ค�ำ นำ� ประเทศญ่ปี ุน่ เป็นประเทศเลก็ ๆทีม่ เี อกลักษณ์โดดเด่นเป็นของตวัเอง ท�ำ ใหม้ ผี ้คู นมากมายท่สี นใจในศิลปะและวฒั นธรรมของญี่ป่นุ ผมจึงสนใจในศลิ ปะการจัดสวนของญีป่ นุ่ ท่มี ีความสวยงาม จงึ ได้จัดทำ�หนงั สอื เลม่ น้ีขนึ้เพื่อศึกษาถงึ วธิ กี ารจดั สวนญ่ปี นุ่ ทเ่ี มอื่ ทำ�แลว้ ออกมามีความสวยงาม น่ามองน่าคน้ หา และหวังว่าผู้ท่ไี ด้อ่านหนงั สอื เล่มนจ้ี ะได้รับประโยชน์ ไม่มากกน็ อ้ ย ภเู บศ สอาดเอ่ยี ม
สารบัญ หนา้ 1หัวข้อ 25สวนญี่ปุ่น 41องค์ประกอบของสวนการจดั สวนญ่ีปุ่น
Japanese Garden1 สวนญ่ปี นุ่
2 ประวตั คิ วามเปน็ มา สวนญ่ีป่นุ เปน็ สวนท่ีมีเอกลกั ษณข์ องตัวเองสูง โดดเดน่ และ สวยงาม เพราะปรัชญาการออกแบบสวนของญป่ี นุ่ นั้นมีการพฒั นามาเป็น เวลายาวนาน ทำ�ใหส้ วนญป่ี นุ่ เปน็ สวนทีม่ คี วามหมายลึกซง้ึ เกี่ยวกบั ความ งดงามของธรรมชาติ ศาสนา ปรชั ญา ความเช่ือ ความศรทั ธา ตลอดจน ศิลปวัฒนธรรมในการด�ำ เนนิ ชีวิต เช่น พิธชี งชา จึงทำ�ให้สวนญ่ปี นุ่ นน้ั สวยงามโดดเด่น นอกจากการจ�ำ ลองแบบธรรมชาตมิ าใชเ้ ป็นองคป์ ระกอบ ส�ำ คัญต่างๆแล้ว อีกสงิ่ หนึง่ ท่สี �ำ คัญย่ิงคือ ปรชั ญาทางศาสนา ท่ีผสมผสาน เอาปรัชญาของพทุ ธศาสนาแบบเซน เตา๋ และชินโต มารว่ มในการออกแบบ สวนจงึ มีจติ วิญญาณแฝงอยูอ่ ย่างมีศิลปะ โดยอทิ ธพิ ลทางพุทธศาสนา จะ แสดงออกในดา้ นความ สงบ เงียบ เพ่อื สะท้อนใหเ้ กดิ การเพง่ มองจติ ใจตวั เองไดอ้ ยา่ งมสี มาธิ และสอนให้มนษุ ยอ์ ยรู่ ว่ มกับธรรมชาติอย่างเปน็ มิตร ด้วยความเคารพ สวนญ่ปี นุ่ ได้รบั อทิ ธิพลจากสวนจีน พร้อมๆกับการเผยแพรเ่ ขา้ มาของศาสนาพทุ ธในชว่ งพุทธศตวรรษท่ี 11 มพี ระภกิ ษุญีป่ ่นุ 2 รูป จารกิ ไปศึกษาในดนิ แดนจีน และกลับมาต้งั ลัทธใิ หม่ 2 ลทั ธิ คือ Shingon และ Tendi ซึ่งเปน็ ศาสนาพทุ ธแบบมหายาน ลทั ธทิ ั้งสองน้ีเนน้ ทางปฏิบตั ิ โดย ใหผ้ ้ปู ฏิบัติธรรม หาท่ีวเิ วกเขา้ สคู่ วามเงียบของธรรมชาติ และท�ำ สมาธิ เพื่อใหเ้ กดิ ปัญญา การจดั สวนในญี่ปุน่ จึงมีจุดเร่ิมตน้ จากวดั เชน่ เดยี วกบั การเกิดข้นึ ของสวนจีน จากน้ันจงึ แผข่ ยายความนยิ มเขา้ ไปในวงั และบ้าน คหบดีในเวลาตอ่ มา
4 ช่วงพทุ ธศตวรรษที่ 13 - 17 วัดในญปี่ นุ่ สว่ น ใหญเ่ ป็นวดั ในลัทธิชินโต มสี ถาปตั ยกรรมคลา้ ยกบั ท่ี สรา้ งกนั ในประเทศจนี คือ หลังคาเปน็ ทรงโค้งมักจะ มงุ ดว้ ยหญา้ ไมม่ งุ กระเบ้อื ง และจะมีลานกรวดเพ่อื แสดงถงึ ความเปน็ พื้นท่ีสงบ ศักด์ิสิทธิ์ ลานกรวดตาม วัดต่างๆ จะถูกสรา้ งข้นึ อยา่ งประณีตและไมป่ ลกู ต้นไม้ ทม่ี ใี บร่วงไวใ้ นบริเวณใกล้เคียง (คงเปน็ เร่อื งงา่ ยต่อ การดแู ล) ในตอนปลายสมัยน้นี ยิ มสรา้ งสระน�ำ้ ใหญไ่ ว้ ในสวน และมศี าลาสวดมนต์ตั้งอยู่รอบๆ สวนในบา้ น ขุนนางชัน้ ผู้ใหญ่หรอื คหบดี จะมีการตกแต่งประดบั
5 ในศตวรรษท่ี 17 - 19 การเข้ามาของ คตแิ บบเซนน้ี เปน็ ปจั จัยส�ำ คญั ทีส่ ง่ลทั ธิ Zen ในญปี่ นุ่ ทำ�ให้เกดิ สวนขึ้นอกี แบบหน่งึ อิทธิพลต่อการจัดสวนหินและสวนทรายเรียกว่า Dry Garden (kare sansui) มีลักษณะ ซึ่งเป็นการเสนอแนวคิดทางนามธรรมเป็นสวนแบบ Minimalism (เรยี บงา่ ยที่สดุ หรือ ในการจัดสวนแบบญปี่ ุ่น ที่แสดงออกน้อยที่สุด) ซงึ่ เป็นการออกแบบเพอื่ ใหเ้ อ้ือต่อการ ถงึ ความรักและเคารพในธรรมชาติ ผนืทำ�สมาธิ สวน Zen จงึ เป็นสวนทม่ี ีองค์ประกอบ ดิน ก้อนหนิ และพืชพนั ธุ์ ซ่ึงแมจ้ ะเปน็น้อยมาก เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ แกน่ แท้ของธรรมชาติ บรเิ วณเลก็ ๆ แตก่ ็สามารถนำ�จินตนาการสวนมีลักษณะเป็นลานกรวดที่มีต้นไม้น้อยท่ีสุด ของผู้ใช้ให้สัมผัสได้ถึงความย่ิงใหญ่ของเพื่อใหเ้ ห็นผิวสมั ผัสของหิน ท่ปี กคลมุ ดว้ ยตะไคร่ ธรรมชาติ โดยการจำ�ลองหรอื ยอ่ สว่ นหรอื มอส ท้งั ยงั ตัดสว่ นประกอบตา่ งๆทม่ี ากมายออกไป ใหเ้ หลอื เฉพาะแกน่ แกนที่สำ�คัญ และส่ือความหมายในลักษณะแบบช้ีแนะ (Suggestion)ให้เหน็ วา่ นค่ี ือภูเขา เกาะ หรือทะเล โดยผ้ชู มต้องใชค้ วามคิด และจนิ ตนาการประกอบการรบั รู้น้ัน
7สวนหินวัดเรยี วอันจิ วดั เรยี วอนั จเิ ปน็ วดั พุทธ นิกายเซนสายรินไซ กอ่ ตัง้ ครง้ั แรกเมื่อ ค.ศ.1450 โดยโชกนุ คัตสโุ มโตะ โฮโซคาว่า (Hosokawa Katsumoto) โดยในชว่ งแรกเขาก่อสร้างตำ�หนกั ของเขาข้นึ พรอ้ มกบั วดั แหง่ นีซ้ ่งึ มสี วนเซนอยภู่ ายใน แต่วัดเรียวอันจิในสมัยนั้นก็ได้ถูกไฟเผาทำ�ลายจนหมดสิ้นในช่วงสงครามโอชินลูกชายของท่านโชกนุ มัตสุโมโตะ โฮโซคาว่า (Matsumoto Hosakawa) จึงได้สรา้ งวดั แห่งน้ขี น้ึ มาใหม่อีกครั้งในปี ค.ศ.1488 และมีแนวโน้มวา่ สรา้ งสวนหินขึน้ ที่เราเหน็ กันอยู่ในปัจจุบนั นี้ในปี ค.ศ.1499 นอกจากจะมสี วนหนิ ท่สี วยงามแล้ว วดั แหง่ นยี้ งั มบี อ่ นำ้�ขนาดใหญ่และสุสานของตระกลู โฮโซกาวา่ ซ่งึ เปน็ ท่ีรู้จกั กันในชอ่ื สสุ านแหง่ จักรพรรดทิ ง้ั เจด็ (Seven Imperial Tombs) สวนหนิ เซน เปรียบไดก้ ับผลงานศิลปะที่มีชวี ติ เนื่องจากองค์ประกอบภายสวนที่เตม็ ไปด้วย หิน ตน้ ไม้และพชื ต่างๆท่มี ีการเปลีย่ นแปลงตามกาลเวลาอยูต่ ลอด ทำ�ให้ไม่มีลกั ษณะทมี่ ่ันคงยง่ั ยืน ไม่มีทสี่ ้นิ สดุ และสมบรู ณ์ ความงามของสวนจะเกดิ ข้นึ ไดต้ อ้ งอยู่ทฝ่ี ีมือของผู้บ�ำ รงุ รักษา ท่เี ขา้ ใจพืน้ ฐานลกั ษณะของสวน มใี จรักและเข้าใจในปรชั ญาเซนด้วย ความหมายของสวนเซนแห่งนีย้ ังคงเป็นส่งิ ท่ีคลมุ เครือ ไม่มใี ครรูค้ วามหมายทีแ่ ท้จริง บนพ้ืนที่ส่ีเหลยี่ มผนื ผา้ ขนาด 248 ตารางเมตรแหง่ นี้ ประกอบไปดว้ ยกลมุ่ หินท่ถี ูกว่างไว้อยา่ งต้งั ใจและสมดลุ รวมท้งั หมด 15 ก้อน แต่มคี วามเช่อื กันว่าผู้ทส่ี ามารถมองเหน็ กอ้ นหินท้งั หมด 15 กอ้ นไดน้ ัน้ จะต้องเป็นผทู้ ่ีบรรลุในหลกั ธรรมฌาณขึน้ สูงสดุ เท่านน้ั จึงจะสงั เกตเห็นได้ (ถ้านัง่ นบั ดจู ะเห็นว่ามีหินอยเู่ พียง 14 ก้อนครับ) การชมสวนหินแห่งนี้ควรน่ังอยู่บนระเบียงไม้ท่ีทางวัดได้จัดไว้ให้แล้วซึมซบั ถึงบรรยากาศทแี่ สนสงบ แตก่ อ่ นที่จะซมึ ซบั ถงึ บรรยากาศที่สงบได้ ส่ิงสำ�คัญทสี่ ดุ เราต้องมีสมาธใิ นตวั เองก่อน เน่ืองจากวัดแห่งนี้เปน็ สถานท่ที ีโ่ ดง่ ดังมากในเมอื งเกยี วโต ระหว่างที่เราน่ังชมสวนหินอยู่ รอบตวั เราะจงึ มคี นเดนิ ไปมา ลกุ ข้นึ ลุกลง และคุยกระซบิ กระซาบกนั เตม็ ไปหมด การจะชมสวนหินโดยสงบที่วดั แห่งนไ้ี ดจ้ ึงเปน็ อะไรทดี่ หู ินมากเสียจริงๆ
8 สวนเรยี วอนั จิ (Ryoan-ji) ในเมอื งเกียวโต ซ่ึงเป็นสวนหิน ท่มี ีแนวคิด มา จากกองเรอื และทะเล กล่มุ หิน จะแทนกองเรอื ส่วนรอยคราดหินเปน็ วงกลม แทน กระแสนำ้�ทว่ี นรอบเรือ หนิ ทางเดนิ แทน เกาะเล็ก เกาะนอ้ ยของญปี่ นุ่ ซึง่ จดั ได้ว่า เปน็ สวนแบบAbstract แห่งแรกของโลก ผูท้ เี่ หน็ รอยคราดน้ีจะนึกถงึ น�ำ้ โดยทสี่ วน ไมม่ กี ารใช้น�ำ้ ตกแตง่ เลยแม้สกั หยด สวน Zen บางแหง่ มีการประยุกต์ใหม้ ีต้นไม้ แบบยอ่ ส่วนหรอื บอนไซ ให้ขน้ึ เกาะกบั หินเพือ่ เพิม่ ชวี ติ ชีวาใหก้ ับสวน
9 ชว่ งพุทธศตวรรษท่ี 21-22 เร่ิมมกี ารจดั สวนเพอ่ื การพักผ่อน ใหเ้ ดนิเลน่ เดินทอดอารมณไ์ ด้ ซ่งึ ก่อนหนา้ น้ี สวนที่กล่าวมาเป็นลกั ษณะท่ผี ู้ใช้ไม่ออกไปเดนิ ในสวน ไดแ้ ต่มองและพจิ ารณาถึงความสวยงามและความหมาย แต่ในช่วงศตวรรษนี้ เกิดความนิยมจัดสวนที่ใหม้ ีการใชง้ านบริเวณนั้นดว้ ยจรงิ ๆ ดังน้นั แนวความคดิ จากเดมิ กเ็ รมิ่ เปลยี่ นไป จากแบบ Minimalism กเ็ รมิ่ ออกแบบให้มีความอลงั การโดยการเพ่มิ องค์ประกอบต่างๆ และใช้จนิ ตนาการในการสรา้ งมากขึ้น
10 สวนญ่ีปุ่น ยงั ได้รบั อทิ ธิพลมาจากการจัดสวนถาด (tray garden) อกี ด้วยเชน่ กัน สวนญป่ี นุ่ มักจะมีระเบยี งหรือชานทเ่ี ป็นตวั เชื่อมระหว่างพนื้ ท่ี ภายในอาคารกบั พนื้ ท่ภี ายนอก องค์ประกอบท่ีมักจะพบในสวนญี่ปุน่ คอื ตะเกียงหนิ (stone lantern) ซึ่งวัตถปุ ระสงค์เดิมใชเ้ พอ่ื ให้แสงสว่างในสวน ยามคำ่�คืน ซง่ึ ต่อมาไดก้ ็ไดก้ ลายเปน็ เอกลักษณ์ท่สี �ำ คญั อยา่ งหนงึ่ ของงาน ประตมิ ากรรมในสวนแบบญี่ปุ่น การค�ำ นึงถึงความสอดคลอ้ ง สมั พันธร์ ะหวา่ ง ท่วี า่ ง เวลา และ มติ ใิ นการมอง นับเปน็ เสน่ห์ประการหน่ึงของสวนแบบญป่ี ่นุ คอื มีลกั ษณะ ทค่ี อ่ ยๆเปิดเผย แสดงใหเ้ ห็นการเปลย่ี นแปลงของท่วี ่างท่แี ตกตา่ งกันไปใน แต่ละมมุ มอง สวนญป่ี ุ่นมีปฏิสัมพนั ธ์กับแทบทกุ สมั ผัสของมนุษย์ โดยส่ือ ผ่าน สี รูปทรง เส้นสาย ผิวสัมผัสของหิน ทราย กอ้ นกรวด หินปทู างเดิน (stepping stone) ตลอดจนกล่นิ ละมนุ ของดอกไมแ้ ละตน้ สน สวนแบบญี่ปนุ่ เปน็ สวนทีส่ รา้ งขน้ึ เพอื่ จำ�ลองความงดงามของ ธรรมชาตดิ ้วยความใส่ใจ ประณีต และพถิ ีพิถัน การจัดองค์ประกอบของภาพ ภูมิทัศน์โดยการจดั แต่งกอ้ นกรวด หนิ ตน้ ไม้ สามารถมองได้จากหลากหลาย ทิศทาง ทง้ั จากมมุ ตา่ งๆในสวน และเมือ่ มองจากชานระเบียงบา้ น ซ่ึงใช้เชอ่ื ม ต่อมมุ มองระหว่างภายในบา้ นกบั นอกบ้านได้ โดยการเลื่อนฉากบานเล่อื น ออกได้เตม็ ความกวา้ งของผนงั
12 ประเภทของสวนญป่ี ุน่ แบ่งออกเปน็ 3 ประเภทคอื 1. สวนภูเขา (Tsukiyama) เป็นสวนทล่ี อกเลียนแบบธรรมชาติ 2. สวนในที่ราบ (Karesansui) เป็นสวนแหง่ การสมมุติ 3. สวนนำ�้ ชา (Chaniwa) เป็นสวนที่น�ำ ลักษณะเดน่ ของสวนภเู ขา และสวนที่ราบมาผสมกัน ประกอบดว้ ยสวนยอ่ มเล็ก ๆ 2 ข้าง ทางเดนิ ไปสู่ เรือนน้�ำ ชา ซึง่ เป็นบ้านช้ันเดียวหลังเลก็ ๆ
สวนภเู ขา เปน็ สวนทจี่ ะจำ�ลองธรรมชาติกวา้ งใหญ่ มาไว้ในทจ่ี ำ�กัด จงึ มอี งค์ ประกอบเกอื บทกุ อย่าง ทั้งภูเขา เนนิ ดิน ทะเลหรอื น�้ำ การจัดจงึ มีมิติทก่ี ว้าง กว่า หรือเป็นสามมิติมากกว่าแบบอื่น สวนแบบนี้เหมาะทจ่ี ะน�ำ มาประยุกต์ ใชจ้ ดั สวนญ่ีปุน่ ในเมอื งไทย เพราะสามารถดดั แปลง หรอื ยืดหยนุ่ ไดด้ ี ในเร่อื ง การจดั หาตน้ ไม้ และองคป์ ระกอบอ่ืนๆมาใช้ให้ได้รปู แบบทีใ่ กล้เคยี ง
14 พันธ์ไุ มป้ ระดับ ทใี่ ชป้ ระดับในสวนแบบนี้ประกอบด้วยพันธ์ุไมห้ ลายชนดิ พนั ธุไ์ ม้ใหญ่ ต้นสน พืช พลบั โอ๊ก เมเปิล ซากุระ หลวิ ฯลฯ พันธไุ์ ม้พมุ่ เตย้ี เช่น ไผ่ อาซาเลยี ปรง ชา ฯลฯ พชื คลมุ ดนิ เช่น เฟริ ์น ไมซ้ ุม้ ตา่ ง ๆ มอส ฯลฯ พันธไ์ุ ม้น้�ำ เช่น กก บัว ไอรสิ ฯลฯ สระนำ�้ หรือล�ำ ธาร มกั จะไม่ลึกนกั ในน้�ำ ใสสะอาดนอกจากจะมองเหน็ ก้อนหนิ ก้อน กรวดทีก่ น้ สระหรอื กน้ ลำ�ธารแลว้ ยังสามารถมองเหน็ ปลาแฟนซคี าร์พหลากสี สวยงาม เม่ือมองดแู ลว้ จะเกดิ ความรู้สกึ ว่ามีชวี ติ ชีวามากข้นึ ล�ำ ธารถา้ มีความกวา้ งมากก็จะท�ำ สะพานสำ�หรับข้าม โดยใช้แผน่ หนิ สกัดทม่ี ีความโคง้ เลก็ น้อยวางพาดขวางลำ�ธาร ริมตลิ่งท้ัง 2 ฝง่ั จะฝังกอ้ นหนิ รูป ทรงสูงเอาไว้ สมมุติว่าเปน็ เสาสะพาน แต่ถา้ ลำ�ธารแคบและตนื้ หากใช้ก้อนหนิ ท่ีมผี ิวดา้ นบนเรียบวางไว้เป็นระยะ ๆ ห่างกนั พอดกี ับ ระยะกา้ วเพอ่ื ใช้เดนิ ข้ามล�ำ ธาร ริมคันตล่งิ อาจป้องกันมใิ ห้ตลง่ิ พัง โดยฝังก้อน หินก้อนใหญ่/เล็กไว้อย่างกลมกลืนเหมือนเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติหรือฝังไม้เสา กรมท้ังเปลอื กหรอื ปลูกหญ้าเพือ่ ยึดกไ็ ด้ ถ้าสระน�้ำ มขี นาดกว้างขวาง มักจะจดั ใหม้ ีเกาะอยกู่ ลางสระนำ�้ บน เกาะอาจประดับด้วยกอ้ นหนิ เมือ่ มองไกล ๆ มีรปู ร่างคลา้ ยเต่า ซ่ึงเชื่อกันว่า เป็นศริ ิมงคลแกบ่ ้าน เพราะคนญีป่ นุ่ ถือวา่ เตา่ เป็นสัญลักษณ์ของการมอี ายุยนื นอกจากนนั้ มกั จะปลกู ต้นสนไว้บนเกาะดว้ ย การปลกู ต้นไม้ ปลูกตน้ ท่ีมพี มุ่ ใบสูงเปน็ ฉากไวด้ ้านหลัง เพ่อื ไม่ใหบ้ ัง ตน้ ไม้ทม่ี ีพมุ่ ใบเตยี้ สวนญี่ปนุ่ จะไม่ปลกู ตน้ ไม้ใหญใ่ ว้ใกลบ้ า้ นเพอื่ ไม่ให้บดบงั ความงามของสวนเม่ือมองออกไปจากตัวบ้าน สขี องพันธไ์ มน้ ยิ มสีที่ไม่ฉดู ฉาด นัก โดยปกติจะเปน็ สเี ขียว ผิวดินไมว่ ่าจะเปน็ เนนิ ดนิ ในท่รี าบหรือใตร้ ่มไมส้ ่วนใหญจ่ ะมีหญ้า หรือมอสขนึ้ ปกคลมุ อยา่ งเขียวขจีเหมอื นปูดว้ ยพรม ความย่ิงใหญ่ของสวนภเู ขา อยทู่ ่เี นนิ ดนิ น้ำ�ตก ล�ำ ธาร ซงึ่ เลยี นแบบธรรมชาติอยา่ งแท้จริง คอื พืน้ ที่เป็น เกาะของประเทศญี่ป่นุ นั่นเอง โดยท�ำ การดัดแปลงและยอ่ ส่วนใหเ้ ลก็ ลง
16 สวนในทรี่ าบ เป็นสวนทจี่ ดั ข้ึนบนพ้นื ทรี่ าบ ปราศจากภเู ขาหรือเนินดนิ หรือสระน้ำ� เป็น เคร่ืองตกแต่ง เกิดข้ึนในสมยั Muromachi Era โดยนิกายเซน ซ่งึ ยึดมน่ั ใน ความสงบสันโดษ เป็นสวนแบบจินตนาการ หรอื เปน็ สวนแห่งการสมมุติ ที่แฝง ไว้ดว้ ยปรชั ญาทางธรรม จึงเน้นความเรียบง่าย สงบ มากกวา่ แบบอืน่ สวนแบบ นี้เดิมทจี ัดในบรเิ วณลานวัด ซ่งึ มกี �ำ แพงเปน็ ฉากหลงั แต่ตอ่ มาได้มีผู้นยิ มนำ� แบบอย่างไปจัดในบรเิ วณบา้ นหรอื ทพี่ กั อาศยั ซึง่ จะเหมาะกบั บริเวณทม่ี ีพ้นื ท่ี จำ�กดั เพราะไม่นิยมปลูกตน้ ไมม้ ากหลายตน้ จะมีบ้างกน็ อ้ ยต้น ถา้ เปน็ ตน้ ใหญ่ มกั จะมกี ิ่งก้านโปร่ง สว่ นไมพ้ ุม่ จะตัดแตง่ เป็นพมุ่ กลม ใหก้ ลมกลืนกับกอ้ นหิน ผู้ จัดจะตอ้ งใช้จินตนาการในการวางกอ้ นหิน การปลกู ตน้ ไม้ และการขดี ลวดลาย ลงบนพื้นทราย หรือกรวด ใหม้ องแล้ว เหมอื นคล่ืนหรือระลอกน�ำ้ ในทะเล หรือ กระแสน้�ำ ไหลของแม่น้ำ� สวนในที่ราบ ยงั แบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื สวนแบบ เขยี วชอุม่ และสวนแบบพ้นื ทีแ่ หง้
สวนเซนเป็นทีร่ ูจ้ ักกันว่าเป็น ‘สวนแห้ง’ หรอื ‘สวนหนิ มีแนวคิดในการยดึ ม่ันซึ่งสงบสนั โดษ เปน็ สวนแบบจนิ ตนาการ หรอื การสมมุติ ทแี่ ฝงไว้ดว้ ยปรชั ญาเชงิ นามธรรม จึงเนน้ ความเรยี บงา่ ย สงบ มากกว่าแบบอื่น เนน้ การตคี วามจากสง่ิ ท่ีมองเหน็ และสมั ผสั มีลักษณะภูมทิ ัศนแ์ บบแห้งที่ตา่ งออกไปจากสวนตามประเพณ ี จะไม่เลือกใช้ของท่เี ปน็ ธาตุนำ้�ใดๆ จะเลอื กใชพ้ ชื พนั ธ์ุสเี ขียวใหน้ อ้ ยที่สดุ เหมาะกับบริเวณท่มี พี ืน้ ที่จ�ำ กดั เพราะไมน่ ิยมปลูกต้นไม้มากหลายตน้ อาจจะมีตะไคร่น้ำ�หรอื พชื ขนาดเล็ก โดยสีเขยี วของพชื พันธ์ุอาจจะถกู จดั ใหบ้ ดบังไวด้ ้วยหิน โดยใชแ้ นวทางการลดทอนรายละเอียดต่างๆ จนเหลอื แต่แก่นแทข้ องสวนน้นั มีการใชก้ อ้ นหนิ เปน็ ตวั แทนของภเู ขา มีทรายและ กรวดเปน็สญั ลักษณข์ องแม่น้�ำ จะมกี ารปกู รวดหรือทราย โดยใช้หนิ กรวด ทรายสีขาวและสีด�ำ ซึ่งหินหรอื ทรายอาจถูกกวาดเปน็ ลวดลายให้เปน็ สญั ลกั ษณ์ของทะเล,มหาสมทุ ร, แม่น้ำ� หรือทะเลสาบ จะกวาดให้มองเหน็ เปน็ ภาพลวงตาของคล่นื ระลอกนำ้� เปน็ เสน้ กระแสน้ำ�ทีล่ ื่นไหล ซึง่ การทีจ่ ะกวาดเส้นใหไ้ ด้ลวดลายสมบรู ณ์แบบนัน้ ก็ไม่ใชเ่ รือ่ งง่ายๆ จงึ ถือเปน็ หนึ่งในการฝึกตนและการฝกึ สมาธิตามหลักการของพุทธศาสนานกิ ายเซนนัน้ ไปด้วยนน่ั เอง
19สวนในทร่ี าบแบบเขยี วชอมุ่(Evergreen gardens) ประกอบด้วยพื้นทรี่ าบเรยี บ ปกคลมุ ดว้ ยหญ้าหรอื มอสสีเขยี วขจีสมมตุ วิ า่ เปน็ “น้�ำ ” อาจเป็นทะเลหรือมหาสมุทร มตี ้นไม้และกอ้ นหนิ รวมกนั เป็นกล่มุ ๆ สมมุติว่าเปน็ “เกาะ” ต้นไมใ้ หญม่ นี อ้ ยตน้ และมกั จะมีก่ิงก้านโปร่ง ส่วนพ่มุ มักจะตดั แตง่ ให้เปน็ รปู ทรงกลม เพือ่ ใหก้ ลมกลนื กับกอ้ นหนิ ส่วนประกอบอ่นื ๆ ได้แก่ ตะเกียงหิน อ่างน�ำ้ แผน่ ทางเดนิ มีรั้วลักษณะโปร่งเปน็ ฉากหลัง เพ่ือใช้ประดับและแบง่ ขอบเขตของสวน บางแห่งอาจ มีบอ่ นำ�้ ซง่ึ แตเ่ ดิมมไี วใ้ ช้ เพือ่ ประโยชน์ใชส้ อย สวนในทีร่ าบแบบนี้ นิยมจัดไว้ที่ มุมใดมุมหนึ่งใกล้ๆเรือนน้ำ�ชาหรอื บ้านพัก เพือ่ ใชน้ ำ้�ในอ่างลา้ งมอื ล้างหน้าหรอื ลา้ งเท้า กอ่ นข้ึนบ้าน แต่ในปจั จบุ ันมิได้ใช้ประโยชน์เพียงแต่มีใวเ้ พ่อืเปน็ การประดับเทา่ น้นั สวนแบบนอี้ าจจะไม่เหมาะกบั สภาพอากาศของเมืองไทย เพราะรอ้ นและแล้ง การใช้หญ้าหรือมอสมักไม่คอ่ ยได้ผล เพราะตอ้ งการความชน้ื สูงและอากาศเยน็ พอมาปลูกแบบของเรามนั จงึ จะไมเ่ ขยี วชอุม่
20 สวนในที่ราบแบบแหง้ (Dry landscape gardens) สวนชนดิ น้ี สรา้ งตามปรชั ญาของนกั บวช นิกายเซน ในบรเิ วณลานวดั เพื่อท�ำ สมาธิ พิจารณาความสงบทางจิต เพ่งพิจารณารปู ธรรม(สิง่ ที่มีรูป) ของ สรรพสง่ิ ท่ีมีชีวติ หรอื ส่ิงทไ่ี ร้วญิ ญาณ มาสนู่ ามธรรม(สิ่งทีไ่ ม่มรี ูป รู้ไดท้ างใจ) สวนแบบนม้ี ีพืน้ ทร่ี าบเรียบ โรยด้วยทรายหรือกรวด สมมุตวิ า่ เปน็ “น้�ำ ” และ มกี ้อนหินวางไว้เปน็ กลุ่มๆ สมมุตวิ ่าเปน็ ”เกาะ” มกี �ำ แพงหรือบ้านเปน็ ฉากหลงั กรวดหรือทรายท่ีราบเรียบอาจใช้ไม้ปลายแหลมขีดเป็นเส้นโค้งไปมาเหมือนลูก คลนื่ หรอื ระรอกน้�ำ หา่ งกนั บา้ ง ชดิ กนั บา้ ง บางเส้นกระทบกับก้อนหนิ เมื่อมอง ดูแล้วจะเกิดความรู้สึกว่ามีเกาะหรือโขดหินโผล่ข้ึนมาจากทะเลหรือมหาสมุทร ขอ้ สงั เกตของสวนแบบนค้ี ือ ไมม่ ีตน้ ไมเ้ ป็นสว่ นประกอบ และปราศจากนำ้� สวน แบบน้เี หมาะกบั การจดั พน้ื ท่ีเล็กๆแบบสวนหย่อม หรือตามอาคารเชน่ ระเบยี ง หรือดาดฟ้าได้ และดูแลไม่ยาก
สวนนำ้�ชา เอกลกั ษณโ์ ดดเดน่ อกี สง่ิ หน่ึงของสวนญปี่ ่นุ นน้ั ก็คอื สวนน้�ำ ชา ในประเทศญ่ปี ุ่นจะมกี ารแยกห้องชงชาออกจากตวั บา้ นมาอยตู่ ดิ กบั สวนนำ้�ชา รูปแบบของสวนน�ำ้ ชาจะมคี วามถ่อมตัว มีความเรยี บงา่ ย และเปน็ ธรรมชาต ิ โดยนำ�ลกั ษณะเดน่ ของสวนภูเขาและสวนเซนมาจดั ใหผ้ สมผสานกัน มีทง้ั ตน้ ไมใ้ หญ่และสวนพื้นหนิ ในสวนน�้ำ ชาจะมีรว้ั ด้านนอกเพอ่ื แสดงขอบเขต มที างเดนิ เขา้สู่เรือนนำ�้ ชาทจี่ ะปดู ว้ ยหินสกดั แบน วางหา่ งกันให้พอดีกับชว่ งกา้ วเดิน เปน็ การป้องกันไมใ่ ห้เหยียบต้นหญา้ อนั บอบบางของสวน ผ้ทู ่ีเข้าจะตอ้ งมสี ตแิ ละมีสมาธิอยา่ งเต็มเปีย่ ม เพ่อื เตรียมตวั และจติ ใจเขา้ สพู่ ิธีการชงชาท่ีแสนสงบ
22 การค�ำ นงึ ถึงความสอดคล้อง สมั พนั ธ์ระหว่างท่วี ่าง ช่วงเวลา และ มิตใิ นการมองเห็น นับเป็นเสน่ห์อนั โดดเด่นของสวนแบบญปี่ นุ่ เลยกว็ า่ ได้ การ คอ่ ยๆเปิดเผยการรับรู้ในส่วนต่างๆในสวน ค่อยๆแสดงให้เห็นการเปลย่ี นแปลง ของทว่ี ่างทีแ่ ตกตา่ งกนั ไปในแต่ละมมุ มอง สวนญ่ีปุ่นจะเกดิ ปฏิสมั พันธ์กบั แทบ ทุกประสาทสมั ผสั ของมนษุ ย์ โดยสือ่ ผ่าน สี รปู ทรง เส้นสาย ผวิ สมั ผัสของหิน ทราย กอ้ นกรวด ไปจนถึงกลน่ิ สมั ผัสต้นสนและเกสรดอกไม้อนั ออ่ นละมุน การจดั สวนรอบๆเรือนน้�ำ ชา โดยน�ำ ลกั ษณะเด่นพเิ ศษของสวน ภเู ขามาไว้บางสว่ น และน�ำ เอาลักษณะเด่นพิเศษของสวนในทร่ี าบแบบเขยี ว ชอ่มุ มาอีกบางส่วนจัดให้ผสมผสานกนั สวนนำ้�ชาจะมรี ว้ั ด้านนอก เพือ่ แสดง ขอบเขต ทางเขา้ สวนจะมีประตรู ูปทรงต่างๆแปลกตา สวนบางแหง่ ประตจู ะมี หลังคาทม่ี งุ ด้วยแผ่นไมห้ รอื ไมไ้ ผ่หรอื หญ้าคา ทางเดนิ เข้าสู่เรือนนำ้�ชาจะปดู ว้ ย หินสกัดแบน หรือเขียงไม้ วางหา่ งกนั ใหพ้ อดีกบั ชว่ งกา้ วเดนิ เปน็ การปอ้ งกัน ไมใ่ ห้เหยยี บพื้นดนิ ซ่งึ คลมุ ด้วยหญ้าหรือมอสสเี ขยี วขจี สองข้างทาง จะจัดแตง่ เปน็ สวนประดับหิน สลบั ซับซ้อนเป็นระยะ ๆ สวนน�ำ้ ชาจะมรี ั้วด้านนอกเพอ่ื แสดงขอบเขตทางเข้าสวนจะมีประตู รปู ทรงต่าง ๆ แปลกตาบางแห่งประตมู ีหลังคา ทมี่ ุงด้วยแผ่นไม้หรอื ไมใ้ ผ่หรือ หญา้ คา ทางเดนิ เขา้ สู่เรอื นนำ�้ ชาจะปดู ว้ ยหนิ สกัดแบน หรอื เขียงไม้ วางห่างกัน พอดีกับก้าวเป็นการป้องกันไม่ให้เยียบพื้นดินซ่ึงคุมด้วยหญ้าหรือมอสสีเขียว ขจี สองขา้ งทางจะจดั แตง่ เป็นสวนประดับหิน สลบั ซับซอ้ นเปน็ ระยะ ๆ
23สว่ นประกอบท่ีส�ำ คัญมดี ังตอ่ ไปน้ี ตะเกยี งหิน ส�ำ หรบั ใช้ประดับในตอนกลางวนั และใหม้ ีแสงสวา่ งในตอนกลางคืน อ่างน�ำ้ ส�ำ หรับใช้เพอื่ ลา้ งมือลา้ งหน้าหรอื บ้วนปากก่อนเข้าพธิ ี(มกี ระบวยไมไ้ ผ่ดา้ มยาวส�ำ หรับตกั น้ำ�วางพาดไว้ที่ปากอ่าง) หนิ ก้อนใหญ่ ส�ำ หรบั ใชจ้ ับยดึ หรือสงิ่ ของระหวา่ งล้างมือ ล้างหน้า หรือบ้วนปากและสมมุตวิ า่ เปน็ “เกาะ” แผน่ ทางเดนิ วางคดเคียวไปมาห่างกนั พอดกี บั ระยะกา้ วเพื่อใช้เป็นแนวทางนำ�ไปสอู่ ่างนำ้� เรือนน�ำ้ ชา และชมความงามของสวน รวั้ ไม้โปรง่ เป็นรวั้ ไมไ้ ผห่ รอื ก่ิงไมป้ ระกอบอย่างงา่ ย ๆ ใชเ้ ป็นฉากหลงัเพื่อประดบั หรอื แบ่งขอบเขตของสวน ต้นไม้ ใช้ตน้ ไม้หลายชนดิ ตน้ ไมใ้ หญค่ วรมกี ่ิงใบโปร่ง เช่น หลิว สนญปี่ นุ่ไผ่ ไม้พุ่ม มักตัดเป็นรปู ทรงกลม หรอื รูปไข่ ใหก้ ลมกลนื กับก้อนหนิ เชน่ ชา อาซาเลีย พืชคลุมดิน ปลกู เปน็ กลุม่ ใหญ่ขา้ งกอ้ นหิน เช่น เฟริ ์น ไมซ้ ุม้ ต่าง ๆ ดา้ นหน้า ใกล้ ๆ ตะเกยี งหนิ จะมไี ม้ดัดเคราะหรือบอนไซ ปลกู ไว้ กิง่ กา้ น และใบมกั จะบงัตะเกียงหนิ ไว้บา้ งบางสวน สวนแบบน้ีบางแห่งอาจมีนำ้�ไหลหรือหยดนำ้�จากท่อไม้ใผ่ลวอ่างน้ำ�ตลอดเวลาจนมีนำ�้ ล้น บริเวณพน้ื ขา้ งอา่ งน�ำ้ จึงต้องโรยกรวดเอาไว้ เพ่อื ใหบ้ ริเวณนน้ั แลดูสะอาดตา และสมมุตวิ ่าเป็น “ทะเลหรือมหาสมุทร”
Element of Garden2 องค์ประกอบของสวนญ่ปี นุ่
26 องคป์ ระกอบของสวนญป่ี ุ่น ในสมยั ก่อนคนญ่ปี ่นุ เช่อื กันว่า ส่ิงท่ีจะบนั ดาลใหค้ นญ่ปี ุ่นมี อำ�นาจและมคี วามสขุ ประกอบด้วย ดนิ น�ำ้ ไฟ ไม้ โลหะ ดังนนั้ สว่ น ประกอบของสวนญป่ี นุ่ จะสอื่ ความหมายถึง นำ้� เกาะ สะพาน หนิ ต้นไม้ รวั้ ตะเกยี งหิน อ่างน�ำ้ ทางเดนิ ในสวน น้�ำ น้�ำ เปน็ ตน้ กำ�เนิดของชวี ติ เปน็ สิ่งท่ีชโลมใจให้เยอื กเยน็ และมี ความสุข กระแสน้�ำ มอี �ำ นาจที่จะไหลพังทลายสิ่งท่กี ีดขวางได้ กระแสนำ�้ ไหลทำ�ใหเ้ กิดเสียง เกดิ ความรู้สกึ มชี ีวติ ชีวา จงึ นิยมใชน้ ้�ำ เป็นสิง่ ประกอบ ทส่ี ำ�คญั การใชน้ ำ้�ในสวนญีป่ นุ่ กเ็ พือ่ สมมตุ วิ า่ เป็น ล�ำ ธาร หนอง บงึ สระ น้ำ� ทะเล มหาสมุทร ทีเ่ กดิ ข้นึ เองตามธรรมชาติ การจัดน�ำ้ ไวภ้ ายใน บรเิ วณสวนอยา่ งน้อยทสี่ ุดกม็ นี �ำ้ ในอ่างน�ำ้ ทีว่ างไวใ้ นสวนในที่ราบแบบ เขยี วชอมุ่ สว่ นสวนในท่ีราบพน้ื แห้ง ถงึ แมภ้ ายในบริเวณจะไมม่ ีน�ำ้ จรงิ ๆ แต่ก็ใช้กรวดหรือทรายโรยบนพื้นท่ีรายเรียบแล้วใช้ไม้ปลายแหลมขีดเส้น โค้งรอบ ๆ กลุ่มก้อนหิน ชดิ กนั บ้างห่างกนั บ้างเหมือนระรอกน้�ำ หรอื เกล่ี ยวคลนื่ ซึ่งเปน็ การใช้นำ้�โดยสมมตุ ิ การใชน้ ้ำ�เปน็ ส่วนประกอบในสว่ นญปี่ นุ่
28 น�้ำ ตก เป็นจดุ เด่นสำ�คัญของสวนภูเขา น้ำ�ตก เปน็ ธรรมชาติส่วนหนง่ึ ในการจัด สวนญีป่ นุ่ การปลกู ต้นไมไ้ มค่ วรปลกู ใหห้ นาทึบทากเกินไป ควรใหม้ แี สงสวา่ งลอดลงไปได้ บา้ งเพื่อให้เหน็ ความงามของก้อนหิน และเห็นแสงเมือ่ สะท้อนกับน�้ำ ตกในบางจดุ ลำ�ธาร เป็นทางน้�ำ ตืน้ ๆ ไหลผา่ น หบุ เขาที่คดเค้ยี วไป-มาลงส่พู ื้นทท่ี ่มี ีระดับต่ำ� กวา่ เหมอื นทเี่ กดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ รมิ ตลง่ิ และในล�ำ ธารมกี อ้ นหินขนาดใหญแ่ ละเลก็ ฝงั ไว้ เปน็ ระยะ ๆ อย่างกลมกลืน เม่ือน้�ำ ไหลผา่ นกจ็ ะปะทะกบั กอ้ นหินทำ�ใหเ้ กดิ ระอองน�้ำ กระเซ็น เป็นฝอยและอาจมีเสียงดงั ซซู่ า่ สรา้ งบรรยากาศให้มชี วี ติ ชวี ายง่ิ ขึ้น สระน�้ำ ลักษณะรปู ร่างเป็นแบบธรรมชาติ จะไม่ปรากฏรปู ร่างเปน็ สเี่ หลีย่ มหรือ วางแสดงใหเ้ ห็นวา่ เกดิ จากการกระท�ำ ของมนุษย์เลย ขอบสระหรือริมตล่งิ จะฝงั กอ้ นหิน ใหญ/่ เลก็ ไวเ้ ป็นระยะ ๆ เพอ่ื ปอ้ งกันตลิ่งพังและเป็นการประดบั ด้วย การฝังก้อนหนิ รมิ ตลิ่ง นบั ว่าเป็นศลิ ปะอกี อยา่ งหนึง่ สระน้ำ�ไม่ควรลกึ นกั ถา้ ขุดลกึ เกนิ ไปนอกจากจะทำ�ใหต้ ล่ิงพงั ได้แล้ว ยังทำ�ใหไ้ ม่สามารถมองเหน็ ก้อนหนิ กอ้ นกรวดท่ีกน้ สระ นำ�้ ในสระควรใสสะอาด ไม่มี กล่ินและไมก่ ระด้าง การไหลของน�ำ้ ลงสู่สระนำ�้ อาจไหลตามล�ำ ธารซ่ึงมแี หล่งนำ้�ตกเหมอื น เกิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ไม่มชไ่ หลจากทอ่ น�้ำ หรือกอ๊ กนำ้� การวางทอ่ สง่ น้ำ�และทอ่ นำ�้ ล้นควร ซอ่ นปลายทอ่ น�ำ้ ไว้ใต้ซอกหนิ ถ้าเลีย้ งปลาในสระน�ำ้ ควรเลอื กปลาทกี่ นิ พชื เปน็ อาหาร เพ่ือจะไดช้ ว่ ยกินตะไคร่ นำ�้ เชน่ ปลาไน หรือปลาแฟนซคี ารพ์ ซง่ึ เป็นปลาทเี่ ชื่องและมสี สี ันสดใสหลายสีสดดุ ตา ขอ้ ควรระวงั ในการเล้ียงปลากค็ ือ อยา่ ให้อาหารมากจนเกนิ ไป เพราะอาจทำ�ใหน้ ้�ำ เนา่ ได้ แตถ่ ้า ไม่เลยี้ งปลาก็ควรปลกู พชื นำ�้ เช่น บัว สนั ตะวาใบพาย หรือใบขา้ ว ซ่ึงสามารถเลย้ี งข้นึ อย่ใู ต้ นำ�้ (ต้นและใบคล้ายต้นผกั กาดสนี �้ำ ตาล) เพ่อื เพม่ิ ออกซเิ จนให้แกน่ ้ำ� ช่วยแกป้ ญั หาเร่อื งนำ�้ เนา่ เสยี ได้เป็นอย่างดี
นำ�้ พุ น�้ำ พใุ นสวนญปี่ นุ่ เป็นนำ�้ พุทไี่ หลริน ๆ เหมือนบอ่ น้ำ�รอ้ น พงุ่ ข้ึนเหนือผิวดนิ เหมือนทอ่ นำ�้ รั่ว บางแห่งไหลออกจากซอกหิน โดยซอ้ นทอ่ น้ำ�ไวใ้ ตก้ อ้ นหิน ไม่นยิ มน�ำ้ พทุ พ่ี ุ่งขึ้นสูง ๆ อย่างสวนแบบประดษิ ฐ์ โดยท่วั ไปมักจะจดั น้�ำ พไุ วท้ ่ีบริเวณใกล้เชิงเขาหรอื ใกล้ทางเดิน บอ่ นำ้� ในการจัดสวนญปี่ นุ่ อาจจัดใหม้ บี ่อน�ำ้ อยใู่ นบรเิ วณสวนดว้ ย รูปร่างของบ่อน�้ำ จะเป็นรูปเหล่ียมหรือรูปกลมก็ได้ ไมจ่ �ำ เป็นตอ้ งมรี ปู แบบตามธรรมชาตเิ หมือนสระน�ำ้ โดยมีมือหมนุ เพื่อกวา้ นถงั น้ำ�ขึน้ มาจากบ่อ แตใ่ นปัจจุบันมีไวเ้ พอ่ื ประดบั สวนมากกว่าการใช้ประโยชน์
เกาะ ถา้ เกาะมขี นาดกว้างใหญ่ มักจัดให้มเี กาะไว้กลางสระน้�ำ บนเกาะประดับด้วยกอ้ นหินใหญ่/เล็ก เม่ือมองไกล ๆ อาจเหน็ มรี ปู ร่างคลา้ ยเต่า มักเรยี กวา่ “Tortoise island” ซงึ่ เชื่อวา่ เป็นศริ มิ งคลแก่บา้ น เพราะคนญ่ีปุ่นถอื วา่ เต่าเปน็ สัญลักษณ์ของการมอี ายยุ นื บนเกาะมกั จะปลูกต้นสนโดยถือกนั ว่าตน้ สน คือสญั ลกั ษณข์ องความมั้นคงถาวร เพราะตน้ สนทนต่อความหนาวเยน็ ได้สะพาน ภายในบริเวณท่มี ลี ำ�ธารหรือเกาะ มักจะจัดท�ำ สะพานเอาไวเ้ พื่อใช้ประโยชน์ในการเดนิ ข้ามน�้ำ และใชเ้ ป็นเครื่องประดับ วัสดุท่ีใช้ท�ำ สะพานประกอบดว้ ยหนิ หรอื ไม้
31หนิ หินสำ�หรบั ประดับภายในสวนจะคัดเลือกรปู ทรงและสีเป็นพิเศษ ไม่นยิ มหินทม่ี รี อยสกัด เพราะผดิ ไปจากธรรมชาติชนิดของหินไดแ้ ก่ หนิ ทรายหินแกรนติ หนิ ชนวน หินคลอไรด์ ฯลฯ นอกจากหินก็มกี ้อนกรวดขนาดตา่ ง ๆกนั ใส่ไว้ในบรเิ วณ น้�ำ ตก ล�ำ ธาร และสระนำ้� นิยมใชก้ อ้ นหนิ ที่มีสีเข้ม เชน่ สีเทา หรือสีดำ� ทำ�ใหร้ ู้สึกวา่ มืด ๆ ทึม ๆ เข้ากับสีเขยี วของพ่มุ ไมเ้ ป็นอยา่ งดี ถ้าไมจ่ �ำ เปน็ พยายามอยา่ ใช้ก้อนหินที่มสี ขี าว เพราะจะขาวโพลงสวา่ งมากเกินไปก้อนหินต้องไมม่ รี อ้ ยตบแต่งอาจมรี ปู รา่ งแหว่งเวา้ หรอื เปน็ รูไปบา้ ง แต่ควรเปน็ลกั ษณะทเ่ี กดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติมใิ ชเ่ กดิ จากการกระทำ�ของมนุษย์ การวางกอ้ นหินในสวนไม่นิยมวางเป็นก้อนโดด ๆ อยา่ งน้อยจะตอ้ งมกี ้อนหนิ ก้อนอ่ืน ๆ ที่มีขนาดเล็กกวา่ วางไว้ข้าง ๆ เป็นสว่ นประกอบ ระยะห่างระหว่างก้อนขน้ึ อยูก่ ับขนาดของก้อนหิน ถ้าก้อนหนิ ใหญม่ ากกอ็ าจวางห่างกันหน่อย กอ้ นหินท่ีจัดวางไวใ้ นกลมุ่ เดียวกันทกุ ก้อนควรมลี ักษณะผวิ และสเี หมอื นกนั แตล่ ะกอ้ นควรมขี นาดแตกต่างกัน โดยท่ัวไปในกลมุ่ หน่งึ ๆ จะมีกอ้ นหนิ เป็นเลขคี่ เช่น 3 , 5 , 7 ฯลฯ โดยจัดเป็นรปู สามเหลี่ยมดงั กลา่ วแล้วในตอนตน้ แต่กม็ ีบางคร้งั ทวี่ างกอ้ นหนิ เพยี ง 2 ก้อน แล้วปลกู ต้นไม้อกี 1 ตน้ กจ็ ะท�ำ ใหม้ องดูแลว้ เกดิ เป็นรปู สามเหล่ียมไดเ้ หมือนกัน การประดับกอ้ นหินในบริเวณสวนควรฝงั บางสวนของก้อนหนิ ไวใ้ นดินโดยฝังส่วนทีเ่ ปน็ รอยคอดตอนลา่ งใหจ้ มลง สว่ นลา่ งของก้อนหนิ ท่รี ะดับผิวดินจะต้องเปน็ ส่วนที่มีความกวา้ งหรอื ใหญ่กวา่ สว่ นบนท่อี ยู่เหนือดนิ ขึน้ ไป จะทำ�ใหร้ ู้สกึ วา่ ก้อนหนิ กอ้ นนั้นอยอู่ ย่างแขง็ แรงมนั่ คง มลี ักษณะท่ีเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
33รปู ทรงกอ้ นหนิ ที่เป็นพน้ื ฐานในการตกแต่งสวน รูปทรงเต้ีย (low vertical) ลกั ษณะคลา้ ยดอกบัวตมู ขนาดสูงเปน็1.5 ของความกว้างทฐี่ าน ใชเ้ ปน็ จุดสนใจหรอื จดุ เดน่ ทีส่ �ำ คัญในการจดั สวนเปน็ สญั ญาลกั ษณข์ องสตปิ ญั ญา แสดงถงึ จิตรใจที่สงบและมน้ั คง คลา้ ยคนยืนใช้จัดวางในบริเวณน�้ำ ตก เปน็ สัญลกั ษณแ์ หง่ ความสงา่ งาม ลักษณะแบน (flat) สว่ นกวา้ งเวา้ เลก็ น้อยคล้ายรูปหวั ใจ ใชว้ างหนา้กอ้ นหินกอ้ นอื่นเสมอ ลักษณะโค้ง (arching) ด้านบนเรียบฐานเล็กกวา่ ดา้ นบน ใช้ประกอบเปน็ หนา้ ผา ลักษณะเอยี ง (reclining) สว่ นเวา้ วางหงายขึน้ ใช้วางหนา้ กอ้ นหนิก้อนอน่ื เสมอความสมั พนั ธร์ ะหว่างก้อนหินและน�ำ้ กอ้ นหนิ กบั นำ�้ ตา่ งกนั แตม่ นั กส็ ามารถอยดู่ ้วยกันได้ อยา่ งงดงามถอ้ ยท่ีถอ้ ยอาศัยกนั ลองนกึ ดู ถ้ามกี ้อนหินเพียงกอ้ นเดยี ว กค็ งจะแหง้ แล้ง และถา้มนี �้ำ อยา่ งเดียว มันก็คงจะเวง้ิ ว้าง เช่น ทะเลหรือมหาสมุทร แต่ถ้าหนิ กับนำ้�มารวมกัน ภาพทีเ่ ห็นจะคลา้ ยเปน็ ความชุ่มช่ืนระรนื่ ในมที ัศนยี ภาพท่ีน่าประทับใจ
34 ตน้ ไม้ สวนญ่ปี ่นุ จะใชธ้ รรมชาตเิ ป็นแกน ดงั น้ันพมั ธไ์ มท้ ใ่ี ช้ประกอบใน สวนจงึ เปน็ พนั ธไ์ ม้ทีส่ รรหามาจากปา่ ตามธรรมชาติ โดยเฉพาะต้นสนของ ญ่ีปุ่นซ่ึงมีลลี าและรปู ทรงสวยงามมากและมีมากมายหลายชนดิ ด้วยกนั พันธ์ ไม้ประกอบอนื่ ๆ กใ็ ช้พันธไ์ ม้ประเภทไม้ใบท่ีมสี เี ขียวตลอดทงั้ ปี จัดท�ำ เปน็ พุ่มใหญ่บ้างเล็กบา้ ง ตามความเหมาะสมของสถานทีแ่ ละกลมกลืนกบั ส่งิ แวดลอ้ มของสวน เชน่ น้�ำ ตก ล�ำ ธาร สะพาน ตะเกยี งหนิ แผน่ ทางเดนิ ฯลฯ บางครัง้ อาจยอ่ ส่วนของตน้ ไม้ หรือตัดใหม้ ลี ลี าสงา่ งาม เพ่ือใหเ้ กดิ ความ สมดุลในองค์ประกอบศิลปะ ทนี่ ่าสนใจก็คือ ไม่นิยมปลูกแปลงไม้ดอกไวใ้ นสวนเลย ถ้าจะปลูก แปลงไม้ดอกก็มักจะจัดสัดส่วนไว้ต่างหากแยกออกไปไม่นำ�มาปะปนกับ สวน แตส่ วนญป่ี ุน่ ไมใ่ ช่ไมม่ ีดอกไม้เสยี เลย ไมป้ า่ บางชนิดทนี่ �ำ มาปลกู เมื่อถงึ ฤดูออกดอกก็จะมีดอกทส่ี วยงามเหมอื นกัน แตก่ ม็ ีเพยี งระยะสัน้ ๆ เท่านัน้ และก็มีน้อยต้นไมม่ ากนกั เช่น อาซาเลีย เปน็ พนั ธ์ไมท้ ่ีค่อนขา้ งเลก็ หนาและ สเี ขียวเข้มลกั ษณะเปน็ มัน นำ�มาปลูกเป็นกอแลว้ ตัดแต่งใหเ้ ป็นพุ่มทรงกลม หรอื รูปไข่ เม่อื ถงึ ฤดูออกดอกกจ็ ะใหด้ อกสชี มพอู ่อนบา้ งเข้มบา้ ง และขณะ ออกดอกจะไมท่ ้ิงใบหมด ต้นไม้ท่ีใช้ประดับกรือปลูกในสวนญี่ปุ่นใช้ทั้งชนิดท่ีมีใบเล็กและ ชนิดที่มีใบใหญ่ ตน้ ไม้ชนิดทม่ี ใี บเล็กได้แก่ สนสองใบ สนด�ำ สนแดง หลวิ ไผ่ชนิด ตา่ ง ๆ ฯลฯ การใชต้ น้ ไม้ท่ีมีใบเลก็ กเ็ พ่ือตอ้ งการให้แสงสวา่ งส่องลงมาได้ ช่วย ให้พุ่มเตี้ยและพืชคุมดินในสวนล่างสามารถเจริญงอกงามตามธรรมชาติได้ตล อกปี ตน้ ไม้ชนิดท่ีมใี บใหญ่ ไดแ้ ก่ โอ๊ค พีช ซากุระ พลับ เมเปลิ ฯลฯ การใช้ ต้นไม้ทม่ี ีใบใหญ่กเ็ พื่อต้องการให้มีร่มเงามาก ๆ พืชท่คี มุ ส่วนลา่ งจะได้รับแสง สวา่ งอย่างเต็มทีใ่ นฤดทู ตี่ ้นไม้ใหญ่เหล่าน้ันผดั ใบคอื กอ่ นถึงฤดหู นาว
36 รั้ว รวั้ รอบบา้ น มีลกั ษณะรปู รา่ งต่างกนั บางบา้ นใชไ้ มไ้ ผ่ขดั แตะตลอด ทงั้ แนว บางบ้านใชว้ ัสดตุ า่ งกนั คอื ส่วนลา่ งใช้หนิ ภเู ขากอ่ โดยใชป้ นู ยารอยตอ่ ระหวา่ งกอ้ น ส่วนบนใช้แผน่ ไมก้ ระดาษวางตงั้ ไวใ้ นแนวยืน บางแห่งกอ่ ด้วย หนิ ภเู ขาทง้ั หมดเปน็ กำ�แพงหนาแขง็ แรง บางแหง่ อาจมหี ลงั คาแคบ ๆ บนรั้ว วัตถุประสงค์ของการทำ�ร้ัวรอบบ้านก็เพื่อป้องกันและแสดงขอบเขตความเป็น เจ้าของของที่ดนิ แปลงนัน้ รั้วประดับภายในบ้าน วัสดุทใ่ี ช้ประกอบสว่ นใหญเ่ ป็นไม้ใผห่ รือก่งิ ไม้ ลักษณะโปรง่ สามารถมองทะลุได้ ความงามของรั้วชนดิ นอี้ ยทู่ ศี่ ิลปะและฝมี อื ในการสานขัดเปน็ รวดลายตา่ ง ๆ ใชเ้ ชอื กสีแดงหรือสดี �ำ ผูกแทนการตอกตะปู วัตถุประสงค์ของการจัดทำ�ร้ัวโปร่วภายในบริเวณสวนก็เพ่ือแบ่งขอบเขตของ สวนและประดับเปน็ ฉากหลงั เพอื่ ความสวยงาม
ตะเกียงหนิ คนญปี่ นุ่ ทนี่ ับถอื ศาสนาชินโตมีความเคารพบรรพบรุ ุษ และธรรมชาติ มักจะจดุ ตะเกียงเพ่ือบชู าและสง่ วิญญาณบรรพบรุ ุษทลี่ ่วงลับไปแลว้นอกจากนย้ี งั มีจนิ ตนาการใหค้ วามหมายส่วนต่าง ๆ ของตะเกยี งวาเป็น สวรรค์มนุษย์ และพภิ พ รูปสามเหล่ียมที่อยู่ด้านบนเปรียบเสมือนมือท่ียกขึ้นพนมและสวดเพื่อชท้ี างไปสวรรค์ สว่ นรูปทรงกลมหมายถงึ มนษุ ย์อยตู่ รงกลางระหวา่ งสวรรค์และพภิ พ ต่อมาไดเ้ ปล่ียนสัญลักษณ์ทปี่ ระกอบดว้ ยธาตทุ ง้ั 5 ไดแ้ ก่ ธาตุ ดนิน�ำ้ ลม ไฟ และ ทอ้ งฟา้ คนญ่ีปนุ่ รนุ่ หลงั ๆ ได้น�ำ หลกั การปรชั ญานมี้ าประดิษฐ์เป็นตะเกียงหนิ ในรูปแบบต่าง ๆ ตะเกยี งหินเป็นศิลปะอยา่ งหนง่ึ สร้างขนึ้ เพ่อื ประดับเขตของวดั และเพือ่ บชู าดวงวญิ าณ นอกจากน้ยี ังใช้ประโยชน์ในการใหแ้ สงสวา่ งแก่สวนอกีดว้ ย ขนาดของตะเกยี งมตี ัง้ แตข่ นาดเล็กจนถึงขนาดใหญ่ มีลวดลายและรปูทรงต่าง ๆ เพือ่ ใหเ้ ลอื กใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม ตะเกยี งหนิ จะมีปรากฎให้เห็นในสวนญีป่ ุ่นแทบทกุ แบบจนเป็นเคร่อื งประดบั และตบแตง่ สวนจนขาดไมไ่ ด้ วัสดุทีใ่ ช้นอกจากจะทำ�ด้วยหินสกดั แล้วในระยะหลงั ๆ ยงั ท�ำ ดว้ ยไมห้ รอื หลอ่ ด้วยโลหะชนิดตา่ ง ๆ แสงสวา่ งภายในตะเกยี งไม่นยิ มแสงทส่ี ว่างจ้านกั สว่ นมากจะใชแ้ สงเทียนหรือตะเกยี งน�้ำ มัน
38 อ่างน้ำ� อ่างนำ�้ ทีป่ ระดับอยู่ในส่วนญป่ี นุ่ และใชป้ ระโยชนจ์ ากอ่างน�้ำ จริง ๆ มกั จะตั้งอยทู่ ม่ี ุมใดมุมหน่ึงของเรอื นน�ำ้ ชา เพ่อื ใหแ้ ขกผ้ทู รงเกียติไดล้ ้างมือ หรอื บว้ นปากก่อนเขา้ พธิ ชี งชา หรือตง้ั ไวใ้ กล้ ๆ ตวั บ้านเพ่อื ใช้ล้างมือหรอื ลา้ งเท้ากอ่ นเขา้ บ้าน แตป่ ัจจบุ ันอา่ งน�ำ้ ได้กลายเปน็ เครือ่ งประดับโดยไมไ่ ดใ้ ช้ ประโยชน์ คงมีใวเ้ พือ่ รักษารปู แบบและวัฒนธรรมเทา่ นัน้ ทางเดินในสวน ทางเดนิ ในสวนญี่ปนุ่ นอกจากถนนดินหรอื ถนนท่โี รยด้วยกรวดแลว้ ญ่ีปนุ่ ยงั จดั ทางเดนิ โดยวางแผน่ หนิ ในแบบตา่ ง ๆ อีกดว้ ย เช่น STEPPING STONES การวางแผ่นทางเดอนในแบบน้ี จะวางให้ห่างกนั พอดกี ับระยะก้าว การวางจะวางคดโค้งไปมาเหมือนเกดิ ขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือน�ำ ไปชมความงามของสวนหย่อมหรือสวนประดับหิน ณ จุด ตา่ ง ๆ ภายในบริเวณสวน บังคบั ให้ก้าวเดินในเสน้ ทางน้นั และปอ้ งกันไม่ให้เหยยี บสนามหญา้ หรือมอส เปน็ ทางเชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งสว่ นต่าง ๆ น�ำ ไปส่อู ่างน�ำ้ และเป็นขั้น บนั ไดสู่เนินดิน PAVED WALKS การวางทางเดินในแบบน้ี ใชแ้ ผ่นหินรูปร่างตา่ ง ๆ ปสู ลบั เปน็ ลวดลายอย่างสวยงาม บางแบบมีขอบซเี มนต์เพ่อื กันไมใ่ หก้ ้อน กรวดกระจายออกไปด้านนอกหรอื แนวทกี่ �ำ หนด ทางเดินในลกั ษณะนมี้ ักใช้ ในสวนที่มขี นาดใหญม่ ีพ้นื ที่กว้างขวาง โดยปลู าดไปยังสว่ นต่าง ๆ ของสวน หรือปลู าดไปยังสว่ นตา่ ง ๆ ของสวนหรอื ปูลาดรอบตัวบา้ น หรือเรอื นน้ำ�ชา บรเิ วณใตช้ ายคา เพอ่ื ป้องกันน้�ำ ฝนทไี่ หลลงมาให้กัดเซาะสนามหรือพนื้ ดิน รอบ ๆ บา้ นและใชเ้ ป็นทางเดินรอบบ้านอกี ด้วย
Garden Arrangement3 การจัดสวนญี่ป่นุ
42 15 บญั ญัติ จดั “สวนญีป่ ุ่น” 1.ตอ้ งมีทางเขา้ สวน คณุ อาจใชเ้ พยี งไม้ไผ่กัน้ เป็นรั้วหรือซุ้มทางเขา้ แบบ งา่ ยๆ เพ่ือแบ่งแยกสว่ นท่ีอยภู่ ายนอกสวนกบั ส่วนทอ่ี ยู่ดา้ นใน 2.จดั วางใหม้ คี วามลกึ ลบั เอกลักษณ์สำ�คญั ของสวนญป่ี นุ่ คอื การจดั สวน ท่คี ณุ ไมส่ ามารถมองเหน็ สวนได้ในคราวเดียวทงั้ หมด อาจจะตอ้ งมีเสน้ คดเคี้ยวเพอ่ื นำ�สายตาใหค้ ณุ เดนิ ไปส่จู ดุ อน่ื ๆ ของสวน อาจจะมีเจดียห์ นิ ฯลฯ วางตกแตง่ อยู่ ภายในสวน 3.ปลกู มอส การปลูกมอสทีพ่ ้นื จนพนื้ สวนเปน็ สีเขยี ว จะยงิ่ ช่วยเพิม่ ความ รม่ รืน่ ใหก้ ับสวนญปี่ ุ่น และเพราะมันไม่ทนตอ่ แรงเหยียบย�ำ่ ดังนนั้ คุณอาจวางก้อน หนิ เปน็ ลำ�ดบั ชั้นไว้บนผืนมอส แล้วพน้ื สวนของคุณก็จะไม่ไดร้ บั ความเสียหาย 4.สรา้ งศาลาไว้ในสวน สวนสไตล์ญป่ี ุน่ น้นั คุณจะตอ้ งมีการสร้างศาลาจาก ไมไ้ ผ่หรอื ไมต้ ้งั ไว้ในสวน เพ่ือให้เจา้ ของสวนหรอื ผ้ทู ีม่ าเยยี่ มบ้านได้นงั่ ชมทศั นียภาพ ของสวน 5.โคมไฟรปู เจดยี ์ ติดตั้งโคมไฟรูปเจดยี ์ที่มีลักษณะเปน็ เสาไว้ในพืน้ เพื่อ ความสวยงามยามค�ำ่ คืน 6.เพ่มิ ผิวสัมผัสที่หลากหลายภายในสวน ท�ำ สวนญ่ปี นุ่ ให้น่าสนใจขนึ้ ด้วย การปลกู ต้นไมส้ ีเขม้ หรอื ใบหนาไว้เปน็ ฐาน กอ่ นจะล้อมรอบดว้ ยพันธไ์ุ มท้ ี่มลี กั ษณะ ใบนมุ่ ๆ 7.ตัดแตง่ โครงสร้างตน้ ไมใ้ ห้สวยงาม ต้นไมใ้ นสวนญี่ป่นุ มักมกี ารดดั ใหม้ ี รูปทรงตามตอ้ งการ เพ่อื ใหส้ วยงามและตอบรับกบั ส่งิ อ่นื ๆ ภายในสวน 8.ปอ้ งกันตวั เองจากวิญญาณร้าย ตามความเชือ่ ของชาวญีป่ ่นุ พบว่าทาง เดนิ คดเค้ยี วภายในสวนจะชว่ ยป้องกนั วญิ ญาณชัว่ รา้ ย ดังนน้ั ทางเดินคดโค้งไปมาจึง เปน็ เหมือนกับดกั ปอ้ งกนั 9.แบ่งพืน้ ที่ในสวนเป็นเกาะ เกาะเลก็ ๆ กลางสวนจะชว่ ยเพ่มิ พ้ืนท่ีการพกั ผอ่ นใหก้ ับสวนญ่ปี นุ่ นอกจากนี้ยงั พบว่าจะมีการสร้างสะพานโค้งไปยงั เกาะนนั้ ดว้ ย 10.เลยี้ งปลา เป็นอีกหนง่ึ สง่ิ สำ�คัญของสวนญป่ี ุ่น ทั้งปลาคราฟ ปลาทอง จะชว่ ยสรา้ งความเพลิดเพลินใหก้ ับสวนญ่ีปุ่นได้เปน็ อย่างดี
11.ปล่อยอารมณ์ไปกบั การไหลของน้�ำ เสียงน้�ำ ไหลจากน�้ำ ตกภายในสวนช่วยให้บรรยากาศของสวนดขี ึ้น 12.ทอ่ ไม้ไผ่ อุปกรณท์ ่อไม้ไผต่ ักน้�ำ ท่เี รามกั เหน็ กันนน้ั เป็นภูมิปัญญาของชาวญปี่ นุ่ ที่ทำ�ขึ้นเพือ่ ไลไ่ ม่ใหก้ วางเขา้ มาใกล้สวน เมอ่ื น�ำ้ ไหลลงในทอ่ ไม้ไผจ่ นน�ำ้ หนกัเต็มทไ่ี ม้ไผ่ก็จะกระดกโดนกอ้ นหินจนเกดิ เสยี งดังทำ�ใหก้ วางรอบๆ สวนกลวั ไม่เข้ามารบกวน 13.ล้อมด้วยไม้ไผ่ นอกจากไมไ้ ผ่จะใชเ้ ป็นตน้ ไมป้ ลูกประดับในสวนแลว้ ยังมีประโยชนใ์ ชล้ อ้ มร้วั ภายในสวนได้อีกดว้ ย 14.สวนกรวดทีส่ วยงาม บางพืน้ ที่ในสวนญีป่ ุน่ จดั เปน็ สวนกรวดทีส่ วยงามได้โดยจะออกแบบเปน็ รูประลอกคลื่น ซึ่งเป็นลกั ษณะอย่างหนึง่ ของสวนแบบเซนหรือสวนญปี่ นุ่ ชว่ ยสื่อความคิดท่ลี ึกซึ้งและดูแลรกั ษางา่ ย 15.จัดวางหนิ เป็นล�ำ ธาร สวนญป่ี ุ่นนิยมจัดวางหินเป็นเส้นคดโคง้ คล้ายลำ�ธาร โดยนยิ มใช้หนิ แมน่ �ำ้ ท่มี สี เี ทามาจัดวางเพ่ือลวงตาให้มีลกั ษณะคล้ายนำ้�ไหล
Search