๒.๑.๑ ความหมาย ราชบณั ฑิตยสถาน (๒๕๕๖ : ๒๕๘) ให้ความหมายว่า คา หมายถึง เสียงพูด เสียงที่เปล่ง ออกมาครัง้ หน่ึง ๆ เสียงพดู หรือลายลกั ษณ์อกั ษรท่ีเขียนหรือพิมพ์ขึน้ เพื่อแสดงความคิด โดยปกติถือว่า เป็นหนว่ ยท่ีเลก็ ที่สดุ ซงึ่ มีความหมายในตวั การเรียบเรียงถ้อยคา หมายถึงการนาเอาคามาเรียงต่อกนั ให้มีความหมายชดั เจน รู้ว่าใครทา อะไร ท่ีไหน เมื่อไหร่ อย่างไร ซงึ่ เรียกว่า ประโยค ดงั นนั้ ผ้ทู ่ีจะสง่ สารได้อย่างมีประสิทธิภาพควรมีความรู้ เรื่องคาและประโยคเป็นพืน้ ฐาน ๒.๑.๒ การเลือกใช้ถ้อยคา บรรพบรุ ุษไทยได้สร้างถ้อยคาขนึ ้ มาใช้อย่างหลากหลายรูปแบบ เพ่ือสนองความต้องการของ ผ้ใู ช้ภาษาได้อย่างกว้างขวางและเพียงพอ ดงั นนั้ ก่อนนาคามาใช้ส่ือสารควรศกึ ษาความหมายให้เข้าใจ ถกู ต้องเสยี ก่อน เพื่อประสิทธิภาพในการสื่อสาร เชน่
๑. คาพ้องความหมาย คือ คาที่มีความหมายอย่างเดียวกนั แต่เขียนตา่ งกนั ส่วนมากมกั จะ พบในการเขียนคาประพนั ธ์ เช่น ช้าง – เอราวณั คชสาร ไอยรา ดารี กรี พลาย กเรณุ สาร นาค คชาธาร คเชนทร์ นก – สกณุ สกณุ า สกณุ ี ปักษา ปักษิน ปักษี วหิ ค ทวิช ทิชากร ทิช ม้า – อาชา อาชาไนย อสั ดร พาชี อสั สะ อศั วะ แสะ มโนมยั พระอาทิตย์ – สุริยะ ตะวนั ทิพากร อาภากร ไถง รพี สุริยา ภาณุ ภาณุมาศ ราไพ ทินกร ๒. คาท่พี ้องเสียง คอื คาที่ออกเสยี งเหมือนกนั แตเ่ ขียนตา่ งกนั ความหมายต่างกนั เช่น
๓. คาท่ีมีความหมายตรงตัวและความหมายอุปมา คาที่มีความหมายตรงตัว คือ ความหมายของคาท่ีปรากฏในพจนานกุ รม สว่ นความหมายอปุ มา คือ ความหมายเชิงเปรียบเทียบ เช่น
๔. คาท่ีมีความหมายนัยตรงและนัยประหวัด คาท่ีมีความหมายนยั ตรง คือ ความหมาย ของคาที่ปรากฏในพจนานกุ รม ส่วนนยั ประหวดั คือ ความหมายที่ก่อให้เกิดความรู้สึกอย่างใดอย่างหนึ่ง เชน่ ๕. คาท่มี ีความหมายตรงข้าม คาในภาษาไทยหากต้องการใช้ในความหมายตรงข้ามกับคา เดิม เราอาจใช้คาว่า ไม่ ไว้หน้าคานนั้ เช่น สวย–ไม่สวย หรือจะเลือกใช้คาที่มีความหมายตรงข้ามก็ได้ เชน่
๖. คาท่มี ีความหมายกว้าง–แคบ ในการส่ือสาร หากเราต้องการส่ือให้เห็นภาพโดยรวมเรา ควรใช้คาที่มีความหมายกว้าง แต่ถ้าต้องการแจกแจงรายละเอียดหรือชีเ้ ฉพาะเจาะจง ต้องใช้คาที่มี ความหมายแคบ เช่น ๗. คาท่ีมีความหมายใกล้เคียงกัน คาในภาษาไทยบางคามีรูปศพั ท์และมีความหมาย ใกล้เคียงกนั แตใ่ ช้แทนกนั ไมไ่ ด้ การเลอื กใช้คาในลกั ษณะนีจ้ ึงต้องพิจารณาให้ถกู ต้อง เช่น
๒.๑.๓ การใช้ประโยค ๑. ความหมายของประโยค ราชบณั ฑิตยสถาน (๒๕๕๖ : ๗๑๑) ให้ความหมายว่า ประโยค หมายถึง คาพูดหรือ ข้อความที่ได้ความบริบรู ณ์ตอนหนงึ่ ๆ เชน่ ประโยคบอกเลา่ ประโยคปฏิเสธ ประโยคคาถาม ๒. ส่วนประกอบของประโยค ประโยคโดยทวั่ ไปจะมีสว่ นประกอบสาคญั ๒ สว่ น คือ ภาคประธาน และภาคแสดง ซงึ่ จะขาดสว่ นหนึ่งสว่ นใดไม่ได้ จะมีความหมายบอกให้ รู้ว่ ใครทาอะไร (๑) ภาคประธาน คอื สว่ นท่ีเป็นผ้กู ระทา หรือเป็นผ้แู สดงกิริยาอาการในประโยค ได้แก่ บทประธาน และบทขยายประธานซง่ึ จะมีหรือไม่มกี ไ็ ด้ (๒) ภาคแสดง คือ ส่วนที่แสดงกิริยาอาการของภาคประธานวา่ ทาอะไร อย่ใู นสภาพใด หรือเป็นอะไร ได้แก่ บทกริยา บทขยายกริยา บทกรรม และบทขยายกรรม จะมีครบทกุ บทหรือบางบท อาจไม่มีก็ได้ บทขยายจะขยายคาใดต้องอยู่หลงั คานัน้ ยกเว้นประโยคท่ีมีกรรม กรรมต้องอยู่หลัง คากริยา บทขยายกริยาจงึ ต้องไปอยทู่ ้ายประโยค
ตารางแสดงส่วนประกอบของประโยค ๓. ชนิดของประโยค การแบง่ ชนิดของประโยคสามารถทาได้หลายวิธี ขนึ ้ อย่กู บั เกณฑ์ท่ีใช้ใน การพิจารณา เช่น การแบ่งประโยคตามลกั ษณะโครงสร้าง แบ่งตามลกั ษณะการเรียงลาดบั คา หรื อแบ่ง ประโยคตามเจตนาของผ้สู ง่ สาร
(๑) ประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสาร (ก) ประโยคบอกเล่า (แจ้งให้ทราบ) คือ ประโยคท่ีต้องการบอกเหตุการณ์ เร่ืองราวและความคิดเหน็ ให้ผ้รู ับสารทราบเก่ียวกบั เรื่องใดเร่ืองหนงึ่ เช่น (ข) ประโยคคาถาม (ถามให้ตอบ) คือ ประโยคท่ีผ้สู ่งสารต้องการคาตอบจาก ผ้รู ับสาร ในประโยคจะมีคาท่ีแสดงคาถาม เช่น ใคร อะไร อย่างไร เมื่อไร ทาไม ที่ไหน หรือไม่ คาที่แสดง คาถามอาจจะอยตู่ ้นประโยคหรือท้ายประโยคก็ได้ เชน่ ใครอ่านหนงั สือแล้วบ้าง ทาไมเราจงึ ต้องเรียนหนงั สอื อะไรเป็นสาเหตใุ ห้เขาทาผิดพลาด การบ้านวชิ าภาษาไทยข้อนีท้ าอย่างไร
(ค) ประโยคคาส่ัง ขอร้อง หรือชักชวน (บอกให้ทา) คือ ประโยคที่ผู้ส่งสาร แสดงความต้องการให้ผ้รู ับสารทาอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจมีลกั ษณะเป็ นคาสง่ั คาขอร้ อง หรือคาชกั ชวน ประโยคเหลา่ นีม้ กั จะละประธานบรุ ุษที่ ๒ ไว้ในฐานท่ีเข้าใจ ถ้ามีประธานก็จะมีเพ่ือเน้นความ หรือบอกให้ รู้ตวั ดงั นี ้ ประโยคคาส่ัง เป็นประโยคท่ีต้องการให้ผ้รู ับสารทาตามโดยไม่โต้แย้ง มักจะมีคาว่า จง อย่า ห้าม อย่ใู นส่วนใดส่วนหนึ่งของประโยค ถ้าส่ือสารด้วยการพดู อาจต้องอาศยั นา้ เสียงเน้นหนกั เพ่ือ สื่อให้เห็นเจตนาของผ้สู ง่ สารด้วย เช่น ห้ามเดินลดั สนาม อย่าทจุ ริตในการสอบ ห้ามใสร่ องเท้าเข้ามาในห้องเรียน จงตอบคาถามตอ่ ไปนีอ้ ยา่ งละเอียด ประโยคขอร้ องหรือชักชวน เป็ นประโยคที่ผู้ส่งสารต้องการขอร้ อง วิงวอนชักชวน และตกั เตือน ให้ผ้รู ับสารทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง มกั จะมีคาว่า โปรด ช่วย กรุณา วาน ขอ ฯลฯ หน้าประโยคหรือ ลงท้ายประโยค ด้วยถ้อยคาท่ีมีเสียงเชิงขอร้อง เชน่ กรุณาปิดเสียงโทรศพั ท์ขณะครูสอน โปรดกรอกข้อความให้ครบทกุ ข้อ ได้โปรดอยา่ ทิง้ ฉนั ไปเลยนะ
ขอนะเรื่องยาเสพติดอยา่ เข้าไปเก่ียวข้อง ขอเชญิ ทกุ ทา่ นร่วมบริจาคโลหิตเพ่อื เพ่ือนมนษุ ย์ ประโยคตามเจตนาของผ้สู ง่ สาร ถ้าต้องการให้ประโยคนนั้ มีใจความเชิงปฏิเสธ ทาได้โดย ใส่คาว่า ไม่ ไม่ได้ ไม่มี ไม่ใช่ ลงไปในประโยคเหล่านนั้ เช่น ใครยงั ไม่ได้อ่านหนงั สือบ้าง ฉันยงั ไม่มีเงิน ลงทนุ เลย ฉนั ไมเ่ คยลอกการบ้านของเพ่ือน เขาไม่ใช่คนอย่างนนั้ (๒) ประโยคตามโครงสร้าง (ก) ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพยี งหนงึ่ เดียว โดยพิจารณาจาก ประธานและกริยาต้องมีอย่างละหนง่ึ สว่ นบทกรรมและสว่ นขยายจะมีหรือไม่ก็ได้ เชน่ เพ่อื นของฉนั อ่านหนังสอื วิชาภาษาไทยอยา่ งตงั้ ใจ นกบนิ แม่ทากบั ข้าวอร่อยมาก นักเรียนระดบั ปวส. ๑ แผนกชา่ งไฟฟ้ าเล่นฟุตบอลในสนาม (ข) ประโยคความรวม คือ การนาประโยคความเดียวตงั้ แต่ ๒ ประโยคมารวมกนั เช่ือมด้วยคาสนั ธาน และคาสนั ธานท่ีนามาเชื่อมจะทาให้ประโยคความรวมมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เช่น
ประโยคมีใจความคล้อยตาม เช่ือมด้วยคาสนั ธาน และ ทงั้ อนง่ึ อีกทงั้ เชน่ บแี ้ ละกนั ต์เป็นนกั ร้อง บเี ้ป็นทงั้ นกั ร้องและนกั แสดง ประโยคมีใจความขัดแย้ง เชื่อมด้วยคาสนั ธาน แต่ แตท่ วา่ แม้ เช่น บเี ้ป็นนกั เรียนแต่แบร่ีเป็นนกั แสดง เขาอยากสอบได้แต่ไมอ่ ยากอ่านหนงั สอื แบร่ีร้องเพลงไพเราะแม้จะไมไ่ ด้เป็นนกั ร้อง ประโยคมใี จความเป็ นเหตุเป็ นผล เช่ือมด้วยคาสนั ธาน เลย จน จนกระทงั่ จงึ เชน่ นกั ศกึ ษาตงั้ ใจเรียนจงึ สอบผา่ นทกุ วชิ า ประเทศไทยเจริญเพราะคนไทยมีความรู้ เขาตงั้ ใจทามาหากินจนกระท่งั ร่ารวยเป็นเศรษฐี ประโยคมใี จความให้เลือก เช่ือมด้วยคาสนั ธาน หรือ หรือไมก่ ็ เช่น เธอจะเรียนตอ่ หรือหางานทา จะเลือกดาหรือแดงเป็นหวั หน้า เธออาจตดั ชดุ แต่งงานใหม่หรือไมก่ ็เอาชดุ ของแม่มาดดั แปลง
(ค) ประโยคความซ้อน คือ การนาประโยคตงั้ แต่ ๒ ประโยคมาซ้อนกัน โดยมี ประโยคหนึ่งเป็ นประโยคหลกั (มขุ ยประโยค) อีกประโยคเป็ นประโยคย่อย (อนปุ ระโยค) ทาหน้าท่ีขยาย สว่ นใดส่วนหนึ่งของประโยคหลกั อาจขยายประธาน กริยา หรือกรรมก็ได้ เชื่อมด้วยคาสนั ธาน ท่ี ซ่งึ อนั จน แม้ เพราะ ขณะที่ ถ้า หาก เช่น นักเรียนที่นงั่ ข้างหน้าสอบชงิ ทุนการศึกษาได้เกอื บทกุ คน นักเรียนที่ขีเ้ กียจสอบตกหลายวิชา เขาพดู มากจนฉนั ราคาญ ฉันชอบดลู ิงท่ีเลน่ ละคร ๕. การใช้ประโยคเพ่อื การส่ือสาร การใช้ประโยคเพ่ือการส่ือสาร ผู้ส่งสารต้องระมัดระวังเรื่องไวยากรณ์ เ รียบ เรียงลาดบั คาตามหน้าท่ีของคาในประโยค ใช้คาสนั ธานเชื่อมคาและประโยคให้เหมาะสม ขณะส่ือสาร ควรคานึงถึงความชดั เจนของความหมาย ตลอดจนความสละสลวยของประโยคด้วย ผ้สู ่งสารท่ีมีความ รอบคอบในการใช้ประโยค จะทาให้การสือ่ สารมีประสทิ ธิภาพยิ่งขนึ ้ จงึ ควรระวงั การใช้คาในประโยคดงั นี ้
ใช้คาท่มี ีความหมายไม่ขัดแย้งกนั ประโยค – นกั เรียนสว่ นมากเข้าห้องเรียนสายทกุ คน ควรเป็ น – นกั เรียนเข้าห้องเรียนสายทกุ คน ประโยค – นา้ ทว่ มครัง้ นีม้ ีนกั เรียนเดือดร้อนมากมายพอสมควร ควรเป็ น – นา้ ทว่ มครัง้ นีม้ ีนกั เรียนเดอื ดร้อนมากมาย ใช้คาให้กระชับ ประโยค – ฉนั ไมช่ อบกินส้มโอ สบั ปะรด แอปเปิลเขียว มะม่วงเปรีย้ ว มะกอก มะยม หรือส้มที่มีรสเปรีย้ ว ควรเป็ น – ฉนั ไมช่ อบกินผลไม้ที่มีรสเปรีย้ ว รู้จกั ใช้หลากคา ประโยค – ฉนั ชอบท่องเที่ยว ฉนั ชอบกินอาหารแปลกใหม่ ฉนั ชอบฟังธรรม เพ่ือสงบจิตใจ ควรเป็ น – ฉนั ชอบท่องเที่ยวไปในท่ีต่างๆ มีความสขุ ท่ีได้กินอาหารแปลก ใหม่และสนใจฟังธรรมเพ่ือสงบจิตใจ
วางคาขยายให้ถกู ท่ี ประโยค – นกั เรียนคอยครูทกุ คน ควรเป็ น – นกั เรียนทกุ คนคอยครู ประโยค – การเดนิ ทางให้ความรู้แก่เราทางอ้อม ควรเป็ น – การเดินทางให้ความรู้ทางอ้อม แก่เรา ประโยคฟต้องสมบรู ณ์ ประโยค – นกั เรียนล้วนความสขุ ยิม้ แย้มแจม่ ใส ควรเป็ น – นกั เรียนล้วนมีความสขุ ยิม้ แย้มแจม่ ใส ประโยค – เดก็ สาวท่ีเคยมาหาผมเดือนก่อน ควรเป็ น – เดก็ สาวที่เคยมาหาผมเดือนก่อนแตง่ งานแล้ว ประโยค – ฉนั กินแล้ว ควรเป็ น – ฉนั กินข้าวแล้ว ประโยค – คณุ ช่วยเปิดกระโปรงให้หน่อย ควรเป็ น – คณุ ชว่ ยเปิดกระโปรงรถให้หน่อย
เว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง ประโยค – แมพ่ ระมา ควรเป็ น – แม/่ พระมา หรือ แมพ่ ระ/มา ประโยค – ยายน้อยถามถึงเสมอ ควรเป็ น – ยาย/น้อยถามถงึ เสมอ หรือ ยายน้อย/ถามถึงเสมอ ประโยค – พอ่ แก้วอย่ไู หน ควรเป็ น – พ่อ/แก้วอยไู่ หน หรือ พอ่ แก้ว/อยไู่ หน ประโยค – ยานีก้ ินแล้วแขง็ แรงไม่มี โรคภยั เบยี ดเบียน ควรเป็ น – ยานีก้ ินแล้วแข็งแรง ไมม่ ีโรคภยั เบียดเบียน ใช้คาให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบคุ คล ประโยค – ขอบคณุ นกั เรียนทกุ คนมากนะท่ีชว่ ยถือของให้ครู ควรเป็ น – ขอบใจนกั เรียนทกุ คนมากนะท่ีช่วยถือของให้ครู ประโยค – ขอบคณุ อยา่ งแรงนะเพื่อนที่ชว่ ยเหลือเรา ควรเป็ น – ขอบคณุ นะเพ่ือนทีช่ ่วยเหลอื เรา ประโยค – พ่ีสาวฉนั ออกลกู ที่โรงพยาบาล ควรเป็ น – พี่สาวฉนั คลอดลกู ที่โรงพยาบาล ประโยค – ตามหมายกาหนดการพิธีหลงั่ นา้ พระพทุ ธมนต์จะเร่ิมเวลา 8.00 น.
ควรเป็ น – ตามกาหนดการพิธีหลงั่ นา้ พระพทุ ธมนต์จะเริ่มเวลา 8.00 น. ประโยคต้องมีความหมายชัดเจน ประโยค – หมนู่ ีผ้ มเหนื่อยเหลอื เกิน ควรเป็ น – หมนู่ ีผ้ มทางานเหน่ือยเหลอื เกิน ประโยค – พรุ่งนีน้ ้องไมว่ า่ งมีนดั ต้องผ่าตดั ควรเป็ น – พรุ่งนีน้ ้องไมว่ า่ ง/มีนดั ต้องผ่าตดั คนไข้ ประโยค– ใครตามตารวจมา ควรเป็ น – ใครเดินตามตารวจมา หรือ ใครเรียกตารวจมา ประโยค – กรุณากาเครื่องหมายหน้าคาตอบ ควรเป็ น – กรุณากาเครื่องหมายกากบาทหน้าคาตอบ ใช้สานวนเปรียบเทยี บให้เหมาะสม ประโยค – นิยายเลม่ นีอ้ ่านแล้ววางมือไม่ลงเลย ควรเป็ น – นิยายเลม่ นีอ้ ่านแล้ววางไม่ลงเลย ประโยค – ผมเป็นครูมานาน ใคร ๆ ก็เรียกผมวา่ เป็นพ่อพิมพ์แหง่ ชาติ ควรเป็ น – ผมเป็นครูมานาน ใคร ๆ ก็เรียกผมวา่ เป็นแมพ่ ิมพ์แหง่ ชาติ
ไม่ควรใช้ประโยคต่างประเทศ ประโยค – มนั เป็นอะไรที่ดมี าก ๆ เลย อาหารเสริมตวั นี ้ ควรเป็ น – อาหารเสริมตวั นีด้ มี ากเลย ประโยค – อมรเข้ามาพร้อมกบั ของขวญั กลอ่ งใหญ่ ควรเป็ น – อมรถือของขวญั กลอ่ งใหญ่เข้ามา ไม่ใช้คาฟ่ ุมเฟื อย ประโยค – เรื่องนีฉ้ นั เคยประสบพบเห็นมากบั ตา ควรเป็ น – เรื่องนีฉ้ นั เคยเห็นมากบั ตา ประโยค – ร้านอาหารนีม้ ีเพียงแหง่ เดยี ว ไมม่ ีสาขาอ่ืนอีกเลย ควรเป็ น – ร้านอาหารนีม้ ีเพียงแหง่ เดยี ว ใช้คาให้ตรงตามความหมาย ประโยค – ตารวจเผลอเรอหลบั ไป ทาให้ผ้รู ้ายหนีไปได้ ควรเป็ น – ตารวจเผลอหลบั ไป ทาให้ผ้รู ้ายหนีไปได้ ประโยค – นกั เรียนขอผลดั ไปสง่ งานวนั พรุ่งนี ้ ควรเป็ น – นกั เรียนขอผดั ไปสง่ งานวนั พรุ่งนี ้
๒.๒.๑ ความหมาย ราชบณั ฑิตยสถาน (๒๕๕๖ : ๑๒๒๗) ให้ความหมายว่า สานวน หมายถึง ถ้อยคาท่ีเรียบเรียง โวหาร บางทีก็ใช้ว่า สานวนโวหาร; ถ้อยคาหรือข้อความที่กล่าวสืบต่อกนั มาช้านานแล้วมีความหมายไม่ ตรงตามตวั หรือมีความหมายอ่ืนแฝงอยู่; ถ้อยคาท่ีแสดงออกมาเป็ นข้อความพิเศษเฉพาะภาษาหน่ึง ๆ ; ชนั้ เชิงหรือท่วงทานองในการแตง่ หนงั สอื หรือพดู ๒.๒.๒ ท่มี าของสานวนไทย สานวนเป็ นถ้อยคาท่ีเรียบเรียงขึน้ อย่างสนั้ ๆ กะทดั รัด มีความหมายเชิงเปรี ยบเทียบสานวน เป็ นการแสดงภมู ิปัญญาทางภาษาของบรรพบรุ ุษท่ีหยิบยกเอาสภาพแวดล้อมรอบตวั มาใช้ประกอบการ สอ่ื สารให้มีความนา่ สนใจ และช่วยให้การสื่อสารสมั ฤทธิผลได้งา่ ยขนึ ้ เช่น
เกดิ จากศาสนา ได้แก่ ปิดทองหลงั พระ พระอิฐพระปนู เห็นกงจกั รเป็นดอกบวั เกดิ จากวัฒนธรรมประเพณี ได้แก่ ไปมาลาไหว้ แขกมาถงึ เรือนชานต้องต้อนรับ เกดิ จากประวัตศิ าสตร์ ได้แก่ กรุงศรีอยธุ ยาไม่สนิ ้ คนดี ทบุ หม้อข้าว เกดิ จากการละเล่น ได้แก่ งกู ินหาง วา่ วติดลมบน รุกฆาต เกดิ จากธรรมชาติ ได้แก่ นา้ ลดตอผดุ นา้ มาปลากินมดนา้ ลดมดกินปลา นา้ ท่วมปาก เกดิ จากความประพฤติ ได้แก่ ตานา้ พริกละลายแม่นา้ กินนอกกินใน ตีหลายหน้า เกดิ จากอุบัตเิ หตุ ได้แก่ ตกกระไดพลอยโจน เกดิ จากเคร่ืองใช้ต่าง ๆ ได้แก่ ตาบอดได้แว่น ใสต่ ะกร้าล้างนา้ กระโถนท้องพระโรง เกดิ จากอวัยวะในร่างกาย ได้แก่ ตาแหลม ฟังหไู ว้หู ตีหลายหน้า เกดิ จากสัตว์ ได้แก่ สนุ ขั จนตรอก คางคกขนึ ้ วอ นกสองหวั เกดิ จากพชื ได้แก่ มะนาวไมม่ ีนา้ ผกั ชีโรยหน้า แตงร่มใบ เกดิ จากนิทาน ได้แก่ กระตา่ ยตื่นตมู เตยี ้ อ้มุ คอ่ ม เกดิ จากวรรณคดี ได้แก่ ว่าแตเ่ ขาอิเหนาเป็นเอง งอบพระราม
ปิ ดทองหลังพระ คือ คนท่ที าความดีโดยไม่เปิ ดเผย ๒.๒.๓ ลักษณะของสานวน สานวนเป็นคาท่ีมีความหมายกว้าง ครอบคลมุ คาวา่ สภุ าษิตและคาพงั เพย ๑. สุภาษติ คอื คาท่ีกลา่ วดี เป็นคากลา่ วท่ีม่งุ สง่ั สอน เช่น นา้ ขนึ ้ ให้รีบตกั หมายถงึ มีโอกาสดคี วรรีบทา นา้ พงึ่ เรือเสือพง่ึ ป่ า หมายถึง การพง่ึ พาอาศยั กนั เสียชีพอย่าเสียสตั ย์ หมายถึง เสียชีวิตดีกวา่ เสียคาพดู ตนเป็นที่พงึ่ แห่งตน หมายถงึ ตวั เราต้องทาทกุ อย่างเพ่ือตนเอง ทาดไี ด้ดี ทาชวั่ ได้ชว่ั หมายถึง ทาอะไรไว้ก็ยอ่ มได้สิ่งนนั้ ยาวให้บนั่ รักสนั้ ให้ตอ่ หมายถงึ รักจะอย่ดู ้วยกนั นาน ๆ ให้ตดั ความคิดอาฆาตออกไปรัก จะอย่ดู ้วยกนั สนั้ ๆ ให้คดิ อาฆาตพยาบาทเข้าไว้
รู้ไว้ใชว่ า่ ใสบ่ า่ แบกหาม หมายถงึ เรียนรู้ไว้ไม่เสียหายอะไร ใฝ่ ร้อนจะนอนเยน็ ใฝ่ เย็นจะดิน้ ตาย หมายถึง ม่งุ หวงั จะสบายต้องทางาน ถ้าเกียจคร้าน จะลาบากยากจน ๒. คาพังเพย คือ คากล่าวเชิงเปรียบเทียบ ไม่ได้ม่งุ ตกั เตือนสงั่ สอน ยกขึน้ มาเพื่อให้เข้ากับ เหตกุ ารณ์ใดเหตกุ ารณ์หนงึ่ เช่น ราไม่ดโี ทษป่ีโทษกลอง หมายถึง ทาผิดแล้วไม่รับผิดกลบั โทษผ้อู ื่น ปลาหมอตายเพราะปาก หมายถึง คนท่ีพดู พร่อยจนได้รับอนั ตราย ยกตนขม่ ท่าน หมายถึง พดู ทบั ถมผ้อู ่ืนแสดงให้เห็นวา่ ตวั เหนือกวา่ ลกู ไม้หลน่ ไมไ่ กลต้น หมายถงึ ลกู ย่อมไม่ตา่ งกบั พอ่ แมม่ ากนกั ไม่ใชพ่ ระอิฐพระปนู หมายถึง คนธรรมดาที่มีกิเลสอยู่ ฆ่าควายเสยี ดายพริก หมายถึง ทาการใหญ่ไม่ควรตระหนี่ เอาปนู หมายหวั หมายถึง คาดโทษเอาไว้ เอาตาดหู ใู ส่ หมายถึง สนใจในการดแู ลอยา่ งจริงจงั
ปลาหมอตายเพราะปาก มาจากธรรมชาตขิ องปลาหมอมักผุดขนึ้ มาฮุบเหย่อื เหนือผิวนา้ บ่อย ๆจนเป็ นท่สี ังเกตเหน็ ทาให้สามารถดักทางปลาหมอได้ถูก ๒.๒.๔ หลักการใช้สานวน ๑. รักษารูปคาของสานวนเดิม เพ่ือรักษาความหมายและที่มาของสานวนไว้ เช่น กงเกวียนกา เกวยี น ไมใ่ ช่ กงกรรม กงเกวยี น ๒. ใช้ให้ตรงกับความหมายของสานวนหรือสัมพันธ์กับเรื่องท่ีพูดหรือเขียน ผู้ใช้ต้องศึกษา ความหมายท่ีแฝงอย่ใู ห้ถกู ต้องชดั เจนก่อนใช้ เช่น เหตกุ ารณ์ว่นุ วายครัง้ นีไ้ ม่เกี่ยวกบั คณุ อย่ากินปนู ร้อน ท้องไมใ่ ช่เหตกุ ารณ์ครัง้ นีไ้ มเ่ ก่ียวกบั คณุ อยา่ ทาตวั เป็นกระต่ายตื่นตมู ๓. ใช้ให้พอเหมาะ ไม่ใช้พร่าเพร่ือ การใช้สานวนมากเกินไปจะทาให้ข้อความไม่สละสลวยขาด นา้ หนกั ความนา่ เช่ือถือ เชน่ ผ้หู ญิงอย่างฉนั ใครจะมาชอบ ถงึ จะสวยเหมือนแตงร่มใบ แต่กิริยาเหมือนม้า ดีดกะโหลก พดู จาก็ขวานผ่าซาก แต่ผ้ชู ายคนไหนมะงมุ มะงาหราเข้ามาละก็ตกถงั ข้าวสารสบายไปทงั้ ชาติ
๒.๓.๑ ความหมาย ราชบณั ฑิตยสถาน (๒๕๕๖ : ๑๑๓๔) ให้ความหมายว่า โวหาร หมายถึง ชนั้ เชิงหรือสานวน แตง่ หนงั สอื หรือพดู ถ้อยคาที่เลน่ เป็นสาบดั สานวน โวหาร เป็ นศิลปะในการใช้ถ้อยคา ช่วยให้ข้อความที่ส่ือสารมีความสละสลวย ผู้รับสารเกิด ความเข้าใจ ประทบั ใจและคล้อยตามผ้สู ง่ สารได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ ๒.๓.๒ ประเภทของโวหาร โวหารในภาษาไทย แบง่ เป็น ๕ ประเภท ดงั นี ้ ๑. บรรยายโวหาร บรรยายโวหาร เป็ นโวหารที่ใช้เล่าเร่ือง หรืออธิบายเร่ืองราวต่างๆ ตามลาดบั เหตกุ ารณ์ เป็นโวหารที่เขียนตรงไปตรงมา รวบรัด ไมเ่ ย่ินเย้อ เน้นสาระสาคญั แตอ่ าจมีตวั อย่างประกอบได้ตามความ เหมาะสม เหมาะแก่การส่อื สารในชีวิตประจาวนั และสถานการณ์ทวั่ ไป เพราะประหยดั เวลาและเข้าใจงา่ ย
หลักในการเขียนบรรยายโวหาร (๑) เร่ืองท่ีเขียนเป็นเรื่องจริง ผ้เู ขียนต้องมีความรู้เก่ียวกบั เรื่องท่ีจะเขียน (๒) ควรเขียนเฉพาะสาระสาคญั เขียนแบบตรงไปตรงมา ไม่เน้นรายละเอียด (๓) ใช้ภาษาง่าย ๆ ภาษาที่ใช้ต้องเข้าใจง่าย เรียบเรียงความคดิ ให้ต่อเนื่องสมั พนั ธ์กนั อาจใช้ โวหารประเภทอื่นเข้ามาชว่ ยให้การบรรยายเข้าใจได้ง่ายขนึ ้ แตต่ ้องไมม่ ากเกินไป ตวั อย่างบรรยายโวหาร ๒. พรรณนาโวหาร พรรณนาโวหาร เป็นโวหารที่ม่งุ ให้รายละเอียดของเนือ้ เรื่องอย่างละเอียด ชดั เจนมีความ ไพเราะด้วยการเล่นคา เล่นเสียง ใช้ภาษาที่ก่อให้เกิดภาพพจน์ เพื่อให้ผู้รับสารเกิดอ ารมณ์ซาบซึง้ สนกุ สนานเพลิดเพลนิ ไปกบั ข้อความหรือเร่ืองราวนนั้ ๆ
หลักการเขียนพรรณนาโวหาร (๑) ใช้คาดี ควรเลือกคาท่ีให้ความหมายชัดเจน อาจใช้คาที่มีเสียงสัมผสั เพื่อให้เกิดความ ไพเราะ สอื่ ความหมาย สื่อภาพ หรือสื่ออารมณ์ได้ตามเนือ้ เรื่อง (๒) มีใจความดี แม้เนือ้ หาท่ีพรรณนาจะค่อนข้างยาว แต่ต้องม่งุ ให้เกิดภาพพจน์ความรู้สึกที่ ชดั เจน (๓) อาจใช้โวหารประเภทอื่นสอดแทรกในการพรรณนาได้ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ภาพ อารมณ์ท่ีชดั เจน พรรณนาโวหาร มักใช้กับการชมความงามของส่ิงต่าง ๆ เช่น ชมสถานท่ี ชมความงามของ บคุ คล สรรเสริญความดงี ามของบคุ คล หรือใช้แสดงออกทางอารมณ์ เช่น รัก โกรธ เกลยี ด เป็นต้น ตวั อย่างพรรณนาโวหาร
๓. เทศนาโวหาร เทศนาโวหาร เป็นโวหารท่ีม่งุ ชกั จงู ผ้รู ับสารให้คล้อยตามความคิดเห็นของผ้สู ่งสารรูปแบบของ สารอาจเป็ นข้อความชีแ้ จงสง่ั สอนโดยตรง หรือเป็ นการสอนโดยอ้อม เช่น บทความชักจูงใจบทความ แสดงความคิดเห็น หลักในการเขียนเทศนาโวหาร (๑) ผ้เู ขียนมีความรู้ในเรื่องท่ีจะเขียนอย่างถ่องแท้ เพื่อจะได้ถ่ายทอดข้อมลู ได้อย่างละเอียด ลกึ ซงึ ้ รู้จกั ใช้เหตผุ ลและหลกั ฐานมาอ้างอิงได้อย่างน่าเช่ือถือ (๒) มีความรู้เก่ียวกบั โวหารประเภทตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี และสามารถนามาใช้ประกอบข้อความ ท่ีสื่อสารได้อยา่ งเหมาะสม เพ่ือให้ผ้รู ับสารเข้าใจและคล้อยตามได้ตามจดุ ม่งุ หมาย ตัวอย่างเทศนาโวหาร
๔. สาธกโวหาร สาธกโวหาร เป็ นโวหารที่ม่งุ ให้ความชดั เจน โดยการยกตวั อย่างหรือเร่ืองราวประกอบข้ อความ มกั ใช้เป็นโวหารประกอบโวหารอ่ืน ๆ เพื่อให้ผ้รู ับสารเข้าใจเร่ืองราวได้ชดั เจนย่ิงขนึ ้ ตวั อย่างสาธกโวหาร ๕. อุปมาโวหาร อุปมาโวหาร เป็ นโวหารเชิงเปรียบเทียบ โดยยกส่ิงที่คล้ายคลึงกันมาเปรียบเพ่ือให้เกิดความ ชดั เจนย่ิงขนึ ้ ใช้ประกอบโวหารประเภทอ่ืน การเปรียบเทียบมกั ใช้คาว่า เหมือน ดจุ ประดุจ เสมือนราวกบั เป็ นต้ น ตัวอย่างอุปมาโวหาร
Search
Read the Text Version
- 1 - 29
Pages: