Chairs กเ็ ปน็ ผลงานที่ยังสมารถอ้างอิงไปถึงทฤษฎีทางภาษาศาสตร์ โดยชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ความสมั พันธ์กนั ระหวา่ งวตั ถุและนยิ ามของวัตถนุ นั้ ๆ ท่ีไมไ่ ด้เกดิ ขึ้นตามธรรมชาติ หากแต่เกิดขึ้นจากระบบระเบียบบางประการที่เข้มข้นจนกระทั่งภาษาสามารถน�ำ เสนอภาพของสิง่ น้ันไดอ้ ย่างไม่ตกบกพรอ่ ง อาทิเชน่ ในชิ้นงานท่ีแสดงให้เห็นถึงระบบระเบียบการเทียบเคียงรูปสัญญะกับสัญญะตลอดจนการตั้งคำ�ถามถึงค�ำ นิยามอนั จรงิ แท้แนน่ อนของสง่ิ น้ันๆ 17
Zero & Not (1985-1986) Zero & Not สิง่ ทผ่ี ลงานชุดน้ีตอ้ งการจะส่ือสารออกมาก็คอื การเปน็ หนบ้ี ญุ คุณตอ่ ข้อความของ ซกิ มุนด์ ฟรอยด์ (ค.ศ. 1856-1939) จิตแพทย์ชาว ออสเตรยี โคซธุ เรมิ่ ท�ำ งานชุดน้ีในปี ค.ศ. 1985 โดยพัฒนามาจากงานกอ่ นหน้าน้ี ของเขาที้ ม่ี ชี อื่ ว่า Cathexis (ค.ศ. 1981) ซงึ่ เป็นครัง้ แรกทเี่ ขาไดว้ างแนวคิดเกี่ยวกับ Conceptual Architecture ลงไปในผลงาน แนวคิดดังกล่าวเกี่ยวกับการใช้ผลงาน ศิลปะเพอ่ื กระต้นุ ให้เกดิ เรอื่ งราวเก่ียวกบั พืน้ ท่ี ประวตั ิศาสตร์ และความทรงจำ�ด้วย18
ในผลงานแตล่ ะชิน้ โคซุธไดน้ �ำ เอาขอ้ ความทีต่ ัดตอนหรอื หยิบยกมาจากขอ้ เขียนของฟรอยดม์ าพิมพล์ งบนกระดาษดว้ ยหมึกพิมพ์สีดำ� และน�ำ กระดาษมาใช้เป็นวอลเปเปอรต์ กแตง่ ผนังภายในของอาคาร โดยแตล่ ะยอ่ หน้าของข้อเขียนก็จะมกี ารใส่หมายเลขกำ�กบั ไว้ด้วย แตข่ ้อความดงั กล่าวมีเทปสดี �ำ ปดิ ทบั อยู่ ดงั นั้น แตล่ ะค�ำ ในแต่ละขอ้ ความจึงเหลอื สว่ นทส่ี ามารถอา่ นออกได้เพียงเล็กนอ้ ยเทา่ น้นั โคซธุ เคยได้รับโอกาสใหจ้ ดั แสดงผลงานบางส่วนจากชดุ Zero and Not ในอพาทต์เมนต์ท่ีครอบครัวของฟรอยด์เคยอาศัยอย่มู ากอ่ น ซงึ่ ดจู ะเหมาะสมและมีความลงตวั ในการที่จะสร้างหรือผกู โยงเรื่องราวระหวา่ งข้อความและสถานทเ่ี ข้าไว้ด้วยกนั ในเวลาตอ่ มา โคซธุ ก็ไดแ้ สดงผลงานนท้ี พ่ี ิพิธภณั ฑซ์ ิกมุนด์ ฟรอยด์ ทก่ี รงุ เวียนนา ประเทศออสเตรีย เรื่องราวในผลงานชุด Zero & Not จดั แสดงในพพิ ิธภณั ฑซ์ กิ มนุ ด์ ฟรอยด์ ซึ่งเปน็สถานท่ี ทยี่ ้ำ�เตือนให้เราระลกึ ถึงบทเรียนต่างๆ ทางดา้ นจติ วิเคราะห์ของฟรอยด์ ขอ้ ความท่ีถูกปกปิดและร่องรอยที่ปรากฏอยู่บ้างนั้นได้กระตุ้นเตือนเราให้ระลึกถึงความเข้าใจในกระบวนการท�ำ งานของความทรงจำ� การเกบ็ กด และภาพความทรงจำ� อย่างไรกต็ ามประสบการณไ์ ด้ละทิง้ รอ่ งรอยของตัวมนั เองทเ่ี คยปรากฏเมือ่ ถูกเชอื่ มโยงเข้ากบัประสบการณอ์ นื่ ๆ ขอ้ ความท่ีถกู ปกปดิ นัน้ ได้น�ำ มาสู่การสังเกตในเรื่องการท�ำ ความเขา้ ใจของฟรอยดเ์ ก่ยี วกับมนุษย์ในลกั ษณะสาขาวิชาทางด้านโบราณคดี สำ�หรบั ฟรอยด์ การพัฒนาหรือการก่อรปู ความทรงจำ�ของมนษุ ยถ์ กู แบง่ ออกเป็นช้ันๆ และถูกคลุมทบั ด้วยกระบวนการตา่ งๆที่หลากหลาย ซึง่ กค็ อื ลักษณะการท�ำ งานของจติ วเิ คราะหท์ ีจ่ ะต้องขดุ ค้นและขุดลอกความทรงจำ�แตล่ ะช้ันทซ่ี ้อนทับกนั ข้นึ มา และน�ำ เสนอความเขา้ ใจในตนเองเพือ่ บรรเทาอาการปว่ ยของโรคเกบ็ กดท้ายท่ีสดุ โคซธุ ได้ใชข้ อ้ ความด้ังเดมิ ทีต่ ัดตอนมาจากผลงานช้ินสำ�คญั ของฟรอยด์ในภาษาเยอรมัน ซงึ่ เป็นผลงานท่ีดที ี่สุดคือ The Interpretation of Dreams ข้อความนไ้ี ด้ย้ำ�เตอื นใหน้ ึกถงึ งานทางดา้ นจิตวเิ คราะห์อนั แหวกแนวสำ�หรบั ยคุ น้ัน โดยเฉพาะการท�ำ งานของฟรอยด์ท่ีมีการลดรูป การแทนท่ี และการแปลความหมาย ซึ่งกค็ อื ขอ้ ความในการแสดงงานของโคซตู ท่เี ปน็ เหมอื นจุดส�ำ คัญทส่ี ดุ ของกระบวนการเข้าใจความฝันของมนษุ ย์ 19
Titled (Art as Idea as Idea) The Word “Definition” 1966-68 57 x 57” (144.8 x 144.8 cm)
A Four Clor Sentenceประโยคส่ีสีไฟนอี อน, 136 x 7.3 x 6.4 ซม.เบอรล์ ิน, สตาทลเิ ซอ มซู ีน ซู เบอร์ลิน - พรอยสส์ ซิ เซอร์ กุลเทอร์เบอซทิ ซ,์นาซิโยนกาเลอรี, มาร์โซนาคอลเลคช่นั Neon (1965) 21
“ ผลงานศิลปะท่แี ทจ้ รงิ นั้นเปน็ ยงิ่ กว่าประวัติศาสตร์ ” โจเซฟ โคซธุ22
23
JOHN BALDESSARI เกดิ เมอ่ื วันท ่ี 17 มิถนุ ายน 1931 เนชน่ั แนล ซติ ้ี (แคลฟิ อรเ์ นีย), สหรฐั อเมรกิ า24
จอหน์ บสั เดสซารี ศิลปินคนสำ�คญั ในงานคอน เซ็ปชวลอาร์ต งานของเขาส่วนใหญ่จะเป็นงานที่ผสม ผสานระหว่างภาพถ่ายและข้อความลงไปในภาพเขียน ของตนเอง และยังเปน็ ภาษาจากวฒั นธรรมปอ๊ ป เพอื่ ตงั้ ค�ำ ถามว่าค�ำ จำ�กัดความของศลิ ปะคืออะไร ในปี 1966 เขาได้สร้างานศิลปะผ้าใบสำ�หรับเขียนภาพสีขาวว่างเปล่า และมตี ัวหนังสือเขียนเพยี งว่า “ทกุ อยา่ งถกู ช�ำ ระลา้ ง ออกไปจากจติ รกรรมช้นิ น้ียกเวน้ ศิลปะ; ไม่มีความคดิ อะไรในผลงานน้ี” (Everytjing is purged from this painting but art; no idea have entered this work) จอห์น บสั เดสซารี เคยเป็นจติ รกร กอ่ นที่จะหัน หลงั ใหก้ ับการเขยี นภาพแบบเดมิ ๆ ในปี เขาได้ตดั สนิ ใจ อยา่ งเดด็ ขาดที่จะเผาภาพเขียนช่วงแรก ๆ ท้งิ เพ่อื ท�ำ งาน คอนเซป็ ชวลอารต์ อย่างจรงิ จงั ชว่ งเวลากอ่ นปี 1970 บลั เดสซารีพยายามท่ีจะท�ำ โครงงานแนวประชดประชนัช้ินหนึ่งน่ันคือการปฏเิ สธภาพเขยี นในฐานะของภาพเขยี น และได้เริม่ หนั มาจับสอื่ ประเภทภาพถ่ายและภาพยนตร์อยา่ งจรงิ จงั มากขนึ้ ในปี 1971 เขาไดเ้ รมิ่ ต้นหากลวิธีต่าง ๆ ซ่ึงจะทำ�ให้ศลิ ปนิ หลดุ ออกจากการจัดวางภาพถา่ ยในแบบดั้งเดิม ในนทิ รรศการกลุ่มซ่ึงมีชื่อว่า “ทา่ เรือ 18” โดยได้ขอให้ช่างภาพถา่ ยถาพของเขาโดยไมต่ อ้ งยึดตึดกบั รปู แบบการจัดวางแบบเดิม ๆ บัลเดสซารีจงึ ขอให้ชา่ งภาพ จับ ภาพลูกบอลทเ่ี ดง้ ไปมาบนทา่ เรือให้อยู่ตรงจดุ ศนู ยก์ ลางมากทสี่ ดุ แลว้ บลั เดสซารีก็ได้นำ�หลักการเดยี วกันน้ีไปใช้กับภาท่ตี ั้งช่อื ให้วา่ ความพยายามในการถ่านรูปลกู บอลใหอ้ ยู่ตรงจดุ ศนู ย์กลาง 25
ความพยายามในการถ่ายรูปบอลให้อยู่ตรงจุดศูนยก์ ลาง เขานำ�ภาพทงั้ 38 ใบมา จัดเรียงเปน็ ช่องแบบการเขียนการต์ นู เพอื่ แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ผลลพั ธข์ องการทดลองในหวั ขอ้ เดียว กบั ช่ือผลงานนัน่ เอง มเี พียงภาพไมก่ ่ใี บเทา่ น้นั ทล่ี กู บอลสีสม้ ลอยอยตู่ รงกลางทอ้ งฟ้าแจม่ ใส ของแคลิฟอร์เนียอยตู่ รงกลางพอดี ในขณะเดยี วกนั ภาพบางใบกลบั เห็นใบตน้ ปาล์มโผล่อยตู่ รง ขอบภาพ ด้วยจุดหมายที่ตอ้ งการใหล้ ูกบอลอยู่ตรงจุดศนู ย์กลางของภาพมากท่ีสุด บัลเดสซารี จงึ ปลอ่ ยวางเรื่องการจดั องค์ประกอบจนไดภ้ าพทีป่ ราศจากปญั หาท�ำ นองวา่ “ ภาพน้ีก็ดดู นี ะ เมื่อเทียบกับภาพนน้ั ” บันเดสซารก็ได้ีปฏิบตั กิ ับภาพถา่ ยเช่นเดยี วกับผลงานภาพเขียนของเขา คือ การท่ีไม่สนใจฝไี มล้ ายมอื หรือการสร้างสรรค์งานทห่ี รหู รา กลวิธีของเขาคอื การทงิ้ ขนบเดิม ๆ เทา่ นั้น ดว้ ยวิธีน้เี องทท่ี �ำ ใหผ้ ลงานของบัลเดสซารยี ังคงดูสดชื่นและน่ามองอยเู่ สมอมา26
ผลงาน 27
Trying to Photograph a Ball so that it is in the Center of the Picture ความพยายามในการถ่านรูปลูกบอลให้อยู่ตรงจุดศนู ยก์ ลาง ภาพถ่ายอัดใส่กรอบจำ�นวน 38 ภาพ, 88.9 x 99 ซม. มาเรียกดู๊ แมนแกลลอรี, นวิ ยอรก์28
One Face (Three Versions) with Nose,Ear and Glasses, 2007ABC (low relief), 2009Mixographia print on hand made paper in 26 parts12 x 23 x 1 29
Two Horses and Riders, (1997) lithograph, pochoir on paper, overall: 17 3/4 x 25 in 45.09 x 63.5 cm The ASU Art Museum collection30
31
“จงมองของสิ่งนั้นให้เหมือนกับคุณไม่เคยเห็นมันมา ก่อน สำ�รวจทกุ ด้านและใช้มอื วาดโครงรา่ งของมันออก มา กอ่ นจะจุ่มตวั เองลงไปแชข่ า้ งในจนชุ่มชำ่�“ จอหน์ บันเดสซารี32
33
On Kawara เกิด 2 มกราคม 1933 คารนิ ะ, ไอช,ิ ญ่ีป่นุ เสยี ชวี ิต 10 กรกฎาคม ค.ศ. 2014 (81 ปี) เมืองนวิ ยอรก์ ,34 นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา
อง คะวะระ ศิลปินชาวญ่ีปนุ่ ทีอ่ าศัยอยใู่ นเมอื งนิวยอรก์ สหรัฐอเมริกา เปน็ ศิลปนิ ท่เี น้นเรอื่ งแนวคิด ซึง่ เป็นศิลปะแนวหนึ่งทีแ่ สดงออกถงึ ความคดิ ของศิลปนิ และลดความส�ำ คญั ของวัตถุในงานศลิ ปะลง เขาไดส้ รา้ งผลงานทม่ี ีชื่อเสียงเป็นจำ�นวนมาก โดยลักษณะเด่นของผลงานของ คะวะระคอื การใชเ้ รอื่ งของเวลามาเปน็ ส่ือในการสรา้ งผลงานศิลปะ ในชว่ งปี 1950 คะวะระไดร้ ับแรงบันดาลใจมาจากเหตุการณ์ระเบิดทเี่ มอื งฮิโรชิม่าและนางาซากิ ซ่งึ เกิดขึ้นช่วงทีเ่ ขาเปน็ วยั รุน่ ผลงาน ‘The Bath-room’ (1953-54) แสดงถงึ ภาพบุคคลท่ีไม่สมประกอบหลายคนอยู่ในห้องน้�ำ จากนัน้ ในปี 1959 เขาได้เดนิ ทางไปเม็กซโิ กและเดนิ ทางไปทัว่ ยุโรป กอ่ นจะตัดสนิ ใจตง้ั ถิ่นฐานอยู่ทีน่ วิ ยอร์กในปี 1965 Bathroom (Pregnant Woman) On Kawara, 1954 ภาพเขียนในยุคแรก ๆ ของศิลปนิ ยังเป็นภาพรปู ธรรม ทวา่ กลางทศวรรษ 1960คะวะระพฒั นาแนวคดิ ทางศิลปะทแี่ มย้ งั จดั อยูใ่ นกลมุ่ ภาพเขยี น ทว่าคะวะระกลบั สอดแทรกปรากฏการณ์อันเป็นนามธรรมนั่นคือมิติด้านเวลาผ่านการนำ�เสนอผ่านจิตรกรรมนน่ั เอง 35
ผลงาน36
Date Paintings, 1966 ผลงาน Today Series เปน็ หน่งึ ผลงานทีม่ ีช่อื เสยี งท่ีสุดของคะวะระ ผลงานนีจ้ ะเกี่ยวข้องกับเร่อื งของ วัน เวลาและสถานท่ี เปน็ โปรเจกตต์ อ่ เนือ่ ง โดยเรมิ่ ตน้ เมือ่ วนั ท่ี 4 มกราคม1966 เปน็ งานตลอดชว่ งชีวิตของเขา ผลงานนม้ี ชี ือ่ เรียกอกี ชอื่ ว่า ‘Date Paintings’ หรือ‘วันที่วาดภาพ’ รายละเอยี ดของภาพ เป็นภาพทีป่ ระกอบดว้ ยวนั ท่ี เดือน และปี โดยวาดด้วยอกั ษรสีขาวบนพ้นื หลังทีใ่ ช้สีเดยี ว สว่ นมากจะเป็นสีแดง สีฟา้ สดี ำ�หรอื สเี ทา วันท่ีทถี่ ูกวาดลงบนภาพจะเป็นภาษาและมีรูปแบบไวยากรณ์ตามรูปแบบการใช้ของประเทศท่ีเขาอาศัยอยู่ในขณะวาดภาพนั้นๆ ชนิ้ งานของเขามหี ลายขนาด ติดตงั้ ไว้บนผนงั เป็นแถวตามแนวนอน 37
คะวะระใส่ใจกบั ผลงานแตล่ ะชิน้ ของเขามาก ตวั อกั ษรบนภาพถูกวาดขนึ้ ด้วยมือโดย ผ่านการค�ำ นวณและจัดรูปแบบมาอย่างดี ในช่วงแรกผลงานจะมคี วามฉดู ฉาดมากกว่าผลงานใน ชว่ งสมยั หลังทใ่ี ชโ้ ทนสเี ข้มข้ึน เขามักจะทาสพี ้ืนหลงั ทับกนั จำ�นวน 4-5 ช้ัน และถพู น้ื ผวิ ให้เรยี บ เพอ่ื เขยี นตัวอกั ษร คะวะระปฏเิ สธรูปแบบการเขยี นที่เปน็ ลายมอื เขาเลอื กใชต้ ัวอกั ษรทเ่ี ปน็ ฟ้อ นท์ ซงึ่ เป็นแบบแผนมากกว่า คะวะระมคี วามตง้ั ใจในงานแตล่ ะชิ้นมาก ถา้ หากว่าเขาไม่สามารถ วาดภาพวันทเี่ สร็จภายในวันนน้ั ๆ ภาพจะถกู ท�ำ ลายท้งิ ทนั ที On Kawara, canvases from the คะวะระวาดภาพเปน็ จ�ำ นวน 63-241 ‘Today Series’ (1966 - 2014) ภาพในแตล่ ะปี ภาพทไ่ี มไ่ ดถ้ กู น�ำ มาจดั แสดงจะถูก นำ�ไปเก็บไว้ในกล่องกระดาษที่ทำ�ขึ้นสำ�หรับภาพ แตล่ ะชิน้ ภายในกลอ่ งจะติดภาพขา่ วทคี่ ะวะระตดั มาจากหนังสือพิมพ์ของเมืองที่เขาอยู่ขณะน้ันและ ต้องเป็นฉบบั วนั ทีต่ รงกบั วันท่ีบนภาพ ดงั น้นั กล่อง จึงเป็นส่วนหน่ึงของผลงานเช่นกันแต่มีการนำ�ไป จัดแสดงเพยี งบางครง้ั เท่านั้น มภี าพวาดในแต่ละ ประเทศมากกวา่ 112 ประเทศท่วั โลก นับเป็นผล งานทม่ี คี วามยาวนานเปน็ อย่างมาก38
One Million Years, 1969 ผลงานทีโ่ ดดเดน่ อีกช้ินหน่ึงของ อง คะวะระ ถกู จัดแสดงครง้ั แรกในประเทศ องั กฤษเปน็ เวลา 7 วนั 7 คืน ทแ่ี ยก Trafalgar ช่วงต้นปี 2014 ผลงานช้นิ น้ถี ูกนำ�ไปจัด แสดงทว่ั โลกอยา่ ง ปารสี นิวยอร์กบรซั เซล และกวางจ ู คะวะระน�ำ ปคี รสิ ต์ศกั ราชมา บนั ทกึ ลงเป็นหนังสือโดยยอ้ นกลบั จากปจั จุบันไปสอู่ ดตี เป็นเวลาหน่งึ ลา้ นปี และนับจาก ปจั จบุ นั ไปส่อู นาคตอกี หนึ่งล้านปี เลม่ อดีตมจี �ำ นวน 10 เลม่ เล่มอนาคตมจี �ำ นวน 10 เลม่ 39
การจดั แสดงผลงานชิ้นนเ้ี ปน็ การใชค้ วามเป็น Performance Art เข้ามารว่ ม ดว้ ย โดยให้ผชู้ มหรอื อาสาสมัครมสี ว่ นรว่ มกับงาน มผี ู้ที่เป็นผ้ชู ายและผู้หญิงน่งั ขา้ งกนั บนโต๊ะ มีหนังสอื 2 เลม่ ให้เปิดอา่ น ซึ่งเลม่ หนงึ่ เป็นเลม่ อดตี และอกี เลม่ คือเล่มอนาคต โดยทีท่ ง้ั สองจะอา่ นไลป่ ีครสิ ตศ์ กั ราชตัง้ แต่ปีปจั จุบันไปพร้อมกัน40
I Got Upฉนั ตืน่ แล้วไปรษณียบตั รและตรายางประทบั 21 แผน่ , แผ่นละ 8.9 x 14 ซม.เบอร์ลิน, สตาทลเิ ซอ มูซีน ซู เบอรล์ ิน - พรอยส์สิซเซอร์ กลุ เทอร์เบอซทิ ซ์,นาซิโยนกาเลอร,ี มารโ์ ซนาคอลเลคชน่ั ฉันต่ืนแล้ว เร่ิมต้นในปี 1968 โดย คะระวะจะส่งไปรษณ๊ยบัตรไปถึงเพื่อนและคน รู้จักเป็นจำ�นวนสองฉบับทุก ๆ วัน ด้านหลัง ไปรษณียบัตรมีตรายางประทับตราว่า “ฉันตื่น แล้ว” ไว้พร้อมลงวันที่ รวมถึงเวลาที่แน่นอน และสถานที่ท่ีเขาพำ�นักขณะที่ส่งไปรษณียบัตร น้ัน ๆ เพ่ือแสดงให้คนอ่ืนรู้ว่าเขายังมีตัวตนอยู๋ ผลงานช้ินนี้แสดงให้ถึงการถ่ายทอด ชว่ งเวลาแหง่ การตนื่ ชว่ งเวลาทเี่ บง่ บานทางความ คิดผ่านการส่ือสารในรูปแบบอันแสนประหลาด 41
I Got Up (1997)42
The activity of telling oneself and the world “I am still alive.” On Kawara 43
แกลเลอรงี่ าน คอนเซ็ปชวลอารต์44
Woman with a Mandolinหญิงสาวกบั แมนโดลนิชอรช์ บราก1910, สีนำ้�มนั บนผา้ ใบ, 92x37 ซม.มิวนิค, พินาโกเทค เดอ โมแดร์น 45
Black Square จัตุรสั ดำ� คาซมิ ีร์ มาเลวิช 1915, สีนำ้�มนั บนผา้ ใบ, 80x80 ซม. มอสโก, เตรตยาคอฟ แกลเลอรี A Victim of Society (Remember Uncle August, the Unhappy Inventor) เหยือ่ สงั คม (ระลึกถงึ คณุ ลุงออกสั ต์ นักประดิษฐผ์ อู้ มทกุ ข)์ กอี อร์ก กรอซ 1919, สนี �ำ้ มนั ดินสอ และภาพปะตดิ บนผ้าใบ, 49 x 39.5 ซม. ปารีส, พพิ ธิ ภณั ฑ์ศิลปะสมยั ใหมแ่ ห่งชาติ, เซน็ เตอรป์ อมปิดูร์46
Model for a Memorial to the third International 47อนสุ รณ์สถานแห่งนานาชาติทสี่ ามวลาดิมรี ์, ตาตลิน1919, ไม้ เหลก็ และกระจก, 420 x 300 ซม.ภาพถ่ายจากผลงานจรงิ , มอสโก (ของจริงถูกทำ�ลาย)
Design for a kiosk, motto “Bisiaks” งานออกแบบตขู้ ายของ ตามคติ “บิซอิ ัก” อเลก็ ซานเดอร์ ร็อดเชนโก 1919, สีนำ้�ทบึ และหมกึ บนกระดาน, 51 x 34.5 ซม. มอสโก, งานสะสมสว่ นตัว “ส่งิ จำ�เป็นใหม่ส�ำ หรบั องคก์ ร คอื โครงสรา้ งและ วัสดุทค่ี �ำ นงึ ถงึ ประโยชนใ์ ชส้ อย” อเล็กซานเดอร์ รอ็ ดเชนโก48
49
Degrees (Quarter Circle) องศา (หนง่ึ ในสี่ของวงกลม) เมล บอชเนอร์ งานจัดวางที่ เดอะ แกลเลอเรีย สเปโรเน,่ เมืองตรู นิ ภาพถ่ายโดย: เบอรล์ ิน, สตาทลิเชอ มซู นี ซู เบอร์ลนิ - พรอยสส์ ซิ เซอร์ กลุ เทอรเ์ บอซทิ ซ,์ คนุ สทบ์ บิ ลิโอเทค, มารโ์ ซนาคอลเลคชน่ั50
Search