Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Alphonse Maria Mucha

Alphonse Maria Mucha

Published by Kachornpon, 2017-03-28 02:10:30

Description: Alphonse Maria Mucha_13590488_กาญจนา_ผกาแก้ว_JR

Search

Read the Text Version

Aphonse Maria Mucha เรียบเรยี งโดย กาญจนา ผกาแกว้

Self-portrait (1899)

Self-portrait in a Russian shirt 'rubashka',in the studio, Rue de la Grande Chaumière, Paris (Early 1890s)

Preface งานศลิ ปะที่มลี วดลายเสน้ โค้งท่อี ่อนชอ้ ย ชดฉอ้ ย การโค้งงอของพืชพรรณไมต้ ามธรรมชาติ เปน็ งานท่คี นทว่ั ไปแบบไมม่ ีความรดู้ า้ นศิลปะดูก็รู้วา่ สวย ความสวยงามเหล่าน้นั สามารถสะกดคนดใู ห้มคี วามหลงใหล งานศิลปะเหล่านเี้ รียกวา่อาร์ตนโู วหรือในภาษาไทยเรยี กกนั วา่ “นวศลิ ป์” “อลั โฟนส์ มคู า” เป็นหนงึ่ ในศลิ ปินแบบอาร์ตนูโว งานของมคู าสว่ นใหญ่จะเป็นงานโปสเตอรท์ ีท่ ำ�กบั โรงพมิ พ์ท่เี รยี กกนั วา่ พาณชิ ย์ศลิ ป์ งานของมูคาเปน็ งานทม่ี ีเอกลกั ษณ์ดว้ ยเส้น ความสวยงามของคนทีเ่ ขาวาด องค์ประกอบท่ีมีการเกย่ี วกระหวดั ของพรรณไม้ดอกไม้ตา่ ง ๆ ความโค้งงอออ่ นช้อยสวยงาม การสีโทนอ่อนหรือสีพาสเทลดูนมุ่ นวล ถอื ได้วา่ งานของเขาเป็นงาน “ใหม่” ท�ำ ให้งานของเขาเปน็ท่โี ดง่ ดงั และเปน็ ทนี่ ยิ มในสมยั น้ัน มคู าไมเ่ พียงแต่จะเป็นศิลปินท่ที �ำ งานการออกแบบโปสเตอรใ์ ห้กับโรงพมิ พเ์ พียงอย่างเดียว เขายงัเปน็ นกั ออกแบบเคร่ืองประดบั ท่คี นในวงการการออกแบบเครือ่ งประดบั ยกย่อง ทั้งยงั ท�ำ หนังสอื เพ่อื ให้ความรู้กบับคุ คลทัว่ ไปอีกดว้ ย อลั โฟนส์ มูคาจงึ เป็นบคุ คลท่นี า่ สนใจ แตจ่ ะเขียนเล่าตรงน้ีคงไมห่ มด หนงั สอื เล่มน้ีได้รวบรวมและเรยี งเรยี งชีวิต การทำ�งาน และงานของมคู าไวแ้ ม้ไม่ทัง้ หมดแต่ก็หวังวา่ คณุ คงไดร้ เู้ รอ่ื งของมูคามากขึ้น กาญจนา ผกาแกว้ พฤศจิกายน 2016 Zodiac (1896), lithography

Fruit (1897), lithography, Alphonse Mucha

Contents Art Nouveau 5 Alphonse Maria Mucha 11 - ประวัติและชีวิตส่วนตัว 12 - จดุ พลิกผนั ทำ�ใหก้ ลายเป็นศลิ ปนิ ผโู้ ดง่ ดงั 15 - แนวความคดิ ในการสรา้ งสรรค์ผลงาน 19 Works 30 - Gismonda (1894) 31 - The Seasons (series) (1896) 35 - Zodiac (1896) 37 - Reverie (1897) 38 - Head of a Girl 39 - Stained-glass Window designed 40 - Documents Decoratives 41 - Figures-Decoratives 42 - The Slav Epic 43 Reference 49

Art Nouveau(1890-1910)DANCE (1989), lithography อารต์ นูโว พจนานกุ รมศิลปะ ฉบับAlphonse Mucha ราชบัณทิตยสถาน ไดก้ ำ�หนดเปน็ ศัพท์ภาษา ไทยวา่ ‘นวศลิ ป์’ อารต์ นูโวในภาษาฝร่ังเศส 5 แปลว่าศลิ ปะใหม่ ซึง่ ใชเ้ รยี กชอ่ื ศิลปะแบบใหม่ ในสมัยนนั้ คอื เปล่ียนแนวคิดจากสร้างผลงาน ตามศาสนาความเชือ่ มาเปน็ การยกยอ่ งความ งดงามอ่อนชอ้ ย โค้งงอของธรรมชาติ อาร์ตนูโว เป็นลักษณะศิลปะ สถาปตั ยกรรม และศิลปะประยุกต์ ซ่ึงได้รับ ความนยิ มสงู สุดในช่วง ค.ศ. 1890 ถงึ 1905 โดยมีจุดเดน่ คอื ใชร้ ปู แบบธรรมชาติ โดยเฉพาะ ดอกไม้และพืชอ่นื ๆ มาท�ำ เปน็ ลวดลายเสน้ โคง้ ท่อี ่อนช้อย มจี ดุ เร่ิมตน้ มาจากช่อื รา้ นของ แอส. บงิ (Siegfried Bing) ที่ปารีสในปี 1895 ท่ชี ื่อ ว่า อาร์ตนโู ว มีจดุ เร่ิมตน้ มาจากช่ือรา้ นของ แอส.บิง (Siegfried Bing) ที่ปารสี ในปี 1895 ทชี่ ่อื ว่า ‘ลา นูโว’ (LíArt Nouveau) แปลว่า ศิลปะใหม่ ต่อมากลายเป็นช่อื เรียกศลิ ปะทีม่ รี ูป แบบเฉพาะในด้านสถาปัตยกรรม การออกแบบ และศิลปะอ่ืน ๆ

ลักษณะเด่นลักษณะรูปแบบจะเป็นการลดทอนรูปแบบจากรุกขชาติ Hotel Tassel (1893-4)แมลง เปลือกหอย ใบไม้ และเถาวลั ย์ตามธรรมชาติ น�ำ สถาปตั ยกรรมแบบนโู วอารต์มาประดิษฐ์เป็นลวดลายประดับทง้ั ภายในและภายนอกอาคาร ตลอดจนเครอื่ งใช้ ของประดับบา้ น และเครือ่ งแตง่กาย ท�ำ ใหน้ วศิลป์เปน็ รปู แบบท่นี ำ�กลบั มาใชต้ กแตง่ เสมอๆ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงภายในอาคารพาณิชย์ เช่น รา้ นอาหารฝร่งั เศส ร้านขายเสือ้ ผา้ สตรี และกิจการเกยี่ วกับความงามอ่ืน ๆ นอกจากนีย้ ังมีการหาวัสดแุ ละแร่ธาตุจากธรรมชาติไดแ้ ก่ งาชา้ ง เงนิ ทองแดง นำ�มาใช้ด้วยเชน่ กัน อาร์ตนโู ว ได้รับแรงบนั ดาลใจจาก รปู ทรงและสจี ากธรรมชาติ เช่น สี จากฤดกู าล เช่น สอี อกส้มและ นำ้�ตาลของฤดูใบไม้รว่ ง สจี ากพืช พรรณต่าง ๆ เช่น สเี ขยี วเขม้ สี เขียวตอง และสขี องดอกไม้ เช่น สี ขาวนวลดอกมะลิ สีม่วงดอกไอรสิ สีแดงดอกปอ็ ปปี เป็นตน้Summer (1896), lithography อาร์ตนูโวมีชอื่ เรยี กในแตล่ ะประเทศแตกต่างกันไป ในAlphose Mucha ภาษาเยอรมันเรียกว่า ยเู กินทช์ ตลี (Jugendstil) แปล ว่า เยาว์ (Youth) ในอิตาลเี รยี กว่า Stile Liberty ใน สเปนเรยี กว่า Modrenista และออสเตรยี เรียกวา่ Sezessionstil (Secession Style) ART NOUVEAU

ART NOUVEAU อารต์ นโู ว (Art Nouveau) ปรากฏตัวขนึ้ ครั้ง แตก่ ระนน้ั กม็ ไิ ด้ยึดติดกับรปู แบบเดมิ ๆ ของ แรกในประเทศอังกฤษ โดยกลุม่ ศลิ ปนิ กลาส ศลิ ปะการออกแบบทม่ี มี ากอ่ นหน้านี้โดยสิน้ โกวส์ คลู ทปี่ รารถนาจะน�ำ เสนอแนวทางของ เชงิ หรืออาจกล่าวได้ว่า อาร์ต นโู ว ถอื เป็น ศลิ ปะรปู แบบใหม่ ทผ่ี สมผสานกันระหว่าง Art รูปแบบศิลปะการออกแบบที่ไม่เพยี งให้ความ and Craft หรอื ศลิ ปะและงาน โดยเนน้ รปู แบบ ส�ำ คญั กับรปู ลกั ษณ์เทา่ นั้น แตย่ ังให้ความ งานศิลปะและการออกแบบท่ีมีการผสมผสาน ส�ำ คญั กบั เรอื่ งของมิติ และรปู ทรงอีกด้วย ระหวา่ งศิลปะแนวใหม่ และรปู ทรงศิลปะแบบ ดัง้ เดมิ ที่ยงั คงเน้นรูปทรงและลวดลายแบบ ธรรมชาติ ในวิถีของการออกแบบท่ีออ่ นช้อย เก่ียวกระหวัด เหน่ยี วพนั และพล้ิวไหว ในรปู แบบทีเ่ รยี กว่า Noodle Style The Great Wave off Kanagawa (1830) color woodblock, Katsushika Hokusai Arts and Crafts Exhibition Society ticket by Walter Crane England, UK, 1890 อารต์ นูโว มีตน้ กำ�เนดิ มาจากกลุ่ม อาร์ต แอนด์ คราฟท์ มฟู เมนต์ (Art and Crafts Move- ment) หรือ ศลิ ปะและงาน ในองั กฤษ และกลมุ่ ซมิ โบลสิ ม์ (Symbolism) และความนยิ มใน ศลิ ปะวัฒนธรรมญปี่ นุ่ (Japonism) และรปู แบบสารพัดทีผ่ สมเข้ามาตั้งแต่แนวอียปิ ตโ์ บราณและ โรโคโค (Rococo) 7

แม้อารต์ นูโว จะก่อก�ำ เนดิ ขึ้นครง้ั แรกในองั กฤษ แตก่ ลบั ประสบความสำ�เรจ็ อยา่ งสูงสดุ ในฝรั่งเศสแทน โดยเฉพาะการเปิดตัวศลิ ปะเครื่องประดับสไตล์อารต์ นูโว ครงั้แรกเม่อื ปี ค.ศ. 1895 ในงาน La Maisonde art Nouveau ณ กรงุ ปารีส ซง่ึ ทำ�ให้ศิลปะนูโวเป็นทีร่ ู้จกั ไปทว่ั โลก ตราบกระท่ังถึงทกุ วันน้ี The Maison de l’Art Nouveau gallery of Siegfried Bing (1895) Biscuits Lefevre Utile (1896) Alphonse Mucha lithography

Alphonse Maria Mucha1860-1939 Mucha, in about 190611

Alfons Maria Mucha เปน็ ภาษาเชก็ อ่านเปน็ ภาษาไทยไดว้ ่า อลั โฟนส์ มารียา มูคาเปน็ ศลิ ปินแนวนวศลิ ป์ (Art Nouveau) ทมี่ ผี ลงานออกแบบอย่างหลากหลาย ทงั้ ภาพโปสเตอร์ปฏิทนิ ภาพประกอบหนังสอื งานพิมพ์ ภาพพิมพห์ นิ งานโลหะ งานหนงั การออกแบบเครอ่ื งประดับ และการออกแบบของตกแตง่ บา้ น อกี ทั้งยงั มผี ลงานวาดภาพเกี่ยวกับประวัติศาสตรอ์ ีกด้วย นบั วา่ เป็นศลิ ปนิ มากความสามารถ และมคี วามเป็นเอกลกั ษณ์ เฉพาะตวั ทีโ่ ดดเด่นคนหน่ึง Self-portrait on stepladder, working on the cartoon of the poster ‘Imprimerie Cassan Fils’ (1896)อัลโฟนส์ มคู า เกดิ เมื่อวนั ท่ี 24 กรกฎาคม ค.ศ.1860 ในเมืองอิวันชิตเซ (Ivančice) ภมู ภิ าคโมเรเวยี ปจั จบุ นั อย่ใู นสาธารณรัฐเช็ก เขามคี วามสามารถในการรอ้ งเพลง ส่วนศลิ ปะน้นั เร่มิ ต้นจัดเป็นงานอดิเรกอยา่ งหนึ่งของเขา แตต่ ่อมาเขาได้เข้าเรยี นในโรงเรยี นท้องถ่นิ ความสนใจทางดา้ นศิลปะจึงเรม่ิ มีมากข้ึน

จุด APHONSE MARIA MUCHA เริ่ม ตน้ เมื่อเขามีอายุ 17 ปี กไ็ ดอ้ อกจากบ้านเพ่ือมาท�ำ งานเปน็ จิตรกร ของ ตกแตง่ ฉากเวทที ่รี ิงเทอาเทอร์ (Ringtheater) ในเวยี นนา แตโ่ รงละครเกิด การ ไฟไหม้ทำ�ใหเ้ ขาตอ้ งตกงาน และต่อมาได้ถกู เชญิ ใหไ้ ปตกแต่งปราสาทของ เป็น เคานตค์ าร์ล (Count Karl Khuen-Belasi) แหง่ เอมมาโฮฟ (Emmahof)ศิลปิน ในออสเตรีย ซึ่งถอื เป็นผมู้ พี ระคุณตอ่ การสนับสนนุ ทางการเงินแก่เขาใน การเข้าเรยี นศลิ ปะในสถาบนั สอนการศึกษาทม่ี วิ นิก Self-portrait with posters for Sarah Bernhardt, in his studio, Rue du Val de Grace, Paris (1901) ในปี ค.ศ. 1887 เขาก็ตัดสนิ ใจเดนิ ทางเขา้ มคู าต้องออกจากสถาบันกาโลรอสซเี ม่อื เคานต์ กรุงปารีสเพื่อศึกษาตอ่ ทีส่ ถาบันฌวู ์ลียอ็ ง คารล์ เสียชีวิต และหาเลยี้ งชพี ด้วยการเป็นนกั (Académie Julian) และสถาบันกาโลรอสซี เขยี นการ์ตนู เขยี นภาพลงนิตยสาร และภาพ (Académie Colarossi) ซงึ่ ช่วงนเี้ ขาไดเ้ ข้า ประกอบโฆษณา นบั เปน็ ชว่ งเวลาท่ีเขามีผล เปน็ สมาชิกของกลุม่ นาบี ซ่งึ เป็นศลิ ปินในลทั ธิ งานผลิตออกมาจ�ำ นวนมาก ซง่ึ ลกั ษณะงาน ประทบั ใจยุคหลงั (post-impressionism) ก็ยงั คงสะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ รปู แบบท่เี คยร่ำ�เรียน ทม่ี เี ทคนิคหลากหลาย พวกเขาทำ�งานศิลป์ มาจากสถาบนั ศิลปะ แต่ก็ท�ำ ให้เขาไดส้ ะสม ลงในหลายวัสดุนอกจากผ้าใบ ยงั มีเซรามิก ประสบการณจ์ ากทำ�งานและได้ศึกษาเรียนรู้ โปสการด์ เสื้อผา้ นอกจากนั้นยังได้รับอิทธพิ ล ศิลปะควบคู่กันไป และคงเป็นปจั จัยหนึง่ ทผ่ี ลกั จากคตินยิ มศลิ ปะญป่ี นุ่ ซ่ึงกลายเป็นมางาน ดันให้เขาประสบความสำ�เร็จดา้ นงานออกแบบ ศลิ ปะแบบนวศิลป์ ตอ่ มาในปี ค.ศ. 1889 ตกแตง่ ต่อไป13

Georges Fouquet (1858-1929), Paris, after design by Mucha:Ornamental Chain with pendants (1900) Box for Lefèvre-Utile biscuits: Gaufrettes Vanille (c.1900) Tin for Lefèvre-Utile biscuits (1899) ALPHONSE MARIA MUCHA

จุดพลกิ ผนั ให้กลายเปน็ศิลปินผู้โดง่ ดงั ในปี ค.ศ. 1894 เกิดจุดเปล่ยี นในชีวติ มูคา เมอื่ เขาวาดภาพ Gismonda ผลงานโปสเตอรช์ ้ินแรกท่ี เขาวาดให้แกซ่ ารา แบร์นาร์ต (Sarah Bernhardt) ซง่ึ เขาไดง้ านชนิ้ น้ีอยา่ งบงั เอิญ เนื่องจากภายในร้าน Le- mercier ท่ซี ารา แบร์นาร์ต นางเอกละครผู้โด่งดงั มาใช้ บริการมีแตผ่ ลงานของมคู าท่ีจัดแสดงอย่คู นเดียวเทา่ นัน้ เขาจึงไดง้ านจากซารา แบร์นาร์ต และผลงานโปสเตอร์ สำ�หรับละครเรอ่ื งนั้นส่งผลใหเ้ ขาโดง่ ดงั อย่างมากในช่วง ปี 90 ยากทีจ่ ะหาใครมาเทยี บได้ Portrait of actress Sarah Bernhardt (1844-1923) Poster for Victorien Sardou’s Gismonda starring Sarah Bernhardt at the Theatre de la Renaissance in Paris. 1894, lithograph มูคาท�ำ สญั ญากับซารา แบร์นาร์ตเป็นเวลา 6 ปี ตลอดช่วงเวลานี้ เขาออกแบบโปสเตอร์ที่งดงามให้เธอ 9 ชนิ้ รวมท้ังช่วยงานเธอ ท้งั ออกแบบ เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับและเวทใี นละครต่าง ๆ ที่เธอมสี ว่ นเกีย่ วข้อง ด้วย สาธารณชนเองก็ชอบงานของเป็นอยา่ งมาก15

ALPHONSE MARIA MUCHASarah Bernhardt as La Princesse Lointaine: poster for ‘La Plume’ magazine (1897) 16

ALPHONSE MARIA MUCHA ในขณะเวลาเดยี วกันกบั การทำ� สัญญากับซารา มูคากผ็ ูกมดั กบั ตวั เองด้วยสัญญาท่ีทำ�ไวก้ บั โรงพมิ พ์ Champenois ทซี่ ง่ึ เขามีรายได้ ประจ�ำ จากการออกแบบโปสเตอร์ การทำ�งานร่วมกับโรงพิมพ์คร้งั น้ี น�ำ ทางให้เขาได้แสดงความสามารถ ด้านงานภาพพมิ พ์หิน (lithogra- phy) ก็ยงิ่ ส่งใหช้ ่อื เสยี งของเขาเป็น ทีร่ ู้จักกันอยา่ งกว้างขวาง เช่นภาพ ชุด The Seasons (1896) และ The Flowers (1898) The Seasons (series) (1896) lithograph, F. Champenois, Paris 17

The Flowers (series) (1898) lithographs, F. Champenois, ParisALPHONSE MARIA MUCHA

ราวปี ค.ศ. 1900 ถอื เป็นช่วงเวลาทม่ี ูคาประสบความส�ำ เร็จอยา่ งสงู สุดแทบในทุกด้านทงั้ ในดา้ นการเปน็ ศลิ ปนิ ผู้โด่งดัง และยงั เป็นอาจารย์สอนศิลปะการออกแบบด้วย เขาจดั ทำ�หนงั สือ DocumentsDecoratives และ Figures Decoratives ซ่ึงมีเนอื้ หาเกีย่ วกับนวศลิ ป์อยา่ งสมบรู ณ์ แสดงให้เห็นถงึ ความใสใ่ จทเ่ี ขามีต่อการศกึ ษาศิลปะในโรงเรียน และพยายามที่จะเผยแพรค่ วามรูด้ ้านการออกแบบใหก้ ว้างขวาง แม้หนังสอื ทง้ั สองเล่มจะสนบั สนุนใหม้ คู าท่ีชื่อเสียงท่โี ดง่ ดังมากขน้ึ แต่เม่ือหนงั สอื ถูกจำ�หนา่ ยกลับถูกใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือทางการค้าปกหนังสือ Figures-Decoratives ปกหนงั สือ Documents Decoratives เน่ืองจากสำ�นกั พิมพ์ทเี่ ขาทำ�สญั ญาดว้ ยทำ�การ ตลาดโดยแถมหนงั สือ Documents Decora- tives เม่ือซอ้ื หนงั สือ Figures Decoratives ซง่ึ เหมอื นเป็นการไม่ให้คณุ คา่ ของหนังสือเทา่ ที่ ควร ประกอบกบั เมือ่ ออกจ�ำ หน่ายกลบั ท�ำ ให้ เขายุ่งยากล�ำ บากยิ่งขนึ้ เพราะลูกคา้ ไม่ได้สงั่ ซ้อื งานตามแบบในหนงั สือ แตม่ กั จะขอเปลี่ยนแบบ เพอ่ื ใหไ้ ด้งานทพี่ ิเศษไมเ่ หมือนใคร ซึง่ อาจเป็น เหตุผลท่ีมคู าตดั สนิ ใจออกจากปารสี ไปเผชิญโลก ใหม่ทอี่ เมรกิ าก็เปน็ ได้ALPHONSE MARIA MUCHA

การย้ายจากปารีสสู่ อเมริกา มูคายา้ ยเขา้ มาอาศยั อยู่ในเมอื งนิวยอรก์ สหรัฐอเมรกิ า เพ่อื หวังทจ่ี ะพบโลกใหม่ซึง่ คงสอดคล้องกับประวตั ศิ าสตร์สหรฐั อเมรกิ าในช่วงนน้ั ทเ่ี ปน็ ดนิ แดนแหง่ โลกใหม่เปน็ ยุคแห่ง และเขายงั ได้พบรักและแตง่ งานกบั หญงิความก้าวหน้าของสหรัฐอเมรกิ า (Progressive สาวชาวเช็กที่ช่ือ Marie Chytilova ในปีEra) ท่ีซึ่งเขาท�ำ งานดา้ นการออกแบบออกมา ค.ศ. 1906 ซง่ึ ภายหลงั พวกเขามีลกู สาวและควบค่ไู ปกับการสอนวาดภาพและองคป์ ระกอบที่ ลูกชายดว้ ยกนั นอกจากนี้ มคู ายังได้พบกบัสถาบนั ศิลปะชิคาโกดว้ ย ชาลส์ รชิ าร์ด เครน นกั อตุ สาหกรรมชาว อเมรกิ นั ผู้ร�ำ่ รวยและสนับสนุนให้เขาวาดภาพ ประวตั ิศาสตรส์ าธารณรฐั เชก็ โดยไมเ่ ก่ยี งเรอ่ื ง ค่าใชจ้ า่ ยและราคาSelf-portrait with the mirrored image of his wife Maruska (photomontage),Zbiroh Castle, West Bohemia (Early 1920s) 19

ALPHONSE MARIA MUCHA ในปี ค.ศ. 1910 มคู าและครอบครวั ละครเยอรมนั ในนิวยอร์กในปี ค.ศ. 1908 และเดนิ ทางกลบั ประเทศบ้านเกิด ที่ซึง่ เขาทำ�ผล งานภาพฝาผนังให้กับศาลาว่าการกรุงปรากงานชิ้นสดุ ทา้ ย ทนี่ ่าจะได้รบั แรงบันดาลใจและ โดยผลงานชน้ิ สดุ ท้ายนช้ี ่ือว่า “The Slavมพี น้ื ฐานมาจากผลงานดา้ นประวัตศิ าสตรก์ อ่ น Epic” ภาพแห่งประวัตศิ าสตรแ์ ห่งมหากาพย์ๆ ของเขาเอง เช่น ปี ค.ศ. 1880 งานภาพ ชนชาตสิ ลาฟ ซ่ึงเป็นผลงานท่ีครอบงำ�การปูนเปียก (fresco) ทีเ่ อมมาโฮฟในโมเรเวีย, ทำ�งานของมคู าในชว่ งสดุ ท้ายของชวี ิตภาพฝาผนงั ท่งี านนทิ รรศการนานาชาติ กรงุปารสี ในปี ค.ศ. 1900, งานตกแตง่ ภายในโรง Self-portrait, working on a mural for the Lord Mayor’s Hall, Obecní dům, Prague (1910-1911)21

ชว่ งปลายปี ค.ศ. 1930 ลัทธฟิ าสซสิ ต์เร่ิมมอี ำ�นาจมากขนึ้ และมองว่าผลงาน “TheSlav Epic” ของมูคามีแนวคิดชาตินิยม สลาฟ หากมองในแงร่ ้ายกเ็ ปน็ การขดั ต่ออำ�นาจของลัทธิ และเมือ่ กองทัพนาซยี า้ ยเข้าไปอยใู่ นสโลวาเกีย มคู าเปน็ คนแรกที่กองทพั จบั ตัวไปสอบปากค�ำ แต่เมอ่ื พบว่ามคู าป่วยด้วยโรคปอดบวมจงึ ไดร้ ับการปล่อยตัวในที่สดุ ท�ำ ให้เชื่อกนั ว่า เขาอาจจะไดร้ บั การกระทำ�กระเทือนจากเหตกุ ารณ์ น้ี จนทำ�ใหเ้ ขาเสียชีวติ เนอื่ งจากปอด ติดเช้อื ในวนั ที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1939 ไม่นาน กอ่ นทจ่ี ะเกดิ การ รุกรานของสโลวาเกียโดย กองทัพเยอรมนั เปน็ ทนี่ ่าสงั เกตว่า ตลอดชวี ิตการท�ำ งานศิลปะ ของมูคา แทบจะไม่มีเวลาSelf-portrait, Prague (1930s) ไหนเลยท่เี ขาได้หยดุ สร้างงาน ซง่ึ ผลงานของเขากจ็ ะมรี ูปแบบทีเ่ ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั โดยผลงานนน้ั กม็ ีความแตกต่างกนั หลาย ๆ ด้าน ท้งั ศิลปะการออกแบบท่ีเป็นนวศิลป์อย่างสมบรู ณ์แบบ ซึ่งน�ำ เสนออยา่ งหลากหลายรปู แบบ ทั้งภาพโปสเตอร์ส�ำ หรับซารา แบรน์ าร์ตปฏทิ ิน ภาพประกอบหนังสอื นอกจากน้ี เขายงั มงี านด้านประวัตศิ าสตรซ์ ง่ึ ปรากฏผลงานตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1880เรือ่ ยมา ควบคูไ่ ปกับงานศลิ ปะการออกแบบและตกแต่ง 22

แนวคดิในการสร้างสรรคผ์ ลงาน ปลายครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 19 เน่อื งจากเขาเคยกลา่ วว่า โชคชะตา งานของมคู าส่วนใหญจ่ ะ ของเขานนั้ ดีทม่ี ีผอู้ ปุ ถัมภง์ านอยู่มีเอกลกั ษณ์ทีส่ วยงาม แสดงให้เหน็ เสมอ ดังนั้น งานในระยะน้ีของเขาถึงความแข็งแกร่งของหญงิ สาว กบั จงึ นบั ว่าเป็นการผสมผสานรูปแบบความพรว้ิ ไหวเบาบางของเส้อื ผา้ ความงานของศลิ ปะตะวันตกเข้ากับแบบลทั ธคิ ลาสสกิ ใหม่ (neoclas- จติ วิญาณของศิลปะตะวันออกได้sicism) และถูกมักจะแวดล้อมไป อยา่ งลงตัวดว้ ยดอกไม้นานาชนิด บางครงั้ อาจมีรศั มี (haloes) ปรากฏทด่ี า้ นหลังศรี ษะดว้ ย และความแตกต่างจากนักทำ�โปสเตอร์ทรี่ ่วมสมัยกบั มคูา คอื การใชส้ อี ่อน ซีดจาง (PastelColors) ในการทำ�งาน นอกจากนี้ งานของเขายงั แฝงไปดว้ ยจิตวญิ ญาณ โชคชะตา และความลึกลับ Poster for ‘Job’ cigarette paper (1896)23

ALPHONSE MARIA MUCHA Judgement of Paris(calendar for Vieillemard printing company) (1895) 24

คริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 มูคายงั คงทำ�งานออกแบบตกแต่งอยู่เชน่ เดมิ ทง้ั งานด้านการตกแตง่ ตามแนวนวศลิ ป์ และเขาได้ กล่าวไวว้ า่ ศิลปะไม่มีอะไรมากไปกวา่ เป็นเครอ่ื ง มือส่ือสารทางจิตวิญญาณ (Art exists only to communicate a spiritual message) Russia Restituenda [Russia Must Recover] (1922) Colour lithograph Portrait of Mucha's Daughter, Jaroslava (c.1927-1935) Oil on canvasALPHONSE MARIA MUCHA

ALPHONSE MARIA MUCHA แต่จากความผิดหวังท่ไี ด้รับผลกระจบจากพาณิชย์ศิลป์ เขาจงึ หนัมาใหค้ วามสนใจกบั งานศลิ ปท์ ่ีดสู งู สง่บรสิ ทุ ธแ์ิ ละงานศลิ ปะเช็กจากบา้ นเกิดของเขา และเขาเมือ่ ไดพ้ บกบั ชาลส์ ริชารด์ เครน ท่ีสนับสนนุ ใหเ้ ขาวาดภาพประวัติศาสตร์เช็ก นับจากนั้นเขาก็เร่มิสนในงานประวัติศาสตรม์ ากขนึ้ จากเดมิและคงสอดคลอ้ งกบั แนวความคดิ ของเขาท่ีว่า เม่อื อายมุ ากขน้ึ ก็อยากแสวงหาสิง่ ใหม่ ๆ ใหก้ บั ชีวิตหรือคดิ หวนสอู่ ดีตทอ่ี นั รุ่งเรืองทางประวัตศิ าสตร์ ทำ�ให้มคู าตัดสนิ ใจยา้ ยจากกรุงปารีสมาท่ี The Light of Hope (1933) Oil on canvasสหรฐั อเมรกิ า และท้ายทีส่ ุดกเ็ ดนิ ทางกลับบ้านเกิดสืบเนอ่ื งใหผ้ ลงานชว่ งปลายของชวี ติ มคู าน้ันมลี ักษณะท่เี ป็นภาพประวตั ศิ าสตร์ ที่สะทอ้ นแนวความคดิ ชาตินยิ ม เชน่ ผลงาน “The SlavEpic” ทเี่ ปน็ ภาพขนาดใหญ่ทีว่ าดเร่อื งราวแหง่ ประวตั ศิ าสตรแ์ หง่ มหากาพยช์ นชาติสลาฟทมี่ ีแนวคดิ ชาตนิ ยิ มอยา่ งชดั เจนนั่นเอง 'The Slav Epic' cycle No.1: The Slavs in Their Original Homeland (1912) Egg tempera on canvas 26

ALPHONSE MARIA MUCHA อัลโฟนส์ มูคาเปน็ ศลิ ปินทมี่ ีความสามารถสูงและประสบความเสร็จเปน็ อย่างมาก เขา ทำ�งานหลากหลายประเภท หลายสาขาวชิ า ท้ังในเชิงพาณิชยแ์ ละวจิ ติ รศลิ ป์ ภาพวาดรปู ผหู้ ญิง ดอกไม้ และธรรมชาตขิ องเขาเป็นที่รจู้ ักกนั ดี รวมไปถงึ ความมีสนุ ทรีศาสตร์และปรชั ญาในตวั สงู ผลิตผลงานออกมามากมายท้ังโปสเตอร์ ปา้ ยโฆษณา หนังสอื ออกแบบ อาทิการออกแบบเครอ่ื ง ประดับ พรม วอลเพเปอร์ และฉากเวที ซ่ึงผลงานตา่ งๆ เหลา่ นี้ไดร้ บั การเรียกในระยะแรกว่า แบบ อย่างมคู า (Mucha Style) แตต่ อ่ มาไดก้ ลายเป็นที่รู้จกั กันในชือ่ ของนวศิลป์ ผลงานของมคู ามคี วามเป็นเอกลักษณ์ สงู มาก แม้กาลเวลาจะผ่านพน้ ไป แต่ ปจั จุบนั ก็ยงั ได้รับความนยิ มและเป็นที่รู้ จักอยู่ และผลงานของเขาได้ส่งอทิ ธิพล ตอ่ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานในปัจจบุ ัน Movies Posters in the style of Art Nouveau artist Alphonse Mucha 27

งานวนั ศลิ ป์ พีระศรี ประจำ�ปี 2559 (124 ปี ศาสตราจารย์ศลิ ป์ พีระศร)ี มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากรวทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ โดยนักศกึ ษาคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ์ รุน่ ท่7ี 0

The Seasons: Spring (1900) Colour lithography

Alphonse Mucha’s Work 30

Gismonda 1894 Colour lithograph 216 x 74.2 cm31

Gismonda เปน็ ละครกรีกเมโลดรามา (หนังรกั ) สฉี่ าก โดย Victorien Sardou เปิดแสดงคร้ังแรกในปี 1894 ในช่วงฤดใู บไมร้ ว่ ง ที่ Théâtre de la Renaissance ในปารสี ซง่ึ ซารา แบร์นาร์ตเป็นทั้งนักแสดงและผู้กำ�กบั โปสเตอร์ Gismonda มคู าผลิตขึน้ เพื่อโปรโมทการแสดงนอ้ี กี ครงั้ ซง่ึ เปดิ ตวั ใน 4 มกราคม 1895 Sarah Bernhardt on stage in Gismonda Last Act ในภาพมูคาวาด แบรน์ าร์ตเปน็ หญงิ ไบแซนไทน์ท่ดี ูแปลกใหม่สวมใส่ชุดทสี่ วยงามและศรี ษะประดบั ด้วยกล้วยไม้ ในมกี า้ นปาลม์ เครอื่ งแต่งกายในภาพน้ไี ด้รบั การสวมใส่ในการแสดงรอบสดุ ทา้ ยท่ีเธอเข้าร่วมขบวนแหเ่ ทศกาลอสี เตอร์ ภาพน้ไี ด้แสดงออกถึงการสรา้ งสรรคเ์ อกลักษณเ์ ฉพาะตัวของมคู าเอง ซึ่งไดผ้ สมผสานสีและลายเส้นเขา้ ดว้ ยกันอย่างลงตัวแตกต่างจากภาพโปสเตอรท์ ัว่ ๆ ไปอยา่ งชดั เจน ภาพน้มี คู านา่ จะไดร้ บั แรงบันดาลใจมาจากสภาพแวดล้อมโดยรวมของเขาเอง ทอ่ี อกแบบจากประสบการณ์เพือ่ พัฒนาผลงานให้มคี วามชดั เจน โดยแสดงบุคลิกส่วนตวั ของ Sarah Bernhardt ในมุมมองของเขา แล้วน�ำ เธอเข้ากบั ภาพฉากละครท่ีอ่อนไหว ซง่ึ มคู านำ�มาพรรณนาเปน็ ภาพระหวา่ งทางทเ่ี ธอเดนิ ไปโบสถ์ ในบรรยากาศยุคศลิ ปะไบแซนไทน์ ส่ือความหมายว่านางเอกละคร SarahBernhardt บนเวทนี นั้ เป็นผเู้ คร่งศาสนาไม่ได้เปน็ แค่ผหู้ ญงิ ธรรมดา และเธอยังเปน็ สญั ลกั ษณ์ของความฝนั ทไ่ี มม่ ีทางเข้าถงึ ได้ ภาพโปสเตอรข์ องเขาได้ชว่ ยเสรมิ สรา้ งงานละครของนางเอกละครผูโ้ ดง่ ดงั อย่างลงตัว เป็นส่ือสมั ผัสถงึ อารมณ์ของละครคลาสสิกของฝรงั่ เศส ผสมผสานกับความเปน็ ตะวนั ออกและความลกึ ลับไม่ธรรมดาของละคร ALPHONSE MUCHA’s WORK

The Seasons(series) 1896 Spring Summer33

Media type : Posters Medium : Colour lithograph Date : 1896 Printer/Makers : F. Champenois, ParisAutumn Winter 34

The Seasons (series) (1896) คอืผลงานตกแต่งผนงั ชุดแรกทีก่ ลายเป็นหนงึ่ ในชดุ ผลงานทมี่ ชี ่อื เสียงของเขาเปน็ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากโรงพมิ พ์Champenois ให้ผลติ งานออกมาอยา่ งนอ้ ยสองชุดโดยใหอ้ ยู่ในธีมเดียวกันในปีค.ศ. 1897 และ 1900 Spring Autumn Summer แนวคิดทปี่ รากฏ ออกมาจาก The Seasons ไม่มีอะไรแปลกใหม่ เพราะ สามารถเหน็ ไดจ้ ากงานชิน้ ส�ำ คัญเกา่ ๆ ของเขาในส่ือสงิ่ พมิ พอ์ ่นื อยา่ งไรก็ตามภาพชุด น้เี ป็นเหมือนน�ำ ความงามของ สตรแี บบกรกี โรมันทด่ี คู ลาสสกิเขา้ มาผสมผสานกบั ความเปน็ ชนบท ซง่ึ สงิ่ ท่ีแสดงไม้ผลิ(Spring) ฤดรู ้อนท่ีอบอ้าว (Summer) ฤดูใบไมร้ ว่ งทีเ่ ต็มไปด้วยผลไม้ (Autumn) และฤดหู นาวที่หนาวจัด (Win-ter) ลงไปในภาพพร้อมกับสอื่ ถึงวฏั จกั รของธรรมชาตทิ ี่เวียนไปเรือ่ ย ๆ ได้อย่างกลมกลืน และดว้ ยองค์ประกอบที่มีความเรียบง่ายแบนราบชวนให้นึกถงึ เทคนิคแกะไม้(Woodcut) ของญี่ปุ่น อนั เปน็ การเผยให้เหน็ ถึงการน�ำงานศลิ ปะญป่ี ่นุ มาประยุกต์ใช้ Winter35

ALPHONSE MUCHA’s WORKThe Seasons (series) (1900) Lithography 36

Zodiac (1896) Media type: Decorative designs Medium: Colour lithograph Dimensions: 65.7 x 48.2 cm Printer/Makers: F. Champenois, Paris Zodiac เป็นงานแรกของมูคา ภายใต้สัญญากับโรงพิมพ์ Champenois และเดมิ ทมี นั ถกู ออกแบบมาเพอ่ื เปน็ ปฏทิ นิ ภายในบรษิ ทั ในส่วนขององคป์ ระกอบ มูคา วาดรูปเปน็ สญั ลักษณ์ราศที ้งั 12 ราศเี ปน็ วงกลมข้างหลังของศรี ษะผหู้ ญิงซง่ึ เปน็ ลวดลายตามแบบของมคู า ผหู้ ญงิ หันด้าน ข้างมีความสงา่ งามของเครื่องประดับทม่ี ี ลวดลายซบั ซอ้ นทอี่ ยบู่ นศรี ษะ การออกแบบที่โดดเด่นของปฏทิ ิน Zodiac ไดด้ งึ ดูดความสนใจของ Léon Des- champs, หัวหน้าบรรณาธกิ ารของ La Plume เขาซอ้ื ลิขสิทธม์ิ าแจกเปน็ ปฏทิ นิ ของนิตยสาร สำ�หรบั ปี 1897 และมันกก็ ลายเปน็ หนึง่ ในการออกแบบทีน่ ยิ มมากทส่ี ุดของ MuchaALPHONSE MUCHA’s WORK

Rêverie (1897) Media type: Decorative designs Medium: Colour lithograph Date: 1897 Dimensions: 72.7 x 55.2 cm Printer/Makers: F. Champenois, Paris เหมอื นกบั ภาพ Zodiac ที่ เดมิ ทีออกแบบเพอื่ ใชเ้ ป็นปฏทิ นิ ปี 1989 ในบริษทั Champenois แต่อยา่ งไรก็ ตาม ภาพนี้เปน็ ท่นี ยิ มทนั ทีทีน่ ติ ยสาร La Fume นำ�ไปตพี มิ พ์เป็นใหร้ ูจ้ ักใน แบบ Decorative Panel ด้วยชือ่ วา่ Rêverie (Daydream)การออกแบบของมูคาแสดงใหเ้ ห็นแววตาชวนฝนั ของหญงิ สาวทีก่ �ำ ลงั เปิดหนังสอื DecorativesDesign หรอื อาจจะแผน่ กระดาษตวั อยา่ งของโรงพมิ พ์ วงกลมดา้ นหลงั ของเธอโด่ดเด่นด้วยการตกแตง่ อย่างปราณตี สวยงามด้วยดอกไม้และกิง่ ก้าน และตอ่ มาก็กลายเป็นลายแพทเทิรน์ ลูกไม้ 38

Head of a Girl เคร่ืองประดบั Head of a Girl เปน็ รปู ปนั้ หญิงสาวครง่ึ ตัว มคู าท�ำ ขนึ้ เพอ่ื จัดแสดงในงาน นทิ รรศการนานาชาติ กรุงปารีสในปี ค.ศ. 1900 เป็นรูปปั้นที่รับแรงบนั ดาลใจประตมิ ากรรมใน สมยั ฟน้ื ฟศู ิลปวทิ ยา (Renaissance) แต่เลือกวัสดุเงนิ และเทคนิคการปิดทองทีท่ ันสมัยเพือ่ สรา้ ง ความโดดเด่นใหก้ บั รปู ปั้น ถึงแมไ้ มท่ ราบแนน่ อนวา่ มคู าตอ้ งการบรรยายถงึ ซารา แบรน์ าร์ต หรือ Cleo de Merode แตร่ ปู แบบนนั้ สะทอ้ นการออกแบบอยา่ งชาญฉลาด ด้วยการทำ�ผมยาว เปิด หน้าด้วยผมที่ม้วน ร่างกายเปลา่ เปลอื ย เสมอื นรูปรา่ งเปน็ รปู กรวย ใหค้ วามหมายทลี่ กึ ลบั ยากที่ จะหย่งั ถงึ เปน็ อีกหน่งึ ผลงานชิ้นเอกด้านการประดบั ตกแต่งงานปัน้ ของมูคา 39

Stained-glassWindow designed at St. Vitus Cathedral, Prague (Early 1930s) ขณะทง่ี านเฉลิมฉลองครบรอบพนั ปี ของวาตสลัฟที่ 1 ดกุ๊ แหง่ โบฮเี มีย (St. Wenceslas) ไดม้ ีการใหฟ้ ้ืนฟงู านกอทกิ ของมหาวหิ ารเซนตว์ ิตัส (St. Vitas Ca- thedral) แห่งปรากจนเสรจ็ สิน้ ในปี ค.ศ. 1929 โดยหน้าตา่ งประดบั กระจกสนี ้ีได้ ถูกติดตง้ั ในปี ค.ศ. 1931 ซง่ึ หนา้ ต่างจะ มภี าพเซนตว์ าสลฟั ในวัยเดก็ กับคณุ ยาย ของเขาอยใู่ จกลางภาพแวดลอ้ มไปด้วย ฉากเหตการณ์ของนกั บุญซรี ลิ (Saints Cyril) และเมโทดิอสุ (Methodius) ที่ เผยแพร่ศาสนาครสิ ต์อยูท่ า่ มกลางชาว สลาฟ ซึง่ น้จี ะอย่ดู า้ นล่างของเยซูคริสต์ เสมอ และเป็นสญั ลักษณ์ของธนาคาร ชาวสลาฟที่ใหก้ ารสนบั สนุนเงนิ ทนุ ใน การสรา้ งหนา้ ตา่ งประดับกระจกสีน้ีALPHONSE MUCHA’s WORK

Documents DecorativesBook หนังสอื ท่มี คู าจดั ท�ำ ต้ังแตป่ ี ค.ศ. 1900 ตีพมิ พค์ รง้ั แรกเมือ่ ค.ศ. 1902 มเี น้อื หาเก่ียวกบั นวศลิ ป์ หนงั สือจดั ท�ำ คลา้ ยกับเป็นสารานุกรมของงานประดบั ตกแต่งของมูคา เป็นการรวบรวม ผลงานออกแบบตง้ั แตเ่ ริ่มจนกระทั่งข้นั ออกมาเปน็ ผลงาน สะทอ้ นให้เหน็ วา่ ผลงานของเขาเร่มิ ตน้ ด้วยการศึกษาธรรมชาติ ภาพตน้ ไม้ ดอกไม้ และผลไม้ แลว้ จงึ พัฒนาภาพธรรมชาติมาเปน็ รูป ทรงในการออกแบบ และใชภ้ าพเดียวกันวางไว้ทว่ั ๆ งานทงั้ งานพมิ พ์ งานโลหะ และงานหนงั หนังสอื เล่มน้เี หมาะแกก่ ารใชใ้ นการประกอบการเรียนศิลปะสำ�หรับผู้เรมิ่ ศึกษา เพราะ ทำ�ให้นักเรียนรู้เปน็ ขัน้ ตอน จากการเขา้ ใจธรรมชาติไปสู่การสร้างผลงานท่ีเสรจ็ สมบรู ณ์ 41

Figures Decoratives Book หนงั สอื ท่ีมคู าจดั ท�ำ ข้นึ ในชว่ งเวลา เดยี วกนั กบั หนงั สือ Documents Decoratives แต่ Figures Decora- tives จะเป็นการรวบรวมผลงานภาพ สรีระของมนุษย์ ภายในระยะเวลา การทำ�งาน 4 ปี เขาได้รวบรวมกรยิ า ทา่ ทางไวม้ ากมาย ซึง่ ตีพิมพค์ วบคู่ ไปด้วยรปู ทรงทางเรขาคณิตอนั เป็น โครงของท่าทางเหล่านน้ั ภาพส่วน ใหญ่จะเปน็ ภาพเดก็ ๆ และหญงิ สาว ในอิรยิ าบถต่าง ๆ บางภาพเปน็ ภาพเปลือย บางภาพมีผา้ พนั ร่างกายเป็นบางส่วน และบางภาพก็แต่งตัวเต็มยศ ลักษณะการวาดภาพเหล่านีเ้ ป็นการวาดด้วยดนิ สอใช้ลายเสน้ งา่ ย ๆ นกั วิชาการบางท่านกลา่ วว่า งานของมคู ามเี สนห่ ์เย้ายวนและลกึ ลับ คาดวา่ เป็นอิทธิพลจากเหลา่ นางแบบเชื้อสายสลาฟการทำ�หนังสือเล่มนเ้ี ป็นเหมอื นพ้นื ฐานที่ดีในการส่งเสริมให้มูคาประสบความสำ�เรจ็ ทัง้ ในการเป็นนกั วาดภาพประกอบและการเป็นครู เป็นหนงั สือสำ�หรบั นกั ออกแบบทีต่ อ้ งการแรงบนั ดาลใจเพ่อืไปพัฒนางานของตน เพราะลายเสน้ ของมคู าหนงั สือเปน็ งานทเ่ี หมาะแก่การศึกษาตามความเปน็จริงมากกว่าสดั สว่ นในอดุ มคติของรา่ งกาย ALPHONSE MUCHA’s WORK

The Slav Epic Mucha working on the canvas 'The Coronation of the Serbian Tsar Štepán Dušan as East Roman Emperor' (The Slav Epic cycle No.6, 1924) \"The Slav Epic\" (ผลงานช้ินเอกชิน้ หนง่ึ ของมูคา เปน็ ภาพแหง่ ประวตั ศิ าสตรช์ นชาติ สลาฟยุโรปตะวนั ออก) มีท้ังหมด 20 ภาพ วาดชว่ งปี ค.ศ. 1910-1928 ก่อนทเี่ ขาจะลงมอื วาดผล งานชุดน้ี เขากไ็ ดอ้ อกศึกษาประวัตศิ าสตร์ดว้ ยการไปเยือนสถานทีต่ า่ ง ๆ ท้งั รสั เซยี โปแลนด์ และ คาบสมทุ รบอลขา่ นเพ่อื ให้แนใ่ จในความถกู ตอ้ ง และทยอยสง่ ภาพทเ่ี สรจ็ ไปจัดแสดงทัง้ ในกรุง ปราก นวิ ยอรก์ และชิคาโก ซ่ึงได้รบั การตอบรบั และเสียงชนื่ ชมจากผคู้ นเป็นอยา่ งมาก43

รายช่อื ภาพทงั้ 20 ภาพ1.Slavs in their Original Homeland 2.The Celebration of Svantovit 3.The Introduction of the Slavonic Liturgy4.The Bulgarian Tsar Simeon5.The Bohemian King Přemysl Otakar II6.The Coronation of the Serbian Tsar Stefan Dušan as East Roman Emperor7.Jan Milíč of Kroměříž 8.Master Jan Hus Preaching at the Bethlehem Chapel9.The Meeting at Křížky 10.After the Battle of Grunwald Mucha posing as Jan Hus for 'Master Jan Hus11.After the Battle of Vítkov Hill Preaching at the Bethlehem Chapel' (The Slav12.Petr Chelčický at Vodňany Epic cycle No.8, 1916)13.The Hussite King Jiří ofPoděbrady14.Defense of Sziget against the13Turks by Nicholas Zrinsky15.The Printing of the Bible ofKralice in Ivančice16.The Last days of Jan Amos16Komenský in Naarden17.Holy Mount Athos18.The Oath of Omladina Underthe Slavic Linden Tree 19.The Abolition of Serfdom inRussia20. Apotheosis of the Slavs

'The Slav Epic' cycle No.1: The Slavs in Their Original Homeland (1912) Egg tempera on canvasดว้ ยผลงานชนิ้ นเี้ อง ที่กอ่ ปัญหาให้กับเขาในช่วงสดุ ท้ายของชวี ติ เนอ่ื งจากเปน็ งานดา้ นประวัตศิ าสตรท์ ่สี ะทอ้ นแนวความคดิ ชาตินยิ มอย่างชัดเจน ซง่ึ ขดั ตอ่ อำ�นาจทางการเมอื งของลทั ธิฟาสซสิ ต์ (มอี ำ�นาจชว่ งปี ค.ศ. 1929-1945) และเมือ่ กองทัพนาซยี ้ายเข้าไปอยูใ่ นสโลวาเกยี มคู าเป็นคนแรกทกี่ องทพั จับตวั ไปสอบปากคำ� แต่กไ็ ด้รับการปล่อยตวั เนื่องจากเขาปว่ ย ทำ�ให้เชื่อกนัวา่ เหตกุ ารณ์นี้สง่ ผลกระทบกระเทอื นต่อเขามากและท�ำ ใหเ้ ขาเสยี ชีวิตลงในที่สดุ ‘The Slav Epic’ cycle No.2: The Celebration of Svantovit (1912)

ALPHONSE MUCHA’s WORKในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 (ตง้ั แตป่ ี ค.ศ. 1939-1945) ผลงาน \"The Slav Epic\" ถกู นำ�มาเกบ็ซอ่ นไว้เพ่อื ปอ้ งกนั การท�ำ ลายจากนาซี และดว้ ยบรบิ ทสงั คมในตอนน้ันท่นี าซมี ีอ�ำ นาจมาก ทำ�ให้มูคาถูกมองว่าเป็นแคศ่ ิลปนิ ช้ันรอง ไม่ได้ยกย่องใด ๆ เพราะงานของเขาเหนิ หา่ งจากแนวความคดิ แบบสงั คมนิยมทีเ่ ปน็ แนวปฏบิ ตั ิของผปู้ กครองกรงุ ปรากในชว่ งนี้ หลังสงครามสิน้ สดุ นาซหี มดอำ�นาจ ผลงานชดุ นถี้ งึ ถูกน�ำ มาจดั แสดงในภายหลัง Mucha with the Slav Epic canvases exhibited in the the Klementinum, Prague (1919) 46

ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 2012 ทผ่ี า่ นมา ผลงาน \"The Slav Epic\" ท้ังหมด 20 ชนิ้ กไ็ ดน้ ำ�มาจัด แสดงอีกคร้ังบริเวณชั้นลา่ งของพระราชวงั Veletržní ในกรุงปราก นิทรรศการท่ีจัดโดยหอศิลป์ แหง่ ชาติ การจดั แสดงผลงาน “The Slav Epic” ในกรุงปราก เม่อื กรกฎาคม 201247

ALPHONSE MUCHA’s WORK'The Slav Epic' cycle No.20: The Apotheosis of the Slavs, Slavs for Humanity (1926) 48

Reference แมมมอธ. มูชา ศลิ ปินอาร์ตนโู ว. กรุงเทพฯ : เมเจอรอ์ าร์ต, 2544. เลนญา่ จิวเวลร่ี. (24 สิงหาคม 2559). อาร์ต นูโว ศิลปะเหนือจินตนาการ ผสานความเป็น ธรรมชาติ. เข้าถึงไดจ้ าก เลนญ่า จวิ เวลรี่: http://www.lenyajewelry.co.th/Knowledge- View-235-อาร์ต_นโู ว_ศิลปะเหนือจินตนาการ_ผสานความเปน็ ธรรมชาติ.html พมิ พ์ชนก ววิ ัฒนศิร.ิ (2 สงิ หาคม 2559). Alfons Maria Mucha. เขา้ ถึงไดจ้ าก PUBHTML5: http://pubhtml5.com/yunn/siox/basic บ้านจอมยทุ ธ.์ (n.d.). ศลิ ปะเครือ่ งประดบั อาร์ตนโู ว (Art Nouveau). เข้าถงึ ไดจ้ าก บ้านจอม ยุทธ์: http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/art_history/43.html kanone. (6 มถิ ุนายน 2554). ลวดลาย เส้นสาย สไตล์ อารต์ นโู ว ของอัลฟอนส์ มูชา. เขา้ ถึงได้ จาก Thaitop Wedding: http://www.thaitopwedding.com/wedding/อาร์ต-นูโว-อลั ฟอน ส์-มชู า.html Mirror Production. (15 กนั ยายน 2559). ๑๒๔ ปี วนั ศาสตราจารยศ์ ลิ ป์ พีระศร.ี เข้าถึงได้ จาก Facebook: https://web.facebook.com/pg/MirrorProductionSU/photos/?tab=al- bum&album_id=1774566109427281 bell123456. (23 กรกฎาคม 2558). อาร์ตนโู ว. เขา้ ถึงไดจ้ าก Docslide: http://documents. tips/documents/-55b060011a28aba2668b47b7.html northtempest. (28 เมษายน 2556). ALPHONSE MUCHA อัลฟอนเซ่ มคู ฮะ ศิลปินเอกของ เช็ก. เข้าถงึ ได้จาก Let’s Czech: http://letsczech.com/2013/04/28/mucha/ Wikipedia. (5 มถิ นุ ายน 2558). อัลโฟนส์ มูคา. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก Wikipedia: https://th.wikipe- dia.org/wiki/อัลโฟนส์_มคู า zmarn. (25 พฤษภาคม 2555). ย้อนไปสมยั Art Nouveau ท่เี ค้าว่านแี่ หละคือศิลปะแนวใหม.่ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก MODxTOY: http://www.modxtoy.com/v1/?showtopic=18496949


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook