Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Antony Van Dyck

Antony Van Dyck

Published by Kachornpon, 2020-06-24 23:41:46

Description: Antony Van Dyck_13590599_ชญานิศ เริงสมุทร_TV

Search

Read the Text Version

The greatest Flemish artists of the seventeenth century - Antony Van Dyck - เรียบเรยี งโดย ชญานศิ เรงิ สมทุ ร

ชอ่ื :Self-portrait at the Age of Around 14, 01 ขนาด : 26 × 20 cm (10.2 × 7.9 in).1613-1614,oil on panel ปจั จุบนั อยูท่ ี่ :Vienna Academy of Fine Arts Vienna.

ช่ือ :Self-portrait with a sunflower วันท่ีสรา้ ง :after 1633 ผ้สู รา้ ง: Antony van Dyck oil on canvas ขนาด :584 × 730 mm Private collection 02

03

Preface ถ้าพูดถึงจิตรกรยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ(Renaissance) ทมี่ ีฝมี อื ช้นั ยอด อาจจะมหี ลายท่านท่ปี รากฏข้นึ มาในความคดิ ของ คุณ แต่ถา้ พดู ถงึ จิตรกรคนสำ�คัญทีไ่ ดร้ บั ความไวว้ างใจให้เป็นจิตรกร คนสำ�คัญประจำ�ราชสำ�นักพระเจ้าชาร์ลส์ท่ี1แห่งอังกฤษในคริสต์ ศตวรรษท่ี 17 คงจะหนไี มพ่ น้ “Sir Antony Van Dyck” จติ รกรชาว เฟลมมิชและยังเป็นลูกศษิ ย์เอกของ Peter Paul Rubens(รูเบนส์) ฟั น ไ ด ก์ เ ป็ น ผู้ มี ค ว า ม เ ช่ี ย ว ช า ญ ใ น ก า ร เ ขี ย น ภ า พ ว า ด สนี �ำ ม้ ัน โดยเฉพาะวาดภาพเหมือน เทคนคิ เฉพาะตวั ของฟนั ไดกค์ อื การใชส้ สี นั ท่ีสดใส สเี รียบเนยี น รูปภาพ ข อ ง เ ข า ส า ม า ร ถ ย ก ร ะ ดั บ จิ ต วิ ญ ญ า ณ ข อ ง ม นุ ษ ย์ ไ ด้ แค่ตรงน้ีอาจจะยังไม่เห็นความพิเศษของศิลปินและรูปภาพมากพอ หนังสือเล่มน้ีจะรวบรวมผลงานระดับmasterpieceของฟันไดก์เอา ไว้แล้ว หวงั วา่ ผู้อ่านท่รี กั จะเพลดิ เพลนิ ไปกบั หนังสอื เล่มนี้และเห็น ว่า ฟนั ไดก์ก็พิเศษไม่น้อยไปกว่าคนอ่ืนในยคุ ฟน้ื ฟศู ิลปะวทิ ยาการเลย ชญานศิ เริงสมุทร พฤษภาคม 2016 04

ช่ือ: Self-portrait 05 ผสู้ ร้าง: Antony van Dyck วันที่สร้าง: 1618-1619 ขนาด: 116.5 × 93.5 cmoil on canvas ปจั จบุ ันอยู่ที่: Saint Petersburg, Hermitage Museum

Contents 01Renaissance ๐ ความหมายของยคุ เรอเนซ็องส์ 08 ๐ แผนทแ่ี คว้นทสั กานี 09 ๐ ความเปน็ อยู่ของศิลปินยุคเรอเนซ็องส์ 10 ๐ฺ ศลิ ปินคนสำ�คญั ยคุ เรอเนซอ็ งส์ 11 02Antony Van Dyck ๐ ประวตั โิ ดยยอ่ ของAntony Van Dyck 12-13 ๐ ชีวิตเบอ้ื งต้น 14 ๐ ชีวิตทอี่ ิตาลี 14-15 ๐ ชวี ติ ที่อังกฤษ 16-17 06

ช่อื :Landscape วนั ท่สี ร้าง :about 1640 ผู้สร้าง: Antony van Dyck ขนาด: 18.9 x 36.4 cm Pen and brown ink and watercolor Private collection 03Artworks ๐ Self portraits 18-19 ๐ Charles I 20-25 ๐ Queen Henrietta Maria 26-31 ๐ Children 32-41 ๐ Mother and child 42-45 ๐ Portraits of ladies 46-51 ๐ Portraits of men 52-59 ๐ Family portraits 60-61 ๐ History paintings 62-69 ๐ Ethings 70-71 04Reference 72 07

Renaissance ศลิ ปะเรอเนสซ็องส์ (พ.ศ. 1940 - 2140) คำ�วา่ “เรอเนสซอ็ งส”์ หมายถงึ การเกิดใหม่ ซึ่งเปน็ การระลกึ ถงึ ศลิ ปะกรกี และโรมันใน อดตี ซง่ึ เคยรุง่ เรืองให้กลับมาอีก ศิลปะเรอเนสซอ็ งสไ์ ม่ใช่การลอก เลยี นแบบจากอดตี แตเ่ ปน็ ยคุ สมัยแหง่ การเนน้ ความสำ�คัญของ ลักษณะเฉพาะบคุ คล มคี วามสนใจลกั ษณะภายนอกของมนุษย์ และ ธรรมชาติ เปน็ แบบทีม่ เี หตผุ ลทางศีลธรรม กอ่ ให้เกดิ ความ กระตือรือร้นในการค้นหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์และวิทยาการ แขนงต่าง ๆ ซึ่งอาจเรยี กได้ว่าเป็น “สมัยฟ้นื ฟูศิลปวิทยา” โดยมี รากฐานมาจากประเทศอติ าลี และแผ่ขยายไปยังดินแดนตา่ ง ๆ ใน 08

ศิลปะเรอเนสซองส์ มีตน้ กำ�เนิดท่ี เมอื งฟลอเรนซ(์ Florence) แควน้ ทสั กานี(Tuscany) ประเทศอิตาลี ค.ศ.14 09

ในสมยั ฟืน้ ฟูศิลปวิทยา คริสตจักรยังคงเปน็ ผู้อุปถัมภ์ที่สำ�คัญของเหล่าศิลปินนอกจากนี้ยังมีพวก ขนุ นาง พอ่ ค้าผู้รำ่�รวย ซ่งึ เปน็ ชนช้ันสงู ก็ได้วา่ จ้าง และ อุปถมั ภ์เหลา่ ศิลปินตา่ ง ๆ ดว้ ย ตระกลู ทม่ี ชี อ่ื เสยี งเหลา่ นน้ั ได้แก่ ตระกูลวสิ คอนตี และสฟอรซ์ า ในนครมลิ าน ตระกูลกอนซากาในเมอื งมานตูอา และตระกลู เมดีชใี น นครฟลอเรนซ์ การอปุ ถมั ภศ์ ลิ ปนิ นม้ี ีผลในการกระต้นุ ให้ศิลปินใฝห่ าชือ่ เสียง และความส�ำ เร็จมาสูช่ วี ิตมาก ขนึ้ ผลงานของศลิ ปินท่มี ที งั้ จิตรกรรม ประติมากรรม และสถาปตั ยกรรม ท�ำ ใหช้ อื่ เสียงของศิลปนิ หลายคน เปน็ ที่รจู้ ักทว่ั โลกตลอดกาล เชน่ ลโี อนาร์โด ดา วินชี มีเกลันเจโล ราฟาเอล สถานภาพทางสงั คมของศิลปนิ เป็นทย่ี อมรับกันอยา่ งสูงในวงสงั คม เกดิ ส�ำ นักศลิ ปะ เพอื่ ฝึกฝนช่างฝีมือ และเกดิ มศี ลิ ปนิ ระดับอจั ฉริยะ ขนึ้ มาอยา่ งมากมาย และในสมยั ฟ้ืนฟูศิลปวิทยานี้ เอง ท่มี กี ารพัฒนาการพมิ พ์ขึ้นในประเทศเยอรมนโี ดย โยฮนั น์ กูเทนแบรก์ เป็นผู้ผลิตนวัตกรรมชน้ิ น้ีขน้ึ มา ราวพทุ ธศตวรรษท่ี 20 ท�ำ ใหศ้ ิลปะการพิมพไ์ ดเ้ รม่ิ มี การสร้างสรรค์ขน้ึ อยา่ งจริงจงั นบั ต้ังแต่นั้นเป็นต้นมา 10

Leonardo da Vinci Michelangelo (ค.ศ. 1452 - ค.ศ. 1519) (ค.ศ.1475-ค.ศ. 1564) Raphael Jan Van Eyck ค.ศ.1483– ค.ศ. 1520 พ.ศ 1390–พ.ศ.1441 ศิลปนิ คนส�ำ คญั ยคุ ฟน้ื ฟูศิลปวิทยาการ 11

Antony Van Dyck Self-portrait with a sunflower, after 1633 12

แอนโทนี แวน ไดค์ เกิดวันท2่ี 2 มนี าคม พ.ศ.1599 เสียชวี ตวนั ที9่ ธันวาคม พ.ศ.1641 เป็นจิตรกรยคุ ฟืน้ ฟูศลิ ปวทิ ยาชาว เฟลมมชิ ซ่ึงมาเป็นจิตรกรคนส�ำ คัญประจำ�ราชส�ำ นกั พระเจ้าชาร์ลส์ที่ 1 ท่อี ังกฤษในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผมู้ คี วามเชย่ี วชาญในการเขียนภาพสี น้ำ�มัน โดยเฉพาะภาพเหมือน ภาพเขยี นทมี่ ชี อ่ื เสยี งของแวน ไดคเ์ ป็น ภาพเหมือนของพระเจ้าชารล์ ท่ี 1 และครอบครัวซึ่งวางท่าลกั ษณะ สบายแต่สง่าแบบที่กลายมาเป็นแบบท่ีใช้ในการเขียนภาพเหมือนต่อมา ในอังกฤษเป็นเวลาราว 150 ปี นอกจากภาพเหมือนแลว้ แวนไดคย์ งั เขยี น ภาพจากพระคัมภีร์และตำ�นานเทพ และเปน็ จติ รกรคน ส�ำ คญั ผู้ริเรม่ิ ใชส้ นี ้ำ� และ การแกะภาพโลหะ (etching) 13

ชีวติ เบอื้ งต้น แอนโทนี แวน ไดก์(Antony Van Dyck) เกิดในครอบครวั ทมี่ ง่ั ค่งั ทอี่ นั ท์เวริ พ์ ปจั จบุ ันอยู่ในประเทศเบลเยียม และเปน็ ผทู้ ม่ี ีความสามารถทางการเขยี นมาต้ังแตต่ ้น ภายใน ปี ค.ศ. 1609 กไ็ ดเ้ ขา้ ศกึ ษาการเขยี นภาพกบั เฮนดรคิ ฟาน บาเล็น (Hendrick van Balen) และเปน็ ช่างเขียนอสิ ระเมอื่ ปี ค.ศ. 1615 ต้ังเวริ ์คชอ็ พร่วมกบั ยาน บรูเกล ผลู้ กู (Jan Brueghel the Younger) เพอื่ นรนุ่ น้อง เมอ่ื มีอายุได้ 15 ปี แอนโทนี แวน ไดกก์ เ็ ปน็ จติ รกร ผ้มู ีชอื่ เสียงแลว้ จากท่เี ห็นได้จาก “ภาพเหมอื นตนเอง” ทเี่ ขยี นเมอื่ ปี ค.ศ. 1613-1614 ชวี ติ ทอ่ี ติ าลี ในปี ค.ศ. 1620 แอนโทนี แวน ไดค์เดินทางไป องั กฤษเปน็ คร้ังแรก โดยการแนะน�ำ ของพ่ชี ายของดยคุ๊ แห่งบัคกงิ แฮม เพ่ือไปทำ�งานในราชสำ�นักของสมเด็จพระเจ้า เจมส์ที่ 1 แห่งอังกฤษเปน็ เงินจำ�นวน £100ในลอนดอน แวน ไดคไ์ ด้เห็นงานของ ทิเชยี นที่สะสมโดยทอมัสเฮาเวิรด์ เอริ ล์ Self-portrait at the Age of Around 14, circa แห่งอารัลเดลท่ี21เป็นครั้งแรกซ่ึงเป็นงานการใช้สีและการวาง 1613-1614. oil on panel. 26 × 20 cm (10.2 × 7.9 องค์ประกอบที่แวนไดค์นำ�มาปรับปรุงเข้ากับทฤษฏีที่เรียนมา in). Vienna, Academy of Fine Arts Vienna. กับรเู บนสม์ าเป็นการวางรปู และการใชส้ แี บบใหมข่ องแวนไดค์ 14

สี่เดือนหลงั จากนน้ั แวน ไดคก์ ็กลบั ไปฟลานเดอร์สและในปี ค.ศ. 1621 กไ็ ด้เดินทางตอ่ ไปอติ าลี ไปเรียนเพ่ิมความรใู้ นการเขยี นภาพ และสร้างชอ่ื เสยี งอยู่ทีน่ ั่น 6 ปี เมอื่ อยู่ท่นี นั่ แวน ไดคก์ ็มีชื่อเสยี งวา่ ไม่ เหมือนใคร เรม่ิ วางมาตรอยา่ งมิใชค่ นอน่ื ซ่ึงท�ำ ใหเ้ ป็นท่ีร�ำ คาญของจติ รกร กลุ่มทีใ่ ช้ชีวิตแบบโบฮเี มยี ทโ่ี รม จนเบลลอรกี ล่าววา่ แวน ไดคว์ างท่า เหมอื นเซอซู สิ เหมอื นกบั ว่าแวน ไดคจ์ ะเปน็ เจ้านายมากกว่ามนุษย์เดนิ ดนิ แวน ไดค์จะแตง่ ตวั ดว้ ยเสื้อผา้ ท่ีหรูหราเพราะความที่เคยอยใู่ นแวดวง ของรเู บนสแ์ ละคนชัน้ สงู ๆ อื่นๆ และตวั ของแวน ไดค์เองกเ็ ปน็ คนหวั สงู อยแู่ ลว้ จงึ ต้องทำ�ตวั ให้เปน็ ท่เี ดน่ โดยการแต่งตัวดว้ ยผ้าไหม ใส่หมวกปกั ขนนกกลดั ดว้ ยเขม็ กลดั อญั มณี ใสส่ รอ้ ยทองบนใหลแ่ ละมีคนใช้ติดตาม แวนไดก์ตั้งหลักแหล่งอยู่ท่ีเจนัวแต่ก็ท่องเท่ียวไปตามเมืองต่างๆ และไปอยู่ทปี่ าร์เลอโมในซซิ ลิ อี ยพู่ ักหนึง่ ระหวา่ งท่อี ย่เู จนวั กเ็ ขยี นรปู ให้กบั เจ้า นายท่ีน่ันโดยการเขียนภาพเหมือนแบบเต็มตัวที่ได้อิทธิพลมาจากการเขียน แบบเวโรนา, ทเิ ชียน และรูเบนส์ ซึง่ ผู้เปน็ แบบจะดูสงู แตส่ ง่าและมองลงมาหาผู้ ดอู ย่างทรนง ในปี ค.ศ. 1627 แวน ไดคเ์ ดนิ ทางกลับไปอนั ท์เวิรพ์ และไปอยู่ท่นี ั่น อีกห้าปีเขียนภาพให้กับชาวเฟลมมิชตามลักษณะที่เขียนที่เจนัวคือทำ�ให้ผู้เป็น แบบมลี กั ษณะท่สี งา่ ท่ีสุดเท่าทีจ่ ะท�ำ ได้ งานเขยี นรูปเจ้าหนา้ ทขี่ องรัฐบาล 24 ภาพทีบ่ รสั เซลสถ์ ูกทำ�ลายไปหมดเมอ่ื ปี ค.ศ. 1695 แวน ไดค์มีเสน่หก์ บั ลกู ค้า และเหมือนกับรูเบนส์ที่เข้ากับเจ้านายได้อย่างสนิทสนมจึงสามารถได้รับสัญญา ว่าจา้ งจากลูกค้า เม่ือปี ค.ศ. 1630 แวน ไดคก์ ไ็ ดเ้ ปน็ ช่างเขียนประจ�ำ ส�ำ นกั ของอารค์ ดชั เชสอิสซาเบลลาผู้วา่ การฟลานเดอร์สของแฮบ็ สเบริ ์ก ในระยะ เดียวกนั นีแ้ วน ไดค์กว็ าดจติ รกรรมทางศาสนาหลายชิ้นโดยเฉพาะฉากแทน่ บชู า และเริ่มงานภาพพิมพด์ ว้ ย 15

ชวี ติ ทอ่ี งั กฤษ พระเจา้ ชาร์ลสท์ ่ี 1 แหง่ องั กฤษเปน็ พระเจา้ แผน่ ดินองคห์ น่งึ ขององั กฤษทีน่ ยิ มการ สะสมศิลปะเพราะทรงถือวา่ เปน็ เครื่องส่งเสรมิ ความหรหู ราโอ่อา่ ของพระบารมใี หเ้ พิ่มข้ึน ใน ปี ค.ศ. 1628 ทรงซือ้ งานสะสมศิลปะของกอนซากาดยุ๊คแหง่ มานตัวทีจ่ ำ�ตอ้ งขาย นอกจากน้ัน ก็ยงั ทรงพยายามชกั ชวนจิตรกรชาวต่างประเทศผู้มีชอื่ เสยี งเขา้ มาทำ�งานกบั ราชส�ำ นกั ตั้งแต่เร่มิ ข้นึ ครองราชย์ เมอื่ ปี ค.ศ. 1625 ในปี ค.ศ. 1626 ทรงสามารถเชญิ โอราซโิ อ เจ็นทเิ ล (Orazio Gentileschi) จากอติ าลใี หม้ าต้งั หลักแหลง่ ในอังกฤษได้ ตอ่ มาอารเ์ ทมิเซยี เจน็ ทิเลสชลิ กู สาว และลกู ชายของกต็ ามมาด้วย ศิลปินผูท้ รงอยากชวนใหม้ าจะใหม้ าที่สดุ คือรเู บนส์(Rubens) ผู้ซ่ึง ต่อมากม็ าอังกฤษในฐานะทางการทูตและมาเขียนรปู ด้วย ในปี ค.ศ. 1630 และการมาอกี ครงั้ เขาเอาภาพเขียนจากอนั ทเ์ วิรพ์ มาดว้ ย ระหวา่ งท่ีมาอยู่ทล่ี อนดอน 9 เดือนก็ไดร้ บั การรบั รอง เปน็ อย่างดีและได้รบั แต่งตงั้ ให้เป็นขุนนาง แดเนยี ล ไมเตนสชาวเฟลมมชิ เป็นชา่ งเขียนภาพ เหมอื นของพระเจ้าชาร์ลท่ี 1 ทไ่ี ม่มอี ะไรพเิ ศษนกั และการท่พี ระเจา้ ชาร์ลที่ 1 มพี ระวรกายที่สูง เพยี งไม่ถึงหา้ ฟตุ ก็มิได้ชว่ ยทำ�ให้การเขียนภาพเหมอื นของพระองคท์ ี่ท�ำ ให้ดูสง่าผา่ เผยงา่ ยขึ้น เทา่ ใดนัก 16

ขณะทีไ่ มไ่ ด้อย่อู งั กฤษแวน ไดคก์ ย็ งั มกี ารติดต่อกับทางราชส�ำ นักอังกฤษอยู่ และ ยังเป็นผู้ช่วยตัวแทนของราชสำ�นักอังกฤษในการเสาะหาภาพเขียนในยุโรปสำ�หรับการสะสม ของพระเจา้ ชารล์ นอกจากน้ันกย็ งั หาภาพของชา่ งเขียนคนอนื่ แล้ว แวน ไดคก์ ย็ ังส่งงานของ ตนเองไปดว้ ยรวมทง้ั ภาพเหมอื นของตนเองและเอน็ ดีเมยี น พอรเ์ ตอร์ (Endymion Porter)--ตัวแทนของพระเจ้าชาร์ลคนหนงึ่ --ท่เี ขียนเมอื่ ปี ค.ศ. 1623; ภาพตำ�นานเทพ “รนิ าลโดและอารม์ ิลดา” (Rinaldo and Armida)-ค.ศ. 1629 ปจั จุบนั อยทู่ ่พี พิ ธิ ภณั ฑ์ ศลิ ปะบัลตมิ อร;์ และงานศลิ ปะศาสนาส�ำ หรบั พระชายาของพระเจา้ ชาร์ล แวน ไดค์เขียน ภาพของอลิสซาเบธ็ แห่งโบฮเี มียผเู้ ป็นพระขนิษฐาของพระเจา้ ชารล์ ที่กรงุ เฮกเมอื่ ปี ค.ศ. 1632 ในเดอื นเมษายนของปีเดียวกนั แวน ไดคก์ ก็ ลับไปองั กฤษและได้เข้ารับราชการในราช สำ�นกั ทนั ที ในเดอื นกรกฎาคมกไ็ ด้รับแตง่ ตง้ั ใหเ้ ปน็ ขุนนางและได้รับค่าบำ�รงุ ปีละ £200 ต่อ ปี ตามค�ำ บรรยายหนา้ ทีว่ ่า “ช่างเขยี นเอกประจ�ำ พระองค์” นอกจากเงินประจ�ำ ปแี ลว้ ตาม ทฤษฏจี ะได้ค่าจ้างเขยี นภาพแต่ละภาพเป็นจ�ำ นวนมากต่างหาก แตอ่ นั ท่ีจริงแล้วพระเจ้า ชาร์ลมิได้จา่ ยค่าบ�ำ รุงเป็นเวลาถงึ หา้ ปแี ละลดราคาค่าเขียนภาพหลายภาพ นอกจากน้ันก็ยัง มบี ้านใหท้ ร่ี มิ แมน่ �ำ้ ทแ่ี บลค็ ฟรายเออรส์ ซ่งึ ขณะนนั้ อยูน่ อกตวั เมอื งลอนดอน ฉะน้ันจงึ ไม่ ต้องขน้ึ กับสมาคมช่างเขียนของลอนดอน (Worshipful Company of Painter-Stainers) สำ�หรบั บ้านพักนอกเมืองกเ็ ปน็ หอ้ งชดุ ที่วงั เอลแธมซงึ่ เปน็ วงั ท่ีราชวงค์มไิ ด้ใช้แลว้ หอ้ งเขยี น ภาพทีแ่ บลค็ ฟรายเออร์สซง่ึ เปน็ ท่ที ่พี ระเจ้าชารล์ และพระราชินเี ฮ็นเรยี ตตา มาเรยี พระชายา ชอบเสดจ็ มาเยยี่ มบ่อยๆ จนในทสี่ ดุ กต็ อ้ งสร้างทางเดนิ เพื่อเขา้ ออกไดส้ ะดวก หลงั จากแวน ไดค์เข้ามาเปน็ ช่างเขียนประจำ�พระองค์ พระเจา้ ชารล์ ก็เกือบมไิ ด้น่งั ให้ช่างเขียนอน่ื เขยี น ภาพของพระองค์อกี 17

Artworks Self portraits 18

Self-portrait at the Age of Around 14, circa Self-portrait, circa 1618-1619. 116.5 × 93.5 cm 1613-1614. oil on panel. 26 × 20 cm (10.2 × (45.9 × 36.8 in). Saint Petersburg, Hermitage 7.9 in). Vienna, Academy of Fine Arts Vienna. Museum Self-portrait, circa 1621-1622. oil on canvas. Self-portrait as Paris, circa 1628. 96 × 84 cm 81.5 × 69.5 cm (32.1 × 27.4 in). Munich, Alte (37.8 × 33.1 in). London, Wallace Collection Pinakothek. 19

Artworks Charles I 20

ช่ือ: Charles I with M. de St Antoine 21 ผูส้ ร้าง: Antony van Dyck วนั ทส่ี ร้าง: 1633 Oil on canvas ปจั จบุ นั อย่ทู ่ี :Royal Collection of the United Kingdom

Charles I, 1630s. Charles I, circa 1632. King Charles I of England (1600 – 1649) Charles I, 1635-1637 22

ชอื่ :Charles I at the Hunt (or Le Roi à la chasse) 23 ปที ่สี ร้าง :circa 1635. oil on canvas ขนาด :272 × 212 cm

24

ชือ่ : Charles I (1600-49) ผ้สู รา้ ง: Sir Anthony Van Dyck วันท่ีสร้าง: 1635 - Before June 1636 ปจั จบุ นั อยู่ที่ :Royal Collection of the United Kingdom 25

Artworks Queen Henrietta Maria 26

PORTRAIT OF QUEEN HENRIETTA 27 MARIA (1609–1669) oil on canvas, extended

Queen Henrietta Maria, 1632. Royal Henrietta Maria, 1632-1635. London, Collection of the United Kingdom National Portrait Gallery Henrietta Maria, circa 1636. San Henrietta Maria, 1638. Royal Col- Diego, Museum of Art lection of the United Kingdom 28

ชอื่ : Henriette-Marie witch dwarf sir Jeffrey Hudson ผู้สร้าง: Antony van Dyck วนั ท่สี ร้าง: 1633 Oil on canvas 29

ชอื่ :Charles I and his wife Henrietta Maria with their eldest children วนั ทีส่ รา้ ง :1633 oil on canvas ปัจจุบนั อยทู่ ่ี :Royal Collection of the United Kingdom 30

31

Artworks Children 32

ช่อื :Charles II of England as child วนั ทส่ี ร้าง :1638 ขนาด :150.5 × 130.7 cm. ปัจจบุ ันอย่ทู ี่ :London, National Portrait Gallery 33

34

ชื่อ :Five eldest children of Charles I ปีทสี่ รา้ ง:1637 oil on canvas ปจั จุบนั อยู่ท่ี :Royal Collection of the United Kingdom 35

ชื่อ :Young King Charles II of England with his spaniel. ปีที่สรา้ ง :circa 1635-1636 oil on canvas ปจั จุบันอย่ทู ี่ :Royal Collection of the United Kingdom 36

37

ชือ่ :Marie Stuart and William II, Prince of Orange ปีท่สี รา้ ง :1641 oil on canvas ขนาด :182.5 × 142 cm ปัจจุบนั อยู่ท่ี :Amsterdam, Rijksmuseum Amsterdam 38

ช่ือ :Philadelphia and Elisabeth Wharton ปีทพี่ ิมพ์ :1640 oil on canvas ขนาด :162 × 130 cm ปัจจุบนั อยทู่ ่ี :Hermitage Museum 39

ชือ่ :William II, Prince of Orange ปที ี่สร้าง :1632 oil on canvas Antwerp, Rubenshuis 40

ชื่อ :The Balbi Children ปที ีส่ รา้ ง :between 1625 and 1627 oil on canvas ขนาด :219 × 151 cm ปัจจบุ ันอยทู่ ่:ี London, National Gallery 41

Artworks Mother & Child 42

ช่ือ :Susanna Fourment and her daughter ปที ่สี รา้ ง :1621. ปจั จบุ ันอยทู่ ี่ :Washington D.C. National Gallery of Art 43

Portrait of Maria Clarisse, Young woman and child Woman and child Marquise Lomellini, with her children at 44

Paolina Adorno Porzia Imperiale and Her Daughter Portrait of a lady with her daughter Portrait of Anna van Thielen 45

Artworks Portraits of ladies 46

ช่อื :Marquise Elena Grimaldi, 47 marquess Nicola Cattaneo’s wife ปีท่ีสรา้ ง :circa 1623 oil on canvas ขนาด246 × 173 cm ปจั จบุ นั อยู่ท่ี : Washington, D.C., National Gallery of

Portrait of Elisabeth or Theresia Marchesa Balbi, circa 1625 Shirley in oriental clothes, 1622 Genovese Lady, circa 1621 nfanta Isabella Clara Eugenia, portrait of a widow, 1627 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook