บทท่ี 3 รายงาน เรอื่ งหลักทรพั ย์ในความต้องการของตลาด จัดทาโดย นางสาวจริ สุตา อนิ วงศ์ เลขท่ี 4 ระดับช้ันประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ชั้นสงู เสนอ อาจารย์ สายฝน สายประสิทธ์ิ รายงานฉบับนี้เปน็ ส่วนหน่ึงของรายวชิ าการบญั ชชี นั้ กลาง 1 รหสั วชิ า 3201 - 2001 สาขาวิชาการบญั ชี แผนกพณิชยการ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2563 วทิ ทยาลยั เทคนิคเทงิ
คำนำ รายงานฉบับน้ีเป็นส่วนหนึ่งของวิชาการบัญชีช้ันกลาง 1 ระดับช้ันปวส.1โดยมีจุดประสงค์ เพ่ือ การศึกษาความรทู้ ีไ่ ดจ้ าก เรอ่ื งหลักทรพั ย์ในความตอ้ งการของตลาด ซ่ึงรายงานนี้มีเน้ือหาเกี่ยวกับความรู้ สินทรพั ย์ทางการเงินทซ่ี ื้อขายได้ มคี วามหมายทว่ั ไป คือเป็นรปู แบบตา่ ง ๆ ของเครอื่ งมอื ทางการเงนิ ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อน้ีในการทารายงาน เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองที่น่าสนใจ ผู้ให้ความรู้ และ แนวทางการศึกษาและเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆคน หากมีข้อแนะนาหรือข้อผิดพลาดประการใด ผจู้ ัดทาขอนอ้ มรบั ไว้และขออภัยมา ณ ที่นด้ี ว้ ย นางสาว จิรสุตา อินวงศ์
สำรบัญ หลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาด 4 ประเภทของหลกั ทรัพย์ 4 ความหมายของหลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาด 4 ขนั ้ ตอน หรือวธิ ีการซือ้ ขายหลกั ทรัพย์ 5-6 การจาแนกหลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาด 7 วธิ ีการจาแนกหรือจดั ประเภทหลกั ทรัพย์ประเภทหมนุ เวียนและไมห่ มนุ เวียน 8 การบนั ทกึ บญั ชีเกี่ยวกบั หลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทหมนุ เวียน และไมห่ มนุ เวียน 9 การโอนเปลีย่ นประเภทหลกั ทรัพย์ 10 การเปรียบเทียบราคาทนุ รวมหรือราคาตลาดรวมที่ต่ากวา่ ณ วนั ที่ในงบดลุ 11 การบนั ทกึ บญั ชีกรณีราคาตลาดรวมสงู ขนึ ้ 12-13 การแสดงรายการในงบการเงิน 14-15 บทสรุป 16
หลักทรพั ยใ์ นความตอ้ งการของตลาด หลักทรัพย์ คอื สนิ ทรพั ยท์ างการเงินทซี่ ้ือขายได้ มคี วามหมายทั่วไป คอื เป็นรูปแบบตา่ ง ๆ ของเคร่อื งมอื ทางการเงนิ แตใ่ นทาง กฎหมายแลว้ มีขอบเขตอานาจตามกฎหมายทีต่ ่างกนั ไป ในบางประเทศ ใชเ้ ป็นความหมายที่ใชก้ ันเปน็ สานวนพูดในชวี ติ ประจาวนั ที่หมายถงึ เครื่องมอื ทางการเงิน แมท้ างกฎหมายและข้อบังคบั ทางสงั คมอาจจะไมไ่ ด้กวา้ งขนาดน้นั ในบางแหง่ มีความหมายเฉพาะเจาะจงว่าเป็นห้นุ และ เคร่อื งมอื ตราสารหน้ี ในบางแหง่ ไดร้ วมสิ่งท่ีใกล้เคียงกบั ห้นุ และตราสารหนี้ไปดว้ ย 1.ตั๋วเงนิ คลัง 2.พนั ธบัตร 3.หุ้นหรือหุ้นกู้ 4.ใบสาคัญแสดงสทิ ธใิ นเงินปนั ผล หรือดอกเบย้ี จากหลกั ทรพั ย์ 5.ตราสารหรอื หลักฐานแสดงสิทธใิ นทรพั ยส์ ิน 6.ตราสารอนื่ ใด ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง ประเภทของหลกั ทรัพย์ หลักทรพั ยม์ ี 2 ประเภท คือ 1. หลักทรพั ย์ประเภทห้นุ ทนุ หมายถงึ หลกั ทรพั ย์ที่แสดงความเปน็ เจา้ ของในทุน ของกจิ การ เชน่ หุ้นสามัญของ ธนาคารกรุงเทพ จากดั (มหาชน) หุ้นสามัญของบรษิ ทั ปนู ซเี มนตไ์ ทย จากัด (มหาชน) หนุ้ บรุ ิมสทิ ธิ ธนาคารศรีนคร จากัด (มหาชน) เป็นต้น 2. หลกั ทรพั ย์ประเภทหนี้ หมายถึง หลกั ทรัพยท์ ่ีแสดงความเปน็ หนตี้ ่อกนั เชน่ หนั กู้ ธนาคาร กสิกรไทย จากดั (มหาชน) ความหมายของหลกั ทรพั ย์ในความตอ้ งการของตลาด หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด (Marketable securities) หมายถงึ หลกั ทรัพย์ ท่มี ีราคาขาย หรอื ราคาเสนอซ้ือ หรือเสนอ ขายท่ตี ลาดหลกั ทรัพยแ์ ห่งประเทศไทย (Stock Exchange of Thailand = SET) หรอื ต่างประเทศ ถา้ มลี กั ษณะเปรียบเทยี บไดก้ บั ตลาดหลกั ทรพั ย์ แห่งประเทศไทย และเพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ขอยกตวั อย่างดงั ต่อไปนี้
ตา่ งประเทศ ถา้ มลี ักษณะเปรียบเทยี บได้กบั ตลาดหลกั ทรพั ย์ แห่งประเทศไทย และเพื่อให้เขา้ ใจงา่ ย ขอยกตวั อย่างดงั ต่อไปน้ี ตวั อยำ่ ง คณะกรรมการของ บริษัท ก. จากดั ไดม้ ีมตใิ ห้ลงทุนซ้ือห้นุ สามญั ในตลาด หลกั ทรพั ย์แหง่ ประเทศไทย ในวงเงินไม่เกนิ 50 ลา้ นบาท โดยมอบหมายให้ นาย ข. กรรมการ ผจู้ ัดการบริษทั ไปพจิ ารณาการ ลงทุนดังกลา่ วตามตัวอย่างน้ี นาย ข จะต้องเปิดบญั ชีทีบ่ รษิ ัท เงินทนุ หลกั ทรพั ย์ หรอื บรษิ ทั หลกั ทรัพย์ ท่ไี ดร้ บั อนญุ าตจาก SET ใหส้ ามารถเปน็ นายหน้าซ้อื ขายหลกั ทรัพย์ (BROKER) ได้ ซ่งึ ปัจจบุ ันมอี ยู่ จานวน 28 บริษัท เชน่ บริษัทหลักทรัพย์ แอ็คคนิ สัน จากัด, บรษิ ทั หลกั ทรัพย์ เจ.เอฟ ธนาคม จากัด เปน็ ต้น ซ่งึ จะกาหนดระเบยี บวธิ กี ารปฏิบตั ิเกีย่ วกับการซือ้ ขายหลักทรพั ย์ไว้ เชน่ ตอ้ งมเี งนิ สดค้า ประกนั อยา่ งต่า 200,000 บาท
สรปุ ข้นั ตอน หรอื วธิ ีกำรซื้อขำยหลกั ทรพั ย์
การจาแนกหลกั ทรพั ยใ์ นความต้องการของตลาด 2 ประเภท คือ หลกั ทรัพยใ์ นความต้องการของตลาดสามารถจาแนกหรอื จดั แบง่ เปน็ 2 ประเภท หลักทรัพยป์ ระเภทหมุนเวยี น และหลกั ทรัพยป์ ระเภทไมห่ มุนเวยี น ซ่งึ หลักทรัพย์หน่ึงหลักทรัพยใ์ ด สามารถเปน็ ไดท้ ้งั หมุนเวยี นและไมห่ มนุ เวยี น ท้งั นข้ี ึน้ อยกู่ บั หลักเกณฑ์ดังต่อไปน้ี
ตัวอย่างที่ 1 บริษัท พอ่ ขนุ จากดั ได้ซือ้ หลกั ทรัพย์ โดยมีรายละเอียดดงั นี ้ • วนั ที่ 21 พ.ย. 2545 ซือ้ ห้นุ สามญั ธนาคารกรุงไทย จากดั 1,000 ห้นุ เพ่ือต้องการเก็งกาไรในระยะสนั ้ • วนั ท่ี 25 พ.ย. 2545 ซือ้ ห้นุ สามญั ธนาคารกสกิ รไทย จากดั 2,000 ห้นุ โดย มวี ตั ถปุ ระสงค์ เพื่อเป็นการลงทนุ ระยะยาว เกินกวา่ 1 ปีขนึ ้ ไป วธิ ีการจาแนกหรือจดั ประเภทหลกั ทรัพย์ประเภทหมนุ เวียนและไมห่ มนุ เวยี น
การบนั ทึกบญั ชีเก่ยี วกับหลักทรพั ยใ์ นความต้องการของตลาดประเภทหมุนเวยี น และไม่หมุนเวยี น วิธีการบันทกึ บญั ชหี ลกั ทรัพยใ์ นความต้องการของตลาด หมุนเวยี น และไมป่ ระเภท หมุนเวียน มีดงั นี้
การโอนเปลย่ี นประเภทหลักทรพั ย์ ในกรณีที่มีการโอนเปลยี่ นประเภทหลักทรัพย์ระหว่าง หมนุ เวยี น และ ไมห่ มุนเวยี น ให้ ใชร้ าคาทุนหรอื ราคาตลาดทตี่ า่ กว่าเป็น ราคาทุนใหม่ และให้บนั ทกึ ผลต่างระหว่าง ราคาทุนใหม่ กับราคาทุนเก่าเปน็ ผลขาดทนุ ทเี่ กดิ ข้นึ แล้ว ตัวอย่างท่ี 2 บริษัท ก. จากัด ซ้ือห้นุ สามัญ ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) 1,000 หนุ้ @50 บาท ซึ่งเดิมได้บนั ทึกไว้ในประเภทหลกั ทรัพยไ์ ม่หมนุ เวียน ตอ่ มา ได้โอนเปล่ียนเปน็ ประเภทหมนุ เวียน ซง่ึ ราคาตลาด ณ วนั โอน หนุ้ ละ 48 บาท วิธกี ารบันทกึ บัญชี วนั ซ้อื เดบิต หลักทรพั ย์หนุ้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด – ไมห่ มนุ เวียน 50,000 เครดติ เงนิ สด 50,000 วันโอนเปลย่ี นประเภทหลกั ทรพั ย์ เดบิต หลักทรัพยห์ ุ้นทนุ ในความตอ้ งการของตลาด – หมุนเวยี น 48,000 ขาดทนุ จากการโอนระหว่างหลกั ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวียนกับหมนุ เวียน 2,000 เครดติ หลกั ทรัพย์หุ้นทุนในความต้องการของตลาด – ไม่หมุนเวียน 50,000 การแสดงรายการในงบการเงนิ งบกาไรขาดทนุ คา่ ใช้จ่าย ขาดทนุ จากการโอนระหว่างหลกั ทรัพยไ์ มห่ มนุ เวียนกับหมุนเวยี น 2,000 งบดลุ สนิ ทรพั ยห์ มนุ เวยี น หลักทรัพย์หุน้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด-หมนุ เวยี น 48,000
การเปรียบเทยี บราคาทนุ รวมหรือราคาตลาดรวมท่ตี ่ากว่า ณ วันท่ใี นงบดุล ณ วนท่ีในงบดลุ ให้แสดงหลักทรัพย์ ในความต้องการของตลาด ด้วยราคาทนุ รวม หรือราคาตลาดรวมท่ตี ่ากว่า ผลต่างถ้าเป็ น หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ประเภทหมุนเวียน ให้นาไปรวมคานวณกาไรสุทธิ และถ้าเป็ นหลักทรัพย์ในความ ต้องการของ ตลาดประเภทไม่หมุนเวียน ให้นาไปหกั จากส่วนของผู้ถอื ห้นุ (ในกรณีที่ ราคาตลาดรวมสงู กว่าราคาทนุ รวม หลกั การบญั ชีฯ จะไม่บนั ทกึ เป็น กาไรของหลกั ทรัพย์นนั้ เน่ืองจากไมไ่ ด้เป็นกาไรที่เกิดขนึ ้ จริง แตจ่ ะบนั ทกึ กาไรเมื่อได้ขายหลกั ทรัพย์นนั้ แล้ว) ตัวอย่างท่ี 3 บริษัท ก.จากดั มีรายละเอียดข้อมลู เกี่ยวกบั หลกั ทรัพย์ห้นุ ทนุ ในความต้องการ ของตลาด ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2545 ดงั นี ้ หลักทรัพย์ห้นุ ทนุ ประเภทหมุนเวียน ราคาทนุ ราคาตลาด กาไรขาดทนุ ท่ยี ังไม่เกดิ ห้นุ สามญั ธนาคาร กรุงเทพ จากดั 100,000 120,000 20,000 (มหาชน) ห้นุ สามญั ธนาคาร กรุงเทพ จากดั 80,000 60,000 (20,000) (มหาชน) ห้นุ สามญั บริษัท ปนู ซิเมนต์ไทย 60,000 50,000 (10,000) จากดั (มหาชน) รวม 240,000 230,000 (10,000) หลักทรัพย์ห้นุ ทุนประเภทไม่หมุนเวียน ห้นุ สามญั บริษัท ชินวตั ร จากดั 40,000 50,000 10,000 (มหาชน) ห้นุ สามญั บริษัทเงินทนุ ธนชาติ 30,000 20,000 (10,000) จากดั (มหาชน) ห้นุ สามญั บริษัท ที พี ไอ โพลีน 70,000 65,000 (5,000) จากดั (มหาชน) รวม 140,000 135,000 (5,000)
การบันทึกบัญชกี รณีราคาตลาดรวมสงู ข้ึน ในกรณีท่ีการลดราคาหลกั ทรพั ยห์ ุน้ ทนุ ในความตอ้ งการของตลาด เพราะ ราคาตลาด รวมตา่ กว่า ราคาทนุ รวม หากต่อมา ราคาตลาด รวมสูงขึ้น มาตรฐานการบญั ชี ให้ปรบั ราคาหลักทรพั ย์ใหส้ ูงข้นึ ได้ แต่ไม่เกนิ ราคาทุนเดิมเทา่ นน้ั ตวั อยา่ งท่ี 4 ในวนั ท่ี 1 ตลุ าคม 2545 บรษิ ัท ก. จากัด ได้ซอื้ หลกั ทรัพย์หนุ้ ทุน ราคาทุน รวม 80,000 บาท ณ วนั สิน้ งวดบญั ชี 31 ธนั วาคม 2545 มีราคาตลาด รวม 77,000 บาท และในปี 2546 ราคาตลาดรวมไดส้ งู ขน้ึ เป็น 90,000 บาท การบนั ทกึ บญั ชี 2545 ธ.ค. 31 เดบิต ขาดทุนสทุ ธทิ ย่ี งั ไม่เกดิ ขน้ึ จากหลักทรัพยห์ ุน้ ทุน ในความต้องการของตลาดประเภทหมนุ เวยี น (80,000 - 77,000) 3,000 เครดติ ค่าเผือ่ การลดราคาหลกั ทรัพย์หุน้ ทุน ความต้องการของตลาดประเภทหมนุ เวียน 3,000 งบกาไรขาดทนุ คา่ ใช้จา่ ย ขาดทุนสุทธทิ ยี่ ังไม่เกิดข้นึ จากหลกั ทรพั ย์ หนุ้ ทุนในความตอ้ งการของตลาดประเภท หมุนเวียน 3,000 งบดุล สินทรพั ยห์ มนุ เวียน เงินลงทุนในหลกั ทรพั ย์หุ้นทุนในความตอ้ งการของตลาด ประเภทหมุนเวียน 80,000 หัก ค่าเพื่อการลดราคาฯ 3,000 77,000
ปี 2546 ปรับราคาทนใหส้ ูงเทา่ ราคาตลาดแต่ไมเ่ กนิ ราคาทุนเดมิ เดบิต ค่าเผื่อการลดราคาหลกั ทรพั ยห์ ุ้นทุนในความต้องการ ของตลาดประเภทหมุนเวียน 3,000 เครดติ กาไรสุทธทิ ่ียังไม่เกดิ จากการที่ตลาด ฟื้นตวั สาหรบั หลกั ทรัพยห์ ุ้นทนุ ในความ ต้องการของตลาดประเภทหมุนเวียน 3,000 3,000 งบกาไรขาดทุน รายไดอ้ ่ืน กาไรสุทธทิ ี่ยงั ไม่เกดิ จากการทีต่ ลาดฟ้นื ตัว สาหรับหลกั ทรพั ยห์ นุ้ ทุนในความตอ้ งการ ของตลาดประเภทหมุนเวียน งบดลุ สนิ ทรัพย์หมนุ เวียน เงนิ ลงทุนในหลกั ทรัพยห์ นุ้ ทนุ ในความตอ้ งการ ของตลาดประเภทหมุนเวยี น 80,000
กำรแสดงรำยกำรในงบกำรเงิน ณ วนั ทใ่ี นงบการเงนิ ใหแ้ สดงหลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาดดว้ ยราคาทนุ หรอื ราคาตลาดท่ีต่ากว่า ดงั นี้ กรณจี ดั ประเภทเป็นหลกั ทรัพยห์ มนุ เวียน บรษิ ัท………………………………………..จากัด งบดุล ณ วนั ที่……………………………………… สินทรัพย์ สินทรัพย์หมนุ เวยี น เงินสดและเงนิ ฝากธนาคาร xx หลกั ทรพั ยห์ ุ้นทุนในความต้องการของตลาด xx หัก คา่ เพอ่ื การลดราคาหลักทรัพย์ xx ลกู หนกี้ ารค้าและตัว๋ เงิน xx สนิ คา้ คงเหลอื xx วสั ดุสานกั งาน xx รายได้ค้างรบั xx คา่ ใชจ้ ่ายจา่ ยลว่ งหน้า xx รวมสนิ ทรัพยห์ มุนเวยี น xx งบกำไรขำดทุน รำยได้ ค่ำใช้จ่ำย ขาดทุนสุทธิทีย่ งั ไม่เกดิ ขึ้นจากหลักทรพั ยฯ์
กรณีจดั ประเภทเปน็ หลักทรัพยไ์ ม่หมนุ เวยี น บริษัท………………………………………จากัด งบดุล ณ วันที่ ………………………………………………….. สินทรพั ย์ สินทรพั ย์หมุนเวยี น สนิ ทรัพยไ์ ม่หมุนเวยี น หลกั ทรพั ยห์ นุ้ ทุนในความตอ้ งการของตลาด ประเภทไมห่ มนุ เวยี น xx หกั คา่ เผอ่ื การลดราคาหลักทรพั ย์ฯ xx หน้ีสินและสว่ นของผู้ถอื ห้นุ สว่ นของผูถ้ ือห้นุ ทนุ เรือนหุ้น xx ส่วนเกินมูลคา่ ห้นุ xx กาไรสะสม xx รวมสว่ นของผถู้ ือห้นุ xx หัก ขาดทุนสุทธทิ ีย่ ังไมเ่ กิดจากหลักทรพั ย์ฯ xx งบกาไรขาดทุน (ไม่แสดงรายการ)
บทสรปุ หลกั ทรัพยม์ ี 2 ประเภทคอื หลักทรพั ย์หุ้นทนุ และหลกั ทรพั ย์ประเภทหน้ี ถา้ หลักทรพั ย์ ดังกล่าวได้มี การซ้อื ขายกันในตลาดหลักทรพั ยแ์ ห่งประเทศไทย เราเรียกหลกั ทรัพย์นั้นว่า หลกั ทรัพยใ์ นความตอ้ งการของ ตลาด ซ่ึงสามารจาแนกได้ เปน็ 2 ชนดิ คือ หลักทรัพย์ใน ความต้องการของตลาดประเภทหมนุ เวยี น และ หลักทรพั ยใ์ นความตอ้ งการของตลาดประเภทไม่ หมุนเวยี น ในวันท่ที างบดุล ให้เปรียบเทยี บ ราคาทนุ รวม และ ราคาตลาดรวม ของหลกั ทรัพย์ แต่ละชนิด ผลตา่ งทตี่ ่ากว่าให้แสดงในงบการเงนิ ดงั น้ี 1. กรณที ่เี ปน็ หลักทรัพยใ์ นความตอ้ งการของตลาดประเภทหมนุ เวียน ผลขาดทนุ ที่ ยงั ไมเ่ กิดขนึ้ ให้ นาไปแสดงเปน็ คา่ ใช้จ่ายในงบกาไรขาดทนุ 2. กรณีท่ีเปน็ หลกั ทรัพย์ในความต้องการของตลาดประเภทไม่หมนุ เวียน ผลขาดทุน ท่ียังไมเ่ กดิ ขน้ึ ให้ นาไปแสดงเปน็ รายการหกั จากสว่ นของผถู้ อื หุน้
บรรณานกุ รม เชาวลีย์ พงศ์พาตโิ รจน์ หลักการบัญชีขัน้ ต้น 2. โรงพมิ พ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยา กรุงเทพฯ, 2535. เตมิ ศกั ด์ิ กฤษณามระและคณะ, หลกั การบญั ชีขนั้ ต้น. โรงพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั กรุงเทพฯ, 2525 พยอม สงิ ห์เสนห่ ์, การบญั ชีทรัพย์สิน, โรงพมิ พ์ชวนพิมพ์ : กรุงเทพฯ, 2529 กลุ เกียรตกิ ระจาย. ทฤษฎีการบญั ชี. โรงพิมพ์อกั ษรสยามการพิมพ์ : พิมพ์ครัง้ ท่ี 3 กรุงเทพฯ, ม.ป.ป. สมาคมนกั บญั ชีและผ้สู อบบญั ชีรับอนญุ าตแหง่ ประเทศไทย. มาตรฐานการบญั ชีรวมเลม่ . นาอกั ษรการพมิ พ์ : กรุงเทพฯ, 2537. ศพั ท์บญั ชี. พิมพ์ครัง้ ที่ 6, โรงพมิ พ์บริษัท พี.เอ.ลฟิ ว่ิง จากดั : กรุงเทพฯ, 2538. สธุ ีรา วเิ ศษกลุ และสภุ าวดี เจริญทรัพย์, การบญั ชีทรัพย์สิน, โรงพิมพ์ฟิสิกส์เซน็ เตอร์ : กรุงเทพฯ, ม.ป.ป. Bazley, Nikolai and Grove. Financial Accounting. 3 ed, International Thomson Publishing, 1955. Kieso, Nonald E. and Weygant, Jerry E. Intermediate Accounting.5\" ed, SingaporeJohn Wiley & Sons (SEA) Pte. Lte, 1986. Smith, Skousen, Stice and Stice. Intermediate Accounting. Publishing, 1995. https://www.pangpond.co.th/p=699 http://hoondb.com/marketable-securities/
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: