Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่6 การเขียนจดหมายสมัครงาน

บทที่6 การเขียนจดหมายสมัครงาน

Published by Kru Puy, 2021-02-03 11:27:27

Description: บทที่6 การเขียนจดหมายสมัครงาน

Search

Read the Text Version

บทท่ี การเขียนจดหมาย 6 สมคั รงาน

สาระการเรยี นรู้ 1. ส่วนประกอบของจดหมายสมัครงาน 2. หลักการเขียนจดหมายสมคั รงาน 3. ประเภทของจดหมายสมคั รงาน 4. กลวิธกี ารเขียนจดหมายสมัครงาน

“จดหมายสมคั รงาน” เปน็ จดหมายทแี่ สดงความต้องการสมัครเข้าทาํ งานใน ตําแหน่งงานต่าง ๆ ผูต้ ้องการสมัครงานอาจค้นหา ตําแหน่งงานทตี่ ้องการทาํ งานจากสือ่ ต่าง ๆ ทบ่ี รษิ ัท หรอื หน่วยงานทตี่ ้องการรบั พนักงานในตําแหน่งหน้าที่ ทห่ี น่วยงานของตนขาดบุคลากร ซ่งึ จะลงรายละเอียด การรบั สมคั รและคุณสมบัติของบุคลากรในตําแหน่งที่ ต้องการไว้ตามแหล่งรบั สมคั รงาน

1. ส่วนประกอบของจดหมายสมคั รงาน 1. สว่ นประกอบตอนต้น 1. ที่อยู่ของผเู้ ขียน 2. วัน เดือน ปี ท่เี ขียนจดหมายสมัครงาน 3. วัน เดือน ปี ทเี่ ขียนจดหมายสมัครงาน 4. คําข้ึนต้น เรยี น หวั หน้างานบุคลากร หรอื ผู้จัดการฝ่ายบุคคล 5. ส่ิงทีส่ ่งมาด้วย (ถ้ามี)

1. ส่วนประกอบของจดหมายสมคั รงาน 2. สว่ นประกอบตอนกลาง 6. ความนําหรอื การเรมิ่ ยอ่ หน้าแรก 7. เนื้อหาของการสมคั ร 8. ย่อหน้าสรุป 3. ส่วนประกอบตอนทา้ ย 9. คําลงทา้ ย 10. ลายมอื ชอื่ คํานําหน้านาม ช่ือและสกุลผู้สมคั ร

1. ส่วนประกอบของจดหมายสมคั รงาน รูปแบบรายงานการประชมุ 1. สว่ นประกอบตอนต้น 2. ส่วนประกอบตอนกลาง 3. สว่ นประกอบตอนทา้ ย

2. หลักการเขยี นจดหมายสมคั รงาน “การเขียนจดหมายสมัครงาน” จั ด เป็ น ก า ร เขี ย น เพ่ื อ นํ า เ ส น อ ข้ อ มู ล เรื่องราวของผู้เขียน เพ่ือมุ่งหวังให้ผู้รับ สมัครงานเรยี กตัวเข้าไปเพ่ือสัมภาษณ์หรอื รบั เข้าทาํ งาน ก า ร เขี ย น จ ด ห ม า ย ส มั ค ร ง า น จึ ง จําเป็นต้องใส่ใจในรายละเอียด เพราะ จดหมายสมัครงานเปน็ ส่ิงที่จะแสดงตัวตน ของผู้เขียน

2. หลักการเขยี นจดหมายสมคั รงาน หลักการเขียนจดหมายสมคั รงาน 1. เขยี นให้เรา้ ใจ คือ สํานวนภาษาน่าสนใจ เขยี นถกู ต้อง สละสลวย 2. เขียนให้ไรต้ ําหนิ คือ รกั ษาความสะอาด ไม่ลบ ขดี ฆ่า 3. เขียนให้สมบูรณ์และชัดเจน คือ เขียนขอ้ มูลให้ครบถ้วนตามคณุ สมบตั ิทผี่ รู้ บั สมคั รต้องการ 4. เขยี นให้สรา้ งสรรค์ คือ เขียนต้องระวังเรอื่ งทศั นคติ 5. เขยี นให้มีหลักฐาน คือ เขียนต้องมหี ลักฐานอ้างอิงตามท่ี กล่าวอ้างในจดหมาย

3. ประเภทของจดหมายสมคั รงาน 3.1 จดหมายสมัครงานท่ี ไมม่ ปี ระวัติย่อแนบไปด้วย เปน็ จดหมายที่ใช้สําหรบั ผู้สมัครงาน ที่ไม่มีรายละเอียดเก่ียวกับคุณสมบัติ ส่วนบุคคลและประวัติการทํางานมาก นัก จึงสามารถให้รายละเอียดพร้อม แสดงความประสงค์ลงไปในจดหมาย ได้เลย

3. ประเภทของจดหมายสมัครงาน 3.2 จดหมายสมัครงานท่ี มปี ระวัติย่อแนบไปด้วย เป็นจดหมายท่ีใช้ในกรณีท่ีผู้สมัครงาน ที่ต้องการให้รายละเอียดเก่ียวกับต่าง ๆ อย่างชัดแจ้ง เช่น ประวัติการศึกษา ประวัติ การทํางาน ความสามารถพิเศษ เพ่ือใช้ ประกอบการตัดสินใจ ทั้งนี้ จดหมายประเภทน้ี จะได้ รับ ค ว า ม ส น ใ จ จ า ก ผู้ รับ ส มั ค ร ม า ก ก ว่ า จดหมายแบบแรก

“ 4. กลวิธกี ารเขยี นจดหมายสมัครงาน จดหมายสมัครงานจําเป็นต้องเขียนโดยใช้ทักษะความสามารถ ทางการเขียน ท้ังในด้านสํานวน ภาษา รูปแบบ และความเหมาะสม ทั้งน้ี “ในยุคปจั จบุ ันการรบั สมัครงานมีรูปแบบทีเ่ ปลี่ยนแปลงไป หลายบรษิ ัทใช้ การสมัครงานในลักษณะของการตอบโต้ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรอื อีเมลเพ่ือใหเ้ กิด ความรวดเรว็ และลดภาระค่าใชจ้ ่าย

4. กลวธิ กี ารเขียนจดหมายสมคั รงาน 4.1 รูปแบบของจดหมายสมัครงาน จดหมายสมัครงานมีโครงสรา้ งเช่นเดียวกับจดหมาย ส่วนตัว และจดหมายราชการ ประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ 1. ส่วนนํา 2. ส่วนเน้ือหา 3. ส่วนสรุป

4. กลวิธกี ารเขยี นจดหมายสมคั รงาน 4.2 การเขยี นประวัติย่อ 4.2.1 รูปแบบของประวตั ิย่อ มี 3 แบบ ดังน้ี 1. แบบทั่วไป เป็นแบบทเี่ หมาะสําหรบั ผู้สําเรจ็ การศึกษา ใหม่ ประสบการณ์ในการทาํ งานไมม่ ากนัก 2. แบบเน้นผลงาน เป็นแบบท่ีเหมาะสําหรบั ผู้สมัครใน ตําแหน่งสูง เชน่ ผู้บรหิ ารทตี่ ้องใชผ้ ู้ทมี่ กี ารศกึ ษาสงู 3. แบบสรา้ งสรรค์ เป็นแบบท่ผี ู้เขียนสรา้ งจัดทาํ ขึ้นด้วย ความคิดเชิงสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการสร้างสรรค์ อาจเป็น รูปแบบหรอื วธิ กี ารนําเสนอ

4. กลวิธกี ารเขยี นจดหมายสมคั รงาน 4.2 การเขียนประวัติย่อ 4.2.2 ลักษณะเน้ือหาในประวัติยอ่ ประกอบด้วย 1. ชอ่ื สกุล 2. ประวัติสว่ นตัว 3. ทอ่ี ยูป่ ัจจบุ นั 4. การศึกษา 5. ประสบการณ์การทาํ งาน 6. การศกึ ษาพเิ ศษ 7. กิจกรรมเสรมิ การเรยี น กิจกรรมทางสังคม 8. ผลงานเด่น 9. คุณสมบตั ิหรอื ความสามารถพเิ ศษ 10. ความสนใจพเิ ศษ 11. ผู้รบั รอง

4. กลวิธกี ารเขียนจดหมายสมคั รงาน 4.2 การเขียนประวัติยอ่ 4.2.3 ข้อควรระวังในการเขียนประวัติย่อ คือ 1. อยา่ เขยี นขอ้ ความเย่ินเย้อ 2. อยา่ เขยี นรวบรดั 3. อย่าเขียนข้อมลู อันเป็นเทจ็ 4. อย่าเขยี นกํากวม 5. อย่าเขยี นโอ้อวด 6. อยา่ ถ่อมตน 7. อยา่ ให้ข้อมลู ทข่ี ัดแยง้ กัน 8. อย่าเขียนด้วยลายมือ เว้นแต่มีขอ้ กําหนดมา 9. อย่าให้กระดาษสี กระดาษเก่า หรอื กระดาษทม่ี ลี วดลาย 10. อย่าใชห้ ัวกระดาษของหน่วยงานทไี่ ม่มสี ทิ ธใิ์ ช้ 11. อยา่ ให้คํายอ่ ศพั ทเ์ ฉพาะ ซ่งึ อาจไมเ่ ขา้ ใจ 12. อย่าใช้ถ้อยคําตามสมยั หรอื ศพั ทว์ ัยรุน่

4. กลวธิ กี ารเขียนจดหมายสมคั รงาน 4.2 การเขียนประวัติยอ่ 4.2.4 ผเู้ ขียนควรใส่ใจและตระหนักในเรอ่ื งต่อไปน้ี 1. เขียนแต่ความจรงิ อยา่ งตรงไปตรงมา มเี หตผุ ล 2. ให้ข้อมลู อย่างเจาะจงและรดั กุม 3. เน้นจดุ เด่น โดยระบุให้ตรงกับตําแหน่งทต่ี ้องการ 4. ให้ความพิถีพถิ ันในการจัดหน้าให้อ่านงา่ ยและน่าสนใจ 5. พมิ พใ์ นกระดาษขาว คุณภาพดี 6. ใช้รูปแบบและขนาดตัวอักษรทอี่ ่านง่าย และไดมาตรฐาน 7. เขียนตัวสะกดการนั ต์ให้ถูกต้อง รวมทงั้ เครอื่ งหมาย วรรคตอนต่าง ๆ ด้วย 8. ข้อมลู ต้องเปน็ ปัจจบุ นั 9. ระบุชอื่ ทอ่ี ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ อีเมล ให้ชัดเจน

การพัฒนาเทคโนโลยีทางการสื่อสาร ทําให้รูปแบบการติดต่อสื่อสารมีการเปล่ียนแปลงไปมาก จากการส่ง จดหมายผ่านทางไปรษณีย์ พัฒนามาเป็นการส่งจดหมายผ่านเครอื ข่ายทาง อินเทอร์เน็ต จดหมายสมัครงานก็เช่นกัน มีการส่งจดหมายสมัครงานทาง อีเมลมากขึ้น และยังมีการสมัครงานในรูปแบบต่าง ๆ อันเป็นผลมาจากการ พฒั นาเทคโนโลยีอีกหลายช่องทาง เชน่ 1. ผู้ต้องการสมัครงานอาจเลือกใช้ช่อง ทางการฝากประวัติไว้ในเว็บไซต์ จากนั้นบรษิ ัท จะเปน็ ผ้คู ้นหาผูส้ มัครตามคณุ สมบัติทตี่ ้องการ 2. ผู้สมัครงานอาจค้นหางานได้ในเว็บไซต์ และส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรอื อีเมล ไปยัง บรษิ ัทนั้น ๆ

การพัฒนาเทคโนโลยีทางการส่อื สาร 3. การสมัครงานในรูปแบบท่ีกําหนดไว้จากบริษัทหรือเว็บไซต์รับสมัครงานทาง อินเทอรเ์ น็ต อาจเป็นเพียงการกรอกหรอื คลิกข้อมูลตามกล่องข้อความที่บรษิ ัทกําหนดไว้ แล้ว ซงึ่ ก็อาจจะไม่ต้องใชก้ ารเขยี นตามรูปแบบทก่ี ําหนดไวม้ ากเทา่ ใดนัก แต่การสมัครในลักษณะนี้ ผู้สมัครมักจะพบคําย่อในการสนทนาบ่อย ๆ เช่น HR (Human Resource Management) ท่ีหมายถึง ฝ่ายสรรหาบุคลากร หรอื JD (Job Description) ท่ีหมายถึง ลักษณะหรอื รายละเอียดของงาน หรอื CV (Cover Letter) ทห่ี มายถึง จดหมายสมคั รงานที่ไม่ต้องแนบประวัติ

คําศพั ท์ท่ีพบบอ่ ยในการสมัครงาน Application From ใบสมัครงาน Applicant ผูส้ มัครงาน Applicant name ชอ่ื ผูส้ มัครงาน Permanent Address ทอ่ี ยูท่ ่ตี ิดต่อได้ Postal code รหสั ไปรษณีย์ Black Slot จับได้ใบดํา Race เชือ้ ชาติ Religion ศาสนา Conscripted ผ่านการเกณฑท์ หารแล้ว

คําศัพทท์ ี่พบบอ่ ยในการสมคั รงาน Reasons for leaving เหตุผลทล่ี าออกจากงาน Social activities กิจกรรมทางสังคม Confi dential ความลับ Position applied for ตําแหน่งที่สมัครงาน Expected Salary เงนิ เดือนทต่ี ้องการ Date of birth วัน เดือน ปี เกิด Nationality สัญชาติ Citizen of เปน็ พลเมืองของประเทศ

“ตัวอย่าง” จดหมายสมัครงาน ทม่ี ีประวตั ิยอ่ แนบไปด้วย (ภาษาไทย)

“ตัวอย่าง” จดหมายสมคั รงาน ทม่ี ปี ระวตั ิย่อแนบไปด้วย (ภาษาอังกฤษ)

สรุปท้ายบท ก า ร เขี ย น จ ด ห ม า ย ส มั ค ร ง า น มี จุ ด ป ร ะ ส ง ค์ เพื่อนําเสนอข้อมูลของผู้เขียนที่ต้องการแสวงหา งานทํา ผู้เขียนที่มีความสามารถทางการเขียน ย่อมมีโอกาสทดี่ ีท่ีจะได้รบั งานมากกว่า ดังนั้นการเรียนรู้ รูปแบบและกลวิธีในการ เขี ย น จ ด ห ม า ย จึ ง มี ค ว า ม สํ า คั ญ ที่ จ ะ ช่ ว ย ให้ ง า น เขยี นบรรลผุ ลได้ตามวัตถุประสงค์ทตี่ ้ังใจไว้