Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Land Art

Land Art

Published by Kachornpon, 2020-07-09 01:22:10

Description: Land Art_13590586_อรรจน์ทสร_ใจหลัก_FM

Search

Read the Text Version

Land art the hidden world

Inspirational Design

synergy Martin Hill Raupo stems (bulrush) , linen threads 1300 mm height 2009 lake wanaka ,new zealand

Pretace หนังสือเลม น้ี เปน สว นหน่ึงของวิชามนุษยก บั ศิลปะ ( Man and Art ) รหสั วิชา 082101 - 54 ซึ่งไดจัดทำขึ้น เพ่อื ความรูทางการศึกษาในเรอื่ ง “ภูมิศิลป” ( Land Art ) ท้ังประวัตคิ วามเปนมา ขอ มูลทั่วไป ของงานศิลปะ และ ตัวศลิ ปน ผูจ ัดทำหวงั วา หนงั สอื ฉบับนี้จะเปนประโยชนต อ การเรียนรู และการศึกษาเปน อยา งมาก หากมีขอบกพรอ ง ประการใด ผจู ดั ทำขออภัยไว ณ ทีน่ ี้ดว ย อรรจนทสร ใจหลกั ผูจัดทำ

Contents 1 Introduction (1-4) 2 History (5-8) 3 Artist (9-10) - Andy Goldsworthy (11-18) - Richard long (19-26) - christo and jeanne claude (27-34) - martin hill (35-42) 4 Synopsis (43-44) 5 bibliography (45-48) sunrise circle martin hill

1 Introduction

มารูจกั กันเถอะ Jim Denevan’s Land Art หากจะพดู ถงึ “Land Art” กับคนไทยแลว ผมเช่ือวามีเพียงไมกี่คนเทา นัน้ ที่รจู ัก ผมกเ็ ปนคนนงึ ครับ ท่ีไมเ คยรจู ักเลย แตพ อไดลองเรียนรู กลับรูสกึ วา Land Art เปนงาน ศลิ ปะทีน่ าสนใจมากๆเลย ทส่ี ำคญั มันอยรู อบตวั เรา และเราสามารถสรางมันเองได ยอ นไปถงึ ตอนทกุ คนยังเปนเดก็ อยู การกอ กองทรายท่ีชายหาด ถือวาเปนอะไรท่ี สนกุ ที่สดุ แลว ในตอนนั้น หารูไม น่ันแหละ คือ Land Art ช้ินโบวแดงของแตล ะคน แตม นั พลาดทเ่ี ราไมไดถ า ยรปู เก็บเอาไว แตผมกจ็ ำไดน ะครับ งาน Land Art ลา สุดทผี่ มไดบันทึก ภาพไว ถาจำไมผ ดิ ก็ตอนมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 แหละครับ ผมไดส รางงาน Land Art ชน้ิ หนึ่งไว ซึง่ เปน ความบงั เอิญครับ ทเี่ รียนศลิ ปะสนี ำ้ มัน แลวงานไมแหงสนทิ ทำใหตองออกไปผ่งึ แดด 2

กวา 4 ป ท่ีผลงานช้ินเกดิ ข้นึ ไมม ี ใครรจู กั มนั ถา จะทำใหเ หมือนศลิ ปน เราจะ ตอ งตง้ั ชอื่ ผลงานสินะครบั งั้นผมตัง้ เลยละกัน “ The oil on the glass ” I ,II ,III ( นำ้ มันบนผืนหญา ๑ ,๒ ,๓ ) แลว คุณละ เคยสรางงาน Land Art แลวหรอื ยงั ? พอจะกระจางแลวใชไ หมครบั วา Land Art จรงิ ๆแลว เปน ศลิ ปะ ประมาณไหน ง้นั ผม จะอธบิ ายใหล ะเอยี ดอีกครง้ั นะครับ Land Art เปนงานศิลปะทีเ่ ริ่มตนขึน้ ในราวครสิ ตศกั ราช 1960 - 1970 โดยมนี ยิ ามสำคัญ คือ Land Art คอื ความสัมพนั ธจ ะหวา งภมู ทิ ศั น กับงานศิลปะ ท่รี วมกนั ไดอ ยา งกลมกลืน และลงตวั โดยเนน ท่ีตัวภูมิทัศนวา เปนปจจยั ทกี่ อ ใหเกิดผลงานทางศิลปะ ซงึ่ งาน Land Art สวนใหญ จะตง้ั อยไู กลบานเมอื ง และถกู ปลอยทิ้งไวตามธรรมชาติ แตก ม็ ีงาน บางสว นท่ีถกู ตดิ ตัง้ ไวช ่ัวคราวเทา นั้น เพราะอาจจะมผี ลตอ การใชชวี ติ ของมนุษย หรือธรรมชาติ 3

ดวยความท่เี ปน งานศลิ ปะทเี่ ขา ถงึ กับคนทุกคนได และใครกส็ ามารถทำได เพยี งแคมี ธรรมชาติ หรือส่งิ แวดลอ ม เมอื งไทยเราก็มนี กั ภูมศิ ิลปอ ีกดว ย หลายคนก็อาจจะไมรูจักครับ แตผม คิดวาการนำเสนอศิลปน ไทยกอน เราอาจจะเห็นแนวคดิ ทใี่ กลตัวเรามากกวา และถอื เปน การให เกียรตศิ ลิ ปน ดว ยครบั ชอ่ื ของเขาคือ “พิน สาเสาร” ศิลปน วยั 35 ป ศษิ ยเ กาจากร้วั มหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรวิโรฒ ประสานมิตร ทสี่ ำคญั เขาเคยเปน คนตนเรอ่ื ง ของรายการ คนคนคน อีกดว ย เขาไดสรางงาน ชื่อวา “เสยี งพิน” ตอนนง้ี านภมู ศิ ลิ ปของเขาอยบู รเิ วณนาของ เมืองพทั ยา แรงบันดาลใจของเขามาจากที่อดตี เขาเปนชาวจงั หวดั รอยเอด็ เหน็ ธรรมชาตเิ สียสมดุล และชาวบา น ปว ยเปน โรคมะเร็ง เพราะการใชปุยเคมี เขาเลยตดั สนิ ใจทจ่ี ะทำงานน้ี เพือ่ แสดงใหเห็นถึงความ สวยงามของธรรมชาติ และการใชเ ครือ่ งมือทเี่ ปนมิตรตอสิ่งแวดลอมอยา งถกู ตอ งตามหลักจรงิ ๆ พิน สาเสาร แบบรา งงานภูมิศิลป ภูมิศลิ ป : เสยี งพนิ 4

2 History

ทมี่ าของเรา ในชว งแรก Land Art ใชเ ปน ปรัชญาของงานศลิ ปะทม่ี ีวตั ถปุ ระสงคใ นการตอ ตานงานศิลปะ ทก่ี ลายเปนส่งิ ผดิ ธรรมชาติ และเปน งานคาขายกนั จนเกนิ หนาเกนิ ตวั ทเี่ กิดขึ้นในสหรฐั อเมริกาใน ปลายครสิ ตศกั ราช 1960 ผูถ อื ปรชั ญาน้ี จะพยายามเพิกเฉยตอ การแสดงผลงานทางพพิ ิธภณั ฑ ตาม แบบงานศิลปะลัทธอิ น่ื ๆ และพยายามจะสรางงานในภมู ทิ ัศนข นาดใหญโตมหึมาเพ่อื ไมใ หเ กิดการซอ้ื ขายกนั ไดใ นตลาดของงานศลิ ปะท่วั ไป แตภายหลงั ยุคนี้ศิลปะชนดิ นี้ กม็ ที ั้งแบบใหญโ ต และขนาดเล็ก ตามแนวงานของศิลปนแตล ะคน โดยพน้ื ฐานแลว Land Art มที ม่ี าจากลทั ธจิ ลุ นยิ ม (Minimalism) และศิลปะเชิงมโนทัศน (Conceptual Art) Dillingen Serra by Richard Serra 6

ลัทธิจุลนิยม (Minimalism) งานศิลปะท่ถี กู ตัดทอนรายละเอียดใหเปนแครูปรา ง รปู ทรง เพลง หรอื แมแ ตภาพยนตร ทด่ี งู า ยๆ แตกลับสงผลตออารมณ และความรูสึกของผูชมมาก โดยเปน ศิลปะ ทส่ี ามารถอยูไดในหลายแขนง อาทเิ ชน จติ รกรรม ประติมากรรม คีตกรรม ฯลฯ Maurizio Cattelan View of the exhibition KAPUTT, 2013 ศลิ ปะเชงิ มโนทัศน (Conceptual Art) ลทั ธินี้ มคี วามคิดวาความคิดในการสรางงาน ยอ มสำคญั กวาความงาม และวัสดุในการใชง าน เปน งานศิลปน ทถ่ี า ยทอดความคิดที่เปน นามธรรม ใหอ อกมาเปน รูปธรรมทส่ี ุด โดยไมค ำนึงถงึ ความถูกตอ งตามหลักความเปน จรงิ อาจเรยี กไดอีกอยาง วา ศิลปะการจัดวาง 7

ภมู ิศลิ ปมีตนกำเนิดจากงานศลิ ปะของศิลปนชาวอเมริกันเชือ้ สายญีป่ ุน อิชะมุ โนะงชุ ิ ทน่ี ิวยอรก ในป ค.ศ.1941 ตอนนั้นตัวศลิ ปน เอง กไ็ มไดเรยี กงานนว้ี าเปน ภมู ิศลิ ป เพราะมันเปนแค แบบรางของสนามเดก็ เลน ทีส่ ุดทายก็ไมไ ดส รา งข้ึนจริง เพราะทางรัฐบาลเห็นวา มันอันตราย ภายหลงั ภมู ิศิลปก ็พฒั นาอยา งรวดเร็ว ดว ยกลมุ วยั รุน อายุราวๆยี่สบิ ป เผ่อื ตอตา นอทิ ธพิ ล และนยั ทางการเมอื งทีแ่ ฝงอยูใ นศลิ ปะแบบอื่นๆ แตทำเพ่อื การอนรุ ักษสง่ิ แวดลอมี isamu noguchi Contoured playground ภายหลงั เกดิ การรวมตวั ของศิลปนในลทั ธนิ ้ี เรยี กวา “ขบวนการธรณศี ิลป” ซ่งึ เรม่ิ ตน ขึน้ ในเดอื นตุลาคม ป 1968 โดยการแสดงงานศลิ ปะมูลดนิ (Earthwork) ที่หอศิลปค วานในเมอื งนิวยอรก และในป 1969 ไดม ีการจัดข้ึนอีกครั้ง เพ่อื รวมศิลปนในลัทธนิ ีอ้ ีกมากมาย โดยศิลปะชนดิ นีม้ คี วาม เกีย่ วขอ งกับศลิ ปะจลุ นยิ ม และศลิ ปะสมถะ ตรงที่ถือวาวสั ดุท่ีไมสามารถมาสรางงานศิลปะได กลับมี คณุ คา และแสดงออกมาเปน งานศิลปะท่มี ีความสมดลุ และลงตัว 8

3 Artist

ศิลปนในลัทธิ Andy Goldsworthy rICHARD LONG christo and robert smithson jeanne claude DAVID NASH james turrell 10

ice star 1987 Andy Goldsworthy

1 Andy Goldsworthy

Biography Andy Goldsworthy เกิดท่ี เชชเชอร ประเทศองั กฤษในวนั ท่ี 26 กรกฎาคม ค.ศ.1956 เปน ประตมิ ากร ชางภาพ และนักตอ สูเพอื่ สง่ิ แวดลอม เขามีช่ือเสียงมาจากเปนศลิ ปนสรางงานภมู ศิ ลิ ป เขาศกึ ษาที่ Bradford School of Art (1974-1975) และ Preston Polytechnic (1975-1978) และไดทำ งานศิลปะทางดานสิง่ แวดลอ มทัง้ ในชนบทและในเมือง ปจ จบุ นั อาศัยอยใู น สกอตแลนด ในชว ง 25 ปท ่ผี า นมา Goldsworthy ไดร ับชื่อเสียงอยางมากสำหรับ งานชั่วคราว และงานติดตัง้ ถาวรของเขา ซึ่งเปน ตัวบง ชีถ้ ึงลกั ษณะเฉพาะของ สถานที่ ศิลปนทำงานรวมกบั วัสดุธรรมชาติ เชน ใบไม ทราย น้ำแข็ง และหิน ซง่ึ มกั มาจากพืน้ ทใี่ นทองถ่ิน เขาไดจดุ ประกายงานศิลปะจากการที่เขาเคยทำงานในฟารม และงาน ของเขาคอื การขดุ เกบ็ มันฝรง่ั มันทำใหเขาเหน็ กระบวนการการทำงานทเี่ ปน จังหวะๆ ของการกองมันฝรัง่ ซึ่งมันดูคลา ยงานประติมากรรมเปนอยางมาก 13

หลงั จากจบมหาวทิ ยาลัยแลว โกลดสเวริ ทธีกย็ า ยไปอยทู ย่ี อรคเชอร, แลงคาสเชอร และตอ มาคมั เบรีย ในป ค.ศ. 1985 โกลดสเวิรทธีกย็ า ยไปอยู ทีแ่ ลงโฮลม ที่ ดัมฟรีสแ ละกาลโลเวยในดัมฟรสี เ ชอรในสกอตแลนด และปตอมาท่เี พนพอนท กลาวกนั วาการยา ยไปทางเหนือข้นึ เรอื่ ยๆ อาจจะมีสาเหตมาจาก “วิถชี ีวติ ที่ไมอยูใ นความควบคมุ ของ[โกลดสเวิรท ธ]ี ” แตกเ็ ปนเหตผุ ลบางสวนท่ีประกอบกับความตองการทจี่ ะไปทำงานในบริเวณ ท่ีเหมาะกับ “สถานะทางเศรษฐกจิ ” ในป ค.ศ. 1993 โกลดส เวิรทธีก็ไดรับปรญิ ญาเกียรตินิยมจากมหาวิทยาลัย แบรดฟอรด ในปจ จุบันโกลดสเวริ ทธเี ปน ศาสตราจารยอ ยทู ีม่ หาวิทยาลยั คอรเนลล ในป ค.ศ. 2001 ทอมสั รีเดลิ สไ ฮเมอรก ำกับภาพยนตรเ กี่ยวกบั ชีวติ , ปรัชญาการสรางงานศิลปะ และ งานศลิ ปะโดยโกลดส เวริ ท ธี ช่อื “Rivers and Tides” river and tides : Andy Goldsworthy Working with Time (2001) documentary film 14

SHEEPFOLDS Inside Sheepfolds เปน โครงการประตมิ ากรรมท่ีเกดิ ข้นึ ตั้งแตป 1996 จนแลวเสรจ็ ในป 2003 เขาได รวมงานกับ the Sheepfolds of Cumbria county เพื่อบรู ณะคอกแกะท่อี ยใู นสภาพท่ี ทรดุ โทรม โดยสรา งใหมใหส ิง่ ปลูกสรางนัน้ ดำรงอยูตอไป เพื่อแสดงใหค นรนุ หลังเหน็ วา ดนิ แดนตรงนี้ กอนเคยเปนฟารม และพน้ื ที่ทำมา หากนิ ขนาดใหญ และการที่ Goldsworthy เคยทำงานในฟารม ทำใหเ ขาเขาใจลักษณะ และ วัตถุประสงคข องงานศลิ ปะช้ินน้ไี ดดี โดยตงั้ อยู ในสกอตแลนด ถึงยอรก เชยี ร งานช้นิ น้ตี งั้ อยตู ง้ั แต กลางศตวรรษท่ี 19 มกี ารเปล่ียนแปลงถงึ 22 ครง้ั และมแี กะมากถึง 11 รนุ ดว ยกนั 15

Three Cairns “Three Cairn”เปนงานศลิ ปะโครงการใหญท ส่ี ดุ ในโลกตะวนั ตกของ Andy Goldsworthy แคนสคอื โครงสรา งหนิ รูปไข ทีท่ ำจากหนิ แหง เปนผลงานทีไ่ ดแ สดงถงึ ความสำเร็จทางวิศวกรรม และความคดิ สรา งสรรคท างศลิ ปะ การจดั วางกอ นหินใหเปน รปู วงรที ่ดี ูเรียบงา ย เปน เรื่องท่ที าทายและเขมขน มากๆ งานช้ินนี้ ยังแสดงใหเ หน็ ถึงความพยายาม ความอดทน การใชเวลาท่ยี าวนานของศิลปนในการ สรา งสรรคผลงาน โดย Goldsworthy จัดทำงานชน้ิ น้ีขน้ึ ที่ สหรฐั อเมรกิ า ในชวงป 2001-2002 งานชนิ้ นี้เคยทำขึน้ แลวในประเทศออสเตรเลยี ป 1997 บนเกาะเฮอรร ง่ิ ซึ่งยงั เปนฉบบั ทก่ี ารจดั วาง ของหินแลว ยังดไู มสมบรู ณ Cairns 16

Arch at goodwood เปน งานประตมิ ากรรมซมุ หินทราย ท่ใี หญท่สี ุดชน้ิ หนง่ึ ของ Andy Goldsworthy โดยกอ นทเี่ ขาจะมาสรา งซุม นี้ เขาเคยมปี ระสบการณใ นการ สรางซุมหมิ ะ และน้ำแขง็ ระหวางท่ีพกั อาศัยของชาวเอสกิโม ในป 1982 ซมุ ที่ทำขึ้น เปนซุมทีก่ าวขา ม ice arch กำแพงยาวช้นิ หนง่ึ ซึง่ เปนประตมิ ากรรม 1982 ทส่ี รางโดยนกั โทษสมัยชวงสงคราม นโปเลียน ซึ่งคนเหลา น้ถี ูกบงั คับใหสราง งานชน้ิ นขี้ ึน้ เพียงเพราะคนชัน้ สงู มองวา ไดอ อกกำลัง ซ่ึงดกี วาการถกู คุมขงั เฉยๆ ความแตกตางระหวางซุมหนิ ทรายสชี มพู ออน กับกำแพงสเี ทาทบึ ทำใหเกดิ ประตมิ ากรรมท่แี ข็งแกรง และสวยงามเปนอยา งมาก 17

Rowan Leaves and Hole งานภมู ศิ ลิ ปชนิ้ นี้ ค.ศ.1987 โดยใชว ัสดุที่พบในส่งิ แวดลอมตามธรรมชาติดงั ท่ีศลิ ปน เห็น งานศลิ ปะชิ้นน้ี มคี วามพิเศษคือ ใบไมร ว งท่ีเรยี งสี แสดงถึงวงจรชวี ติ ของ มัน ตั้งแตส ดจนเปอ ยเนา ทเ่ี กิดขึน้ ตามธรรมชาติอยา งตอเนอ่ื ง การแสดงหลมุ ดำอยู ตรงกลางทำใหผชู มไดคดิ ตาม และแสดงถอื วงจรทน่ี อกเหนอื จากความเปนจริง ศิลปนปลอยใหง านภมู ศิ ิลปช ิน้ นเ้ี ปนไปตามธรรมชาติ เพอื่ ดำเนนิ ตามแนวคดิ การ เวียนวายตายเกดิ ตามทีศ่ ลิ ปนตองการทีจ่ ะสอ่ื จรงิ ๆ 18

a circle in antarctica 2012 richard long

2 RICHARD LONG

Biography Richard Long เกดิ เมือ่ วันที่ 2 มิถุนายน ค.ศ. 1945 เปน ชาวอังกฤษ และเปน หน่งึ ในศลิ ปน ท่รี จู กั กนั เปนอยา งดีในประเทศอังกฤษ Long เปน ศิลปนเพยี งคนเดียวทไ่ี ดร ับการเสนอช่อื เขา ชงิ รางวัล Turner Prize ถงึ สคี่ ร้ัง เขาไดร ับการเสนอชอ่ื เขา ชิงในปค .ศ. 1984, 1987 และ 1988 และ ไดร บั รางวัลในป 1989 ดวยงาน White water line ซ่งึ เปนงาน Installation art เปน ศลิ ปะอีกแนวนึงทีเ่ ขากถ็ นัดเชนกนั white water line 21

เขาอาศยั และทำงานใน Bristol ซงึ่ เปนเมอื งท่เี ขาเกดิ มา เขาเคยเรียนท่โี รงเรียนศิลปะ Saint Martin กอนท่ีจะไปทำงานโดยใชส่อื ตางๆ รวมถึงประตมิ ากรรมการถา ยภาพ และตัวอกั ษร งานของเขาคือการแสดงผลงาน ถาวร ในสหราชอาณาจักรท่พี พิ ธิ ภณั ฑ Tate , Bristol City และหอศิลปร วมทงั้ หอศลิ ปใ นอเมรกิ า สวติ เซอรแ ลนด และออสเตรเลีย หลายผลงานของเขามพี ้ืนฐานมาจากการเดินเลน ที่เขาทำขน้ึ รวมท้ังรปู ประตมิ ากรรมธรรมชาติ เขาใชส อ่ื การถา ยภาพ ขอความ และแผนท่ภี มู ิประเทศ ทเี่ ขาเดินผาน ภมู ทิ ศั นจะมกี ารเปลย่ี นแปลงโดยเจตนาในทางใดทางหนึ่ง เชน A Line Made by Walking (1967) และประติมากรรมบางครงั้ ถกู สรา งข้นึ ในแนวนอน จากหนิ หรอื วสั ดุทพ่ี บคลายกนั นอกจากการเทคนคิ การใชวสั ดุ และถา ยรปู แลว ชน้ิ อ่ืน ๆ ประกอบดวยภาพ หรอื แผนที่ของภมู ปิ ระเทศทีไ่ มม กี ารเปลย่ี นแปลง พรอ มกบั ขอความท่ีระบสุ ถานที่ และเวลาของการเดนิ ที่ระบไุ ว A Line Made by Walking (1967) 22

Small White Pebble Circles นี่คือประติมากรรมประกอบดวยวงกลมลอมรอบกนั 5 วง ซ่ึงใชวัสดุ ของกอนกรวดหนิ ออ นสขี าววางอยบู นพ้นื วงแหวนมีความกวา ง 10 เซนตเิ มตร และหา งออกไป 10 เซนติเมตร แผอ อกมาจากเสนผา นศูนยก ลางประมาณ 20 เซนติเมตร วงกลมดานนอกมเี สนผานศูนยก ลาง 2 เมตร เพือ่ ใหง านน้ี กอนกรวดขนาดประมาณเทา ๆ กัน (กวางระหวาง 15 ถงึ 25 เซนติเมตร) จะถกู เทลงในหนึง่ ชั้น หรือสองช้นั ระหวางวงกลมท่หี อ ยลงบนพื้น และทำใหพื้นผิวเรยี บขน้ึ ดวยปลายนว้ิ Long ไดระบุวา ควรมคี วามหนาแนนของหนิ ในแตละวง โดย เขยี นคำแนะนำในการตดิ ตั้งของเขาวา \"งานท้งั หมดควรมีลักษณะสมดุล และเปนวงกลม\" (Small White Pebble Circles certificate, gallery gallery, Tate Archives, London) 23

sahara circle วงกลมซาฮารา แสดงใหเห็นวงกลมทีส่ รางจากองคป ระกอบของสภาพ แวดลอ มของเขาในการเดินทางไปแอฟริกา ในพื้นทขี่ องทะเลทรายซาฮารา ที่ แสดงในภาพนี้ทะเลทรายมีลักษณะเปน ดินสนี ำ้ ตาลแดง และโขดหิน แทนที่จะเปนเนนิ ทรายสที อง ซึง่ งานช้ินนีไ้ ดอ นญุ าตใหศิลปน ท่ีจะทำใหแ หวน ของหนิ รอบพื้นที่วงกลม มหี ินหกั ทเ่ี ปลี่ยนแปลงเปน ทรายสีนำ้ ตาลละเอยี ด ไมชดั เจนวาภาพพ้ืนผิวทเ่ี ปลีย่ นแปลงบนพนื้ ผิวโลกนเ้ี ปนผลมาจากกจิ กรรม ขนาดใหญข องศิลปน หรอื ไมวาจะมกี ารเปลี่ยนแปลงอยางกะทนั หันหรือไมก ็ตาม ตามปกติในภาพวงกลมในแนวนอนภาพเปนศนู ยกลางในวงกลมเหนอื ขอบฟา ในภูมิทศั นทสี่ มบูรณแหงแลง Long ผลติ ภาพ และขอความจากท่ีเขาเคยเดนิ ใน ภูมิทัศนท งี่ ดงามของภูมภิ าค Hoggar ของทะเลทรายซาฮารารวมถึง Hoggar Circle และ Touareg Circle ซ่ึงทำใหเ ขาเคลยี รหนิ จากพื้นโลกเปนวงกลมและวงแหวน Sahara Line และ Sahara Standing Stone Line แตล ะเสนแสดงโขดหนิ ท่ีทำ จากทะเลทราย Rocky-textured Dusty Boots Line ซึ่งเขาเตะหนิ กรวดออกจาก แนวฝุนและหิน Hoggar 24

A Line in the Himalayas 1975, printed 2004 เปน หนึ่งในหลายรูปท่เี กิดจากการลองเดนิ มานานในเทือกเขาหมิ าลัยเนปาลเมือ่ ป ค.ศ. 2518 แสดงใหเหน็ ภมู ิประเทศทข่ี รขุ ระ และยอดเขาท่ขี รขุ ระปกคลุมไปดวยหิมะซึ่งเปน ทร่ี าบสูงภูมปิ ระเทศท่ีแหง แลงโดยท่ัวไปจะมีลกั ษณะเปน ท่รี าบสูง ทอ งฟาเปนสนี ำ้ เงนิ เขม และยอ มสหี ิมะและหนิ สขี าว เร่มิ ตนทเี่ บอื้ งหนา และหายตวั ไปในพื้นผิวของภเู ขามืดขลุก ขาดอยดู านขา งของภาพแนวหนิ สขี าวทแ่ี คบ ๆ ขึน้ ตรงแนว ไมม กี ารปรากฏตวั ของมนษุ ย หรอื สตั วใด ๆ เปนการยากทจ่ี ะวัดขนาดของกอนหินและโขดหินทโี่ ผลออกมาซง่ึ รวมถงึ ระยะทางระหวางเบื้องหนา และภูเขาในระยะไกลท่ีไมมพี น้ื ตรงกลาง 25

A line in japan เขาเริม่ ทำงานนีใ้ นป 1979 เชนเดยี วกับงานชิน้ อน่ื ที่มาจาก การทดลองเดินเลนของเขา และวางกอนหนิ ทีพ่ บในที่นน้ั ๆ เปน เสน ยาวๆ ท่ีดสู วยงาม แตก อ นจะเปน งานน้ี ตอนแรกเขาเขาใจวา การมาญ่ีปุนของเขา เขาจะพบชวงหมิ ะตกพอดี แตค วามจรงิ มนั ไมม ี เขาเลยไมส ามารถทำตาม ความคิดทเี่ ขาวางไวไ ด แตเ ขามาถึงแลว เขาก็เลยคดิ จะทำ ภมู ศิ ลิ ป A Line in Japan (1979) เกดิ จากความคดิ เดิม ของฉันในการทำแผนทที่ ำแผนท่เี ดินรอบ ๆ ภูเขาไฟฟูจติ ามแนวหิมะ อยางไรกต็ ามเนือ่ งจากไมมีหิมะบนภเู ขาเลย เมือ่ ฉนั มาถงึ ฉนั ตองปฏิบตั ิ ตามแนวคิดท่แี ตกตางออกไป (อา งถึงใน Tufnell 2007, หนา 33) 26

The Floating Piers 2016 christo and jeanne claude

3 christo and jeanne claude

Biographie Christo และ Jeanne Claude ช่อื เตม็ ของเขาทัง้ คคู อื Christo Javacheff และ Jeanne-Claude de Guillebon (Christo เกดิ เม่ือวนั ที่ 13 มิถนุ ายน 1935 Gabrovo บลั แกเรีย Jeanne Claude เกดิ เมอื่ วนั ท่ี 13 มถิ นุ ายน 1935 Casablanca โมรอ็ กโก และเสียชีวิตในวนั ท่ี 18 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2552 New York New York, US) ทง้ั คเู ปนนักภูมิศิลป ทางดา นประตมิ ากรสิง่ แวดลอ ม งานภูมิศลิ ป หรือประตมิ ากรรมกลาง แจง ของพวกเขามักจะเกย่ี วของกับการแสดงอนุสาวรียข องผา และพลาสตกิ เขาพบกนั ครัง้ แรกใน Paris ในเดอื นตลุ าคม ป 1958 ซ่งึ Christo ไดว าดภาพ คณุ แมข อง Jeanne Claude จากน้ันพวกเขาทง้ั คกู ็ตกหลมุ รักกนั และรว มสรางงานศิลปะ ดวยกนั ในท่สี ุด ผลงานที่มชี ่อื เสียงของเขา เชน the wrapping of the Reichstag ,ในกรงุ เบอรล ิน the Pont-Neuf bridge ในกรงุ ปารสี ,Running Fence (งานผายาวถึง 39 กโิ ลเมตร หรือ 24ไมล) ในเมอื งโซโนมา และมารนิ ในรัฐแคลิฟอรเ นีย และ The Gates ในเซน็ ทรลั ปารค ของเมืองนิวยอรค 29

ในชว งแรกงานศิลปะของท้งั คู มีแค Christo เทานัน้ ทว่ี งการศลิ ปะ ใหเครดติ ในการสรางงาน จนถงึ ป 1994 เมือ่ มกี ารสรางงานกลางแจงขนาดใหญ ท่ีถกู ตดิ ตงั้ โดยพวกเขา ทางวงการศิลปะกใ็ หเ ครดติ เขาทั้งคู รวมถึงใหย อนหลงั ดว ย วา งานศลิ ปะพวกนี้ เปนของ \"Christo and Jeanne Claude\" เวลาทำงานทต่ี องใชเครอื่ งบิน บินขามรัฐ ขา มประเทศ พวกเขาคิดทจี่ ะ น่งั แยกลำกนั เพื่อทีว่ าหากเครอ่ื งใดเครอ่ื งหนงึ่ เกิดอบุ ัตเิ หตุ อีกคนสามารถไป ดำเนินการสรางงานใหเ สรจ็ ได Jeanne Claude เสยี ชวี ิตอายุ 74 ป ในวันท่ี 18 พฤศจกิ ายน ค.ศ. 2009 จากภาวะแทรกซอนของสมองหลอดเลอื ดโปงพอง แมวา ผลงานของพวกเขาจะนาประทับใจ และมักมีการโตเถยี งอนั เปน ผล มาจากขนาดของงานศลิ ปะ แตศ ิลปนตางปฏเิ สธวา โครงการของพวกเขามคี วามหมาย ลึกซึ้งกวาผลกระทบดานสนุ ทรียภาพในทันที วตั ถปุ ระสงคข องศิลปะของพวกเขา คอื การสรางงานศิลปะเพื่อความสุข ความงาม และเพือ่ สรางวธิ ีใหมใ นการดู ภมู ปิ ระเทศที่คนุ เคย นกั วิจารณศ ิลปะ David Bourdon ไดอธบิ ายเร่ืองของ Christo วา เปน \"การเปด เผยผา นการปดบงั \" Christo ตอบวา \"ฉันเปน ศลิ ปน และฉนั ตองมีความกลา หาญ ... คุณรหู รือ ไมวา ฉนั ไมม ี งานศลิ ปะทีม่ อี ยทู ง้ั หมดพวกเขาทัง้ หมดกห็ ายไป เมือ่ พวกเขาเสร็จส้นิ เพยี งภาพวาดเตรยี ม และภาพตดั ปะจะเหลือใหฉันทำงานเปนคนในตำนาน จนฉนั เกือบคดิ วามันตองใชความกลา หาญมากขน้ึ เพือ่ สรา งส่งิ ทีจ่ ะหายไปกวา การสรา งสิ่งที่จะยงั คงอย”ู 30

running fence เปนงานภมู ศิ ิลปที่มคี วามสูง 18 ฟตุ (5.5 เมตร) ความยาว 24.5 ไมล (39.4 กโิ ลเมตร) ซึ่งทอดยาวไปทางตะวนั ออกเฉยี งใตใ กลทางดว น 101 ทางตอนเหนอื ของซานฟรานซสิ โก ซง่ึ อยบู นท่ดี ินสว นตวั ของเจาของฟารม ถึง 59 ราย ไลต้งั แตต าม เนนิ เขากลิง้ ลงสมู หาสมทุ รแปซฟิ ก ท่ี Bodega Bay พวกเขาทำงานชนิ้ นเ้ี สรจ็ เม่อื วนั ที่ 10 กนั ยายน ค.ศ. 1976 โครงการของงานศลิ ปะชิ้นน้ีมีระยะเวลาในการขอความรว มมือถงึ 42 เดอื น ซึง่ ตอ งใชค วามพยายาม รว มกับการมสี วนรว มของเจาของฟารม การพิจารณาคดีสาธารณะถึง 18 ครง้ั และยงั มถี งึ 3 ครัง้ ท่ศี าลสงู ของรฐั แคลฟิ อรเ นยี จนถึงข้นั รา งรายงานผลกระทบดานส่งิ แวดลอม 450 หนา ถงึ การใชงานช่วั คราวของเขา ทีม่ ผี ลกระทบตอ เนินเขา ทองฟา และมหาสมุทร 31

the gates งานภูมิศิลปช ้ินนีถ้ กู ตดิ ตง้ั ในเซ็นทรลั ปารค เสร็จสมบรู ณด ว ยการบานของ แผงผา 7,503 ชิน้ เมือ่ 12 กุมภาพนั ธ 2005 ประตจู ำนวน 7,503 บาน มคี วามสงู 16 ฟุต (4.87 เมตร) และแตละชน้ิ มีความกวา งจาก 5 ฟตุ 6 นิว้ ถึง 18 ฟุต (1.68 ถงึ 5.48 เมตร) ตามความกวา งที่แตกตางกนั 25 ทางเดนิ บนทางเดนิ 23 ไมล (37 กิโลเมตร) ในเซ็นทรลั ปารค แผนแขวนผาสีเหลอื งแขวนคอฟรีแขวนจาก ดานบนสดุ ของแนวนอนของประตูลงมาประมาณ 7 ฟุต (2.13 เมตร) เหนอื พน้ื ดนิ ประตมู ีระยะเวน ระยะ 12 ฟตุ (3.65 เมตร) เวน แตทางที่ต่ำลงไปเหนือทางเดนิ ประตู และแผงผา สามารถมองเห็นไดจากท่ไี กลออกไปผานก่งิ กานใบของตนไม งานศิลปะยงั คงอยเู ปนเวลา 16 วันจากน้ันประตกู ็ถูกนำออก และนำมาทำเปน วัสดุรไี ซเคลิ เชนเคย 32

Surrounded Islands เม่อื วนั ที่ 7 พฤษภาคม ค.ศ. 1983 การติดตงั้ Surrounded Islands กเ็ สรจ็ สมบูรณในอา วบิสเคยน ระหวางเมอื งไมอามมี ลรัฐนอรท ไมอามี หมบู านไมอามชี อร และไมอามีบชี หมเู กาะทีต่ งั้ อยใู นพืน้ ทข่ี อง Bakers Haulover Cut, Broad Causeway ,79th Street Causeway, Julia Tuttle Causeway และ Venetian Causeway ถูกลอ มรอบไปดวยผา โพรพิลนี ทอสชี มพูแบบลอยตัวซง่ึ มีเนอ้ื ท่ี 6.5 ลานตารางฟุต ครอบคลุมพืน้ ผวิ ของน้ำ และขยายออกไป 200 ฟุต (61 เมตร) จากแตละเกาะ ลงในอาว ผา ถกู เยบ็ เปน รูปแบบ 79 รูปแบบตามรูปทรงของเกาะ 11 แหง เวลาสองสปั ดาหถัดมา Surrounded Islands กระจายไป 7 ไมล (11.3 กโิ ลเมตร) ไดเ หน็ ประชาชนเขา หา และมคี วามสุขจาก causeways ท่ีดนิ น้ำ และอากาศ สชี มพสู อ งสวา งของผาเงางามตดั กบั พชื เขตรอ น ของเกาะทเ่ี ขยี วขจ ไดเปนอยา งดี ภมู ิศลิ ปช้ินน้ไี ดแ สดงแสงจากทองฟาในไมอามี และสีของนำ้ ตนื้ ในอาวบิสเคยน ถอื เปน การเนรมิตเกาะท่ไี มมีใครอาศยั อยู ใหอ อกมามชี วี ิตชวี า 33

Wrapped Reichstag Wrapped Reichstag ถกู สรางเสรจ็ สมบูรณเ ม่อื วนั ที่ 24 มิถนุ ายน 2538 โดยแรงงาน 90 คน และพนักงานตดิ ต้งั 120 คน Wrapped Reichstag ยงั คงหอ เปน เวลา 14 วนั และวัสดทุ ง้ั หมดกถ็ กู นำมารไี ซเคิล เชน เดยี วกับงานภูมศิ ิลปอ ื่นๆของเขา ใชผ าสีเงนิ และเสนใยโพลีโพรพีลีนสนี ้ำเงินขนาดเสน ผา ศูนยกลาง 1.26 นวิ้ (3.2 เซนติเมตร) จำนวน 1,076,390 ตารางฟตุ (100,000 ตารางเมตร) ทท่ี ำจากโพลโี พรพลิ นี เนอ้ื หนาทอ ทมี่ ีพ้ืนผิวอลมู ิเนยี ม และเสนใยโพรพิลนี ขนาด 9.6 ไมล (15.6 กโิ ลเมตร) ขนาดเสนผานศนู ยก ลาง 1.26 นิ้ว (3.2 เซนติเมตร) อาคาร และหลงั คาถกู ปกคลุมไปดวยแผน ผาทถี่ กู เย็บถงึ 70 ชนิ้ ซึง่ เมอ่ื คำนวณ พื้นที่แลว ผาทงั้ หมดจะมเี นอ้ื ท่ีเปน สองเทา ของพ้นื ผวิ อาคารเลยทีเดียว 34

alpine ice circle 2013 martin hill

4 martin hill

BIOGRAPHY มารต นิ ฮิลล เกิดเมือ่ ป ค.ศ. 1946 ในกรุงลอนดอน องั กฤษ ซง่ึ เขาไดรับการ ศึกษาดานศลิ ปะและการออกแบบ ตง้ั แตป ค .ศ. 1992 ผา นรปู แบบตา งๆของการจัด พิมพร วมทัง้ หนงั สอื ในป 2007 “Earth to Earth” ประติมากรรมไดแ รงบนั ดาลใจ จากการออกแบบของธรรมชาตริ ปู ประตมิ ากรรมดานสิ่งแวดลอมของฮลิ ลได แพรหลายไปทัว่ โลก เขามีการจดั นทิ รรศการเดี่ยว ในญี่ปุน สวเี ดน ออสเตรเลีย จนี อนั ดอรรา และนวิ ซีแลนด ไดร ับงานประติมากรรม และโครงการทไ่ี ดรับมอบหมายจากเอกชน จำนวนมาก โครงการ Fine Line เร่มิ ขึ้นเม่ือปค.ศ. 1995 ดวยความรวมมอื กับคูห ู Philippa Jones และใกลจะเสรจ็ สมบรู ณเ ปน สัญลกั ษณทีล่ อมรอบแผนดนิ โลกซึง่ เช่อื มตอรปู ประตมิ ากรรมช่ัวคราวซ่ึงสรา งขึน้ จากจดุ สงู สุด 12 จุด 37

Delicate Canvas (short film) 2013 (25 minute) Delicate Canvas เปนภาพยนตรสารคดีเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของเขา ในป 2011 โครงการลุมน้ำไดร ับการสรางข้นึ ในระหวางทพ่ี กั อาศยั ของ Kenneth Myer Alpine Artist เขาและ Philippa ไดรับรางวลั ในปค .ศ. 2012 ในเทือกเขา Southern Alps ของนิวซแี ลนดใกล Wanaka ทพ่ี วกเขาอาศัยอยู พน้ื ที่ลมุ น้ำได มกี ารจัดแสดงทีส่ วนประตมิ ากรรมและแกลเลอร่ี McClelland Melbourne ในป 2014 และไดร บั รางวัลยอดเย่ยี มแหงปท ่ี Pingyao International Photography Festival Hill and Jones ซง่ึ เปน ศลิ ปนที่ไดรับเชิญใหเขา รว มแอนตารกติกาโดย แอนตารกติกานวิ ซแี ลนดธนั วาคม 2014 ในป 2015 พวกเขาไดเ ขา รว มในท่ีพักอาศยั ของศิลปน NR Conservation ใน Dusky Sound Fiordland และมีการจดั แสดง เด่ียวสองชิ้น ไดแก Andorra Land Art Biennale และ Inter Art Center and Gallery, ปกก่ิง ในป 2016 ไดรับคดั เลอื กใหเ ปน ผูเขารอบสุดทา ยใน Arte Laguna ,Venice และไดร ับรางวลั ชนะเลิศอนั ดับ 1 ประเภท Conceptual ในรางวัล Fine Art Photography Awards 38

watershed งานภมู ศิ ิลปชิ้นน้ี ถอื เปน งานทีม่ ีรูปทรงแปลกใหม โดดเดน อยา งเปน เอกลักษณ ซ่งึ งานช้ินน้ีถูกสรางขน้ึ เพื่อเฉลิมฉลองการไดรบั รางวัล Kenneth Myer Artist's และ Writer's Alpine Retreat ซงึ่ งานภมู ศิ ิลปเ กิดข้นึ ใน 21 วัน ทเ่ี ขาพกั อยทู ่ี Whare Kea Chalet ในความสูง 1700 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ที่ Albert Burn Saddle ใกล ภูเขา Aspiring ในเทือกเขา Southern Alps ของประเทศนิวซแี ลนด หลังจากการวจิ ัย เขาตดั สินใจวาต้ังแตแหลง ท่มี าของแมนำ้ สองสายเลด็ ลอด ออกมาจาก Albert Burn Saddle โครงการจะมงุ เนนไปที่วงจรนำ้ ซ่ึงมันมีอิทธิพล ตอการใชช ีวติ ของมนุษยในทกุ ๆดา น และศลิ ปนตองการแสดงใหเห็นถงึ ความสำคญั ของมนั ในการทำงานรว มกบั Philippa Jones โครงการลมุ นำ้ ประกอบดว ย ประติมากรรมท่สี ามารถปลอ ยไดต ามธรรมชาตไิ ดย าวนานถงึ 25 ชิน้ ในชวงเวลา 1 ป เขาสามารถทำงานประติมากรรมไดแค 2 ชน้ิ ซ่งึ ถือวา มันละเอียดออนมากๆ 39

fine line project โครงการ Fine Line เร่ิมคดิ คนขึน้ ในป ค.ศ.1995 จากภาพดา นบนถือเปน งานภูมศิ ิลปแ รกของโครงการน้ี ถกู สรา งข้นึ ในปค .ศ.1997 ซ่งึ โครงการน้ีเปนโครงการ ดา นศิลปะ และวทิ ยาศาสตร ดา นส่ิงแวดลอ มระดับโลก ประกอบดวยงาน ประติมากรรมช่วั คราวจำนวน 12 ชิน้ ทที่ ำเปน จดุ สงู ที่เชือ่ มโยงกันเปนเสน เสน ลอมรอบแผนดนิ ท่ีเร่ิมตน และส้นิ สดุ ท่ียอด ภูเขา Ngauruhoe ในประเทศ นิวซแี ลนด และเปน สัญลักษณของเครือขายท่ีเช่ือมตอ และพึ่งพาอาศยั กันของ ระบบธรรมชาติที่เชื่อมโยงเราเขา กับความจริงแหง ชีวติ ประติมากรรมแตละช้ินทำ จากวสั ดุธรรมชาตทิ ่ีพบในสง่ิ แวดลอ มตามธรรมชาติ และพรอ มท่ีจะกลับคืนสู ธรรมชาติ เขามีวตั ถุประสงคเพื่อสรางการบรรยายท่มี ีประสทิ ธภิ าพดวยงานศิลปะ ทท่ี ำหนาทเ่ี ปน ความเขา ใจของคนท่ัวโลก และการดำเนนิ การตอดวยการออกแบบ ระบบมนษุ ยเพ่อื ใหส อดคลอ งกบั หลกั การปฏบิ ตั ิตามระบบวัฏจกั รของระบบธรรมชาติ 40

FRAGILE CANVAS ความออนแอของสมดลุ ทางนเิ วศวิทยาของระบบนเิ วศนโ ลกเปนประเด็น สำคัญการทำงานภมู ิศลิ ปช้นิ น้ี ดว ยตัวงานจะตรวจสอบความสัมพนั ธท่ลี ะเอยี ดออ น ระหวางระบบของมนษุ ย กบั โลกธรรมชาติ เพราะงานภูมศิ ิลปช น้ิ นี้ ใชว สั ดุทบ่ี อบ บาง ทำใหใครจะมาทำอะไรกับมันกไ็ ด ซง่ึ เปน การทดสอบของศิลปน ในการ สังเกตการยอยสลายไปตามธรรมชาตขิ องงานภมู ศิ ลิ ปช ดุ นี้ เขาไดส รางผลงานเหลา นี้ขนึ้ ในภูเขาที่อยรู อบทะเลสาบ Wanaka และ ฝง ตะวันตกของทะเลสาบนี้ ซ่ึงอยใู นประเทศนิวซีแลนด ในขณะท่ีผสู รางภาพยนตร James Blake และ Joey Bania ไดสรางภาพยนตรเกือบกบั งานศลิ ปะของเขา และ ไดใ หขอ มูลเกี่ยวกับการปฏิบัติงานศลิ ปะ และปรัชญาทเี่ ปน รากฐานดงั กลาว ภาพยนตรเร่อื งนีม้ ีชอ่ื วา Delicate Canvas ซง่ึ ไดรับการจดั แสดงในเมือง Dunedin และในงานเทศกาลภาพยนตรน านาชาติ ผลงานชิ้นนี้จัดขนึ้ ที่ Gallery 33 ใน Wanaka และ Dunedin ท่ีมีช่ือวา “Fragile Canvas” 41

THE MILLENIUM PROJECT เพอ่ื เฉลมิ ฉลองการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยครบ 2000 ครั้ง ในปค .ศ. 2000 ศลิ ปน ตดั สนิ ใจเลอื กชดุ ประตมิ ากรรมโดยใชองคประกอบท่ี ประกอบดว ยวัสดุถึง 2,000 อยาง ประตมิ ากรรมเหลาน้ถี ูกสรา งข้ึนในสถาน ที่หลากหลายท้ังชายหาด ปา ภเู ขาไฟ และทางเดินภเู ขา วัสดธุ รรมชาตทิ ีใ่ ช พบไดในแตล ะพนื้ ทท่ี ี่เขาไดทำงานภูมศิ ิลปนน้ั และวสั ดกุ ็ไดกลับสูระบบธรรมชาติ ท่ีพวกมนั มา ขน้ั ตอนการรวบรวม และนับจำนวน 2,000 ชิน้ เปน อะไรทย่ี ากมาก และพถิ ีพถิ นั มาก แตเขาก็ทำมนั ออกมาไดส ำเรจ็ ชดุ ของ 12 ผลงานไดรบั การเผยแพรเ ปนปฏทิ นิ สากล และผลงาน หลายชิ้นมใี หเลอื กเปนพิมพอ ยางจำนวนจำกดั 42

4 SYNOPSIS


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook