Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 2 เอกสารประกอบการสอน การผลิตสุกร บทที่ 2

2 เอกสารประกอบการสอน การผลิตสุกร บทที่ 2

Published by narch52, 2018-05-09 02:31:35

Description: 2 เอกสารประกอบการสอน การผลิตสุกร บทที่ 2

Search

Read the Text Version

9 บทท่ี 2 ประเภทและพนั ธ์ุสุกรจุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จัดหมวดหม่สู ุกรได้อย่างถูกต้อง ตามลกั ษณะของการจัดหมวดหมขู่ องสัตว์ 2. บอกชอ่ื สุกรพันธพ์ุ ืน้ เมือง และพนั ธ์ตุ า่ งประเทศได้ 3. บอกลักษณะประจาพันธ์ุ และลกั ษณะเดน่ ของพันธ์สุ ุกรที่นิยมเล้ยี งในประเทศไทยได้ 4. บอกขอ้ แตกตา่ งของสุกรพนื้ เมือง และสกุ รพันธุจ์ ากยุโรปและอเมริกาได้เนือ้ หาสาระ1. ประวตั กิ ารเลยี้ งสุกรและถนิ่ กาเนิด ในทวีปเอเชีย การเลี้ยงสุกรก่อกาเนิดขึ้นมาจากทางเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อประมาณ7,000 ปี กอ่ นครสิ ตศกั ราช สกุ รในอดตี จะมีรูปร่างเล็ก มลี ายเสอื มกี ล้ามเนื้อแข็งแรง ชอบอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่ และชอบการต่อสู้ หากินโดยอาศัยรากไม้ ใบพืชหญ้าต่างๆ ในป่า เมื่อมนุษย์ได้นาสุกรมาเลี้ยงติดต่อกันเป็นเวลานานมากขึ้นพฤติกรรมต่างๆ ได้เปล่ียนแปลงไปจนเป็นสุกรบ้านท่ีมีความเชื่องสามารถให้ผลผลิตกับมนุษย์ได้ การพัฒนาการเล้ียงสุกรได้เริ่มอย่างจริงจังและรวดเร็วเมื่อปี ค.ศ. 1950 โดยเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ปรับปรุงพันธุ์ โรงเรือน การเลี้ยงดู การให้อาหารการป้องกันโรค และประสิทธิภาพการสืบพันธุ์จากท่ีเคยให้ลูกจานวน 15 ตัวต่อแม่ต่อปีเป็น 20–22ตัวตอ่ แม่ตอ่ ปี2. ลกั ษณะทวั่ ไปของสุกร สกุ รเปน็ สัตว์เลอื ดอนุ่ ไม่มีต่อมเหง่ือ มีชั้นไขมันใต้ผิวหนังหนา เป็นสัตว์เล้ียงท่ีมีความจาดีมีพฤติกรรมอยู่เป็นฝูง และสนใจต่อสิ่งแวดล้อม นิสัยชอบน้า ต้องการคอกท่ีมีอากาศถ่ายเทดี และอบอนุ่ อุณหภูมปิ ระมาณ 25 – 29 องศาเซลเซียส มีอุณหภูมิคงท่ีไม่เปลี่ยนแปลง เพราะสุกรเป็นสัตว์ท่ีไม่ทนต่อสภาพอากาศร้อน เน่ืองจากอากาศร้อนจะมีผลต่อปริมาณการกินอาหาร ประสิทธิภาพการเปลี่ยนอาหาร องค์ประกอบของคุณภาพซาก การสืบพันธุ์ และการให้ผลผลิตอื่นๆ อุณหภูมิของร่างกายเฉล่ียประมาณ 39 องศาเซลเซียส อัตราการเต้นของหัวใจปกติ 60 – 80 ครั้งต่อนาทีอตั ราการหายใจปกติ 20 – 30 ครง้ั ตอ่ นาที และมีจานวนโครโมโซม 38 คู่

10 2.1 การจัดหมวดหมู่สุกร 2.1.1 การจดั สุกรตามหมวดหมู่ทางสัตววิทยา สุกรจัดเป็นสัตว์ท่ีมีกระดูกสันหลัง เล้ียงลูกด้วยนม มี 4 ขา เป็นสัตว์กีบคู่ มีกระเพาะเด่ยี ว กนิ อาหารข้นเป็นหลกั เมอ่ื จดั สุกรตามหมวดหมู่ทางสตั ววทิ ยาจะจัดไดด้ ังนี้ 1) สุกรเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง จึงจัดอยู่ในไฟลัมของสัตว์มีกระดูกสันหลัง(Phylum Chordata) 2) สุกรเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จึงจัดอยู่ในช้ันเลี้ยงลูกด้วยนม ( ClassMammalia) 3) สุกรเป็นสัตว์ท่ีมีขา 4 ขา และมีนิ้วเท้าเป็นกีบจึงจัดอยู่ในประเภทสัตว์กีบคู่(Order Artiodactyla) 2.1.2 การจดั สุกรตามการจาแนกสุกรในปัจจบุ ัน เม่ือมีการปรับปรุงพันธ์ุให้ดีข้ึนเป็นระยะเวลายาวนาน ทาให้สุกรมีลักษณะเปล่ียนแปลงไปอย่างมาก และสามารถจาแนกสุกรไดด้ งั น้ี 1) สกุ รปา่ ในเอเชยี ยโุ รป อเมรกิ า (Sus scrofa) ลักษณะแข็งแรง ว่องไว ทนทานดุรา้ ย หัวใหญ่ จมกู ยาว ลกู มสี นี ้าตาลลายเสอื โตข้ึนจะมีสีนา้ ตาลหมน่ ขายาว ไหล่กวา้ ง เอว สะโพกเล็ก ผิวหยาบยงุ่ ไขมนั น้อย เป็นหนุ่มสาวช้า 2) สกุ รพืน้ เมืองเอเชีย (Sus indicus หรือ Sus vittatus) นิสัยเช่ือง เลี้ยงกันมานานแต่ไม่มีการปรับปรุงพันธุ์ มีลักษณะเลี้ยงง่าย ไม่ดุร้าย รูปร่างส่ีเหล่ียม หัวสั้น ตัวเล็ก กระดูกเล็ก สีดาหรอื เทา ผิวหนังเรียบ ไขมันมาก เป็นหนุ่มสาวเร็ว 3) สุกรท่ีได้รับการปรับปรุงพันธ์ุแล้วหรือสุกรฟาร์ม (Sus domesticus) ลักษณะหวั เล็ก เนอ้ื มาก ไขมนั นอ้ ย โตเร็ว ให้ลกู ดก เลี้ยงลูกเกง่ ทนทานแข็งแรง สามารถเปล่ียนอาหารเป็นเนอื้ ได้ดี3. ประเภทของสุกร และพนั ธ์ุสุกร 3.1 ความหมายของประเภทสุกร ประเภทสุกร (Type) หมายถงึ กลมุ่ ของสกุ รทมี่ ลี กั ษณะหรอื ให้ผลผลิตคลา้ ยคลงึ กันเช่น สุกรประเภทเน้ือจะคานึงถึงการให้เนื้อเป็นหลัก ซ่ึงจะมีอยู่หลายพันธ์ุ เช่น พันธุ์ดูรอค และพันธ์ุแฮมเชียร์ เปน็ ตน้ หรือสกุ รประเภทเบคอน หมายถงึ สกุ รท่ใี หล้ กั ษณะของซากเหมาะในการทาเบคอนเปน็ หลัก ซ่ึงมีอยูห่ ลายพนั ธุ์ เช่น พันธ์ุลารจ์ ไวท์ และพนั ธุ์แลนดเ์ รซ เป็นต้น

11 3.2 ความหมายของพนั ธ์ุสุกร พันธุ์ (Breed) หมายถึง กลุ่มของสุกรท่ีได้ทาการคัดเลือกพันธ์ุ และปรับปรุงพันธ์ุจนกระท่ังมีลักษณะของพันธุกรรมสม่าเสมอมีลักษณะประจาพันธ์ุต่างๆ คงท่ีแน่นอน เมื่อทาการผสมพนั ธรุ์ ะหวา่ งสุกรพันธ์ุแท้พันธุเ์ ดียวกัน ลูกสุกรท่อี อกมาจะมีลกั ษณะเหมือนพ่อ แม่ 3.3 ประเภทของสุกร สกุ รสามารถจดั แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 3.3.1 ประเภทมัน (Lard type) เปน็ สกุ รพันธ์ุดงั้ เดมิ มกี ารเจริญเติบโตช้า มรี ปู ร่างกลมสั้น ประสิทธิภาพการผลิตต่า โตช้า หัวใหญ่ คางย้อย เนื้อสันเล็ก สะโพกเล็ก ซึ่งเป็นลักษณะท่ีไม่ต้องการของตลาด ปัจจุบันจึงไม่พบสุกรประเภทน้ีในประเทศที่มีการเล้ียงสุกรเจริญก้าวหน้าแล้วเช่น ยุโรป และอเมริกา สาหรับประเทศไทยยังพบอยู่บ้างตามชนบท หรือชาวเขา สุกรประเภทน้ีเชน่ พันธร์ุ าด พันธุไ์ หหลา พนั ธค์ุ วาย และพันธพ์ุ วง เปน็ ต้น 3.3.2 ประเภทเบคอน (Bacon type) เป็นสุกรพันธ์ุดั้งเดิมของทวีปยุโรป รูปร่างลักษณะของสุกรประเภทนี้ คือ ลาตัวยาวแต่ค่อนข้างบางกว่าประเภทเนื้อ ความโค้งของลาตัวและหลังน้อยกว่าประเภทเน้ือ มีมันน้อยและมีเนื้อมาก จุดประสงค์ท่ีผลิตสุกรประเภทน้ีคือชาวยุโรปนามาทาผลิตภัณฑ์ชนิดหน่ึงช่ือ เบคอน ซ่ึงเป็นส่วนที่อยู่บริเวณสีข้างหรือที่เรียกว่า เนื้อสามชั้นดังนัน้ จงึ พยายามปรับปรุงใหช้ ้นั เน้ือของบริเวณสีข้างน้ันหนาหรือมีหลายชั้น และมีปริมาณของมันลดน้อยลง สุกรประเภทนเี้ ชน่ พนั ธุ์ลารจ์ ไวท์ และ พันธแุ์ ลนด์เรซ เปน็ ต้น 3.3.3 ประเภทเน้ือ (Meat type) ส่วนใหญ่เป็นสุกรประเภทพันธ์ุด้ังเดิม ท่ีได้รับการปรับปรุงคัดเลือกโดยเน้นการผลิตเน้ือมากกว่าผลิตมัน เป็นสุกรที่เลี้ยงกันมากในสหรัฐอเมริกาเหมาะสาหรบั บรโิ ภคเนอ้ื นอกจากน้กี ็มีสกุ รพันธใุ์ หม่ที่เกิดจากสุกรลูกผสมระหว่างประเภทมันกับประเภทเบคอน รูปร่างโดยท่ัวไปมีรูปร่างสันทัด ค่อนข้างหนา ความยาวของลาตัวส้ันและหนากว่าประเภทเบคอน ความโค้งของสันหลังคล้ายคันธนู และโค้งกว่าสุกรประเภทเบคอน สะโพกผายใหญ่ดูชัดเจน ไหล่โตกว้าง ความลึกของลาตัวพอประมาณ สุกรประเภทน้ีต่างก็มีลักษณะและคุณสมบตั ิดเี ด่นแตกตา่ งกันข้ึนกับลักษณะ และคุณสมบัติของแต่ละพันธ์ุ สุกรประเภทน้ี เช่น พันธ์ุดูรอค พันธแ์ุ ฮมเชียร์ และพนั ธเุ์ บอร์กเชยี ร์ เป็นต้น 3.4 พนั ธ์ุสุกร และลกั ษณะประจาพนั ธ์ุสุกร พันธ์สุ ุกรในประเทศไทย แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื 3.4.1 สุกรพันธุ์พื้นเมือง เป็นสุกรที่เล้ียงกันมาแต่ดั้งเดิมในประเทศไทย เป็นสุกรที่มีรูปร่างไม่ค่อยสมส่วน หน้ายาว หูเล็กต้ัง ไหล่เล็กแคบ ลาตัวยาวแคบ หลังแอ่น ท้องยาน สะโพกแคบ ขาและข้อเท้าอ่อน สีดาตลอดลาตัวอาจมีสีขาวปนบ้าง มีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างต่าประสิทธิภาพเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อไม่ดี ให้ลูกดกพอควร ซากไม่ค่อยดี มีเน้ือน้อยมันมาก แต่สามารถใชอ้ าหารคณุ ภาพตา่ ได้ดี สุกรพนั ธุ์พ้นื เมืองได้แก่

12 1) พนั ธไ์ุ หหลา เป็นสุกรมาจากประเทศจีนเคยมีผู้เล้ียงกันมากในภาคกลางและภาคใต้ ลกั ษณะมที งั้ สีดาท้องสขี าว และสีดาสลับขาว สีดามักเข้มท่ีบริเวณหัวไหล่และบั้นท้าย จมูกยาวแอ่นเล็กน้อย คางย้อย ไหล่กว้าง ลาตัวยาวปานกลาง แต่หลังแอ่น และพุงหย่อนเม่ือมีอายุมากสะโพกเลก็ ขาและขอ้ เทา้ ออ่ นแอ ดงั แสดงในภาพที่ 2.1 ภาพที่ 2.1 ลกั ษณะสุกรพนั ธไุ์ หหลา ทม่ี า : กรมปศสุ ตั ว์ (2546) 2) พันธุ์ควาย เป็นสุกรพ้ืนเมืองของภาคเหนือ สีคล้ายสุกรพันธุ์ไหหลา แต่ส่วนใหญ่ลาตัวจะมีสีดา จมูกมีลักษณะตรงและส้ันกว่า และมีรอยย่นบริเวณลาตัวมากกว่าพันธ์ุไหหลาใบหใู หญ่ปรกเลก็ น้อย ปากเลก็ หัวใหญ่ พุงหยอ่ น หลงั แอน่ สะโพกเลก็ ขาและขอ้ ขาอ่อน ตามีขอบเป็นวงแหวนสีขาวรอบตา เจรญิ เติบโตชา้ และอ้วนยาก ดังแสดงในภาพที่ 2.2 ภาพท่ี 2.2 ลักษณะสกุ รพนั ธคุ์ วาย ทม่ี า : กรมปศุสตั ว์ (2546) 3) พันธุ์ราด เป็นสุกรพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สีคล้ายพันธ์ุเบอรก์ เชยี ร์ หวั เล็กยาว ลาตัวส้นั ป้อม กระดูกเล็ก โตช้า หูเล็กตั้ง หน้าแหลม ปราดเปรียว และโตช้าดงั แสดงในภาพท่ี 2.3

13 ภาพที่ 2.3 ลกั ษณะสกุ รพันธรุ์ าด ที่มา : ณรงค์ (2549) 4) พันธ์ุพวง เป็นสุกรพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือเช่นเดียวกับพันธ์ุราด มีลักษณะสีดา ผิวหนังหนาหยาบ ลาตัวยาวพอๆ กับพันธุ์ไหหลา ไหล่กว้าง สะโพกแคบ และหลังแอ่น ดังแสดงในภาพที่ 2.4 ภาพที่ 2.4 ลกั ษณะสกุ รพนั ธพ์ุ วง ทม่ี า : เกษตรพอเพยี ง (2551) 3.4.2 สุกรพันธุ์ตา่ งประเทศ เป็นสุกรที่นาเข้ามาจากต่างประเทศเพื่อนามาเลี้ยง และใช้ปรับปรุงพันธ์ุสุกรพันธุ์พื้นเมืองของไทย มีรูปร่างขนาดใหญ่ มีการเจริญเติบโตเร็ว มีประสิทธิภาพการเปลย่ี นอาหารเป็นเน้อื ได้ดี สุกรพันธ์ตุ ่างประเทศทีเ่ ล้ยี งในประเทศไทย ไดแ้ ก่ 1) พันธ์ุลาร์จไวท์ (Large white) นาเข้ามาเล้ียงในไทยต้ังแต่ปี พ.ศ. 2482 มีถ่ินกาเนิดในประเทศอังกฤษ ท่ีเมืองยอร์คเชียร์ เกิดจากการคัดเลือกและผสมพันธุ์ระหว่างสุกรพันธุ์ยอร์คเชียร์ (Yorkshire) กับสุกรพันธ์ุไลเคสเตอร์ (Lechester) ลักษณะประจาพันธ์ุโดยทั่วไป มีลักษณะขนและหนังสีขาวตลอดลาตัว บางคร้ังอาจมีจุดดาท่ีผิวหนังบ้าง หูต้ัง หัวโต ลาตัวยาวแคบลึก ไหล่โต แต่สะโพกไม่โตเห็นเด่นชัดนัก อุปนิสัยปราดเปรียว แข็งแรง เป็นสุกรขนาดใหญ่ ให้

14ลูกดก เลี้ยงลูกเก่ง มีน้านมมาก มีอัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อและคณุ ภาพซากดมี าก สามารถปรับตัวเขา้ กับสภาพการเล้ียงดูไดด้ ี ดังแสดงในภาพที่ 2.5 ภาพที่ 2.5 ลกั ษณะสกุ รพันธลุ์ ารจ์ ไวท์ ทม่ี า : ณรงค์ (2549) 2) พันธุ์แลนด์เรซ (Land race) มีถิ่นกาเนิดในประเทศเดนมาร์ก ถูกนาเข้ามาในประเทศไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2506 เป็นสุกรลูกผสมของพันธ์ุลาร์จไวท์กับพันธ์ุพื้นเมืองของเดนมาร์กเป็นพันธท์ุ น่ี ยิ มเลย้ี งในประเทศไทย รูปรา่ งลกั ษณะมจี มกู ยาวหวั เล็ก หูปรก ขนาดของหูไม่แน่นอนสีของขนและหนังขาว อาจมีจุดดาปรากฏบ้าง ลาตัวหนาลึก ไหล่กว้างมาก สะโพกโตเห็นชัด หลังไมโ่ ค้งมากนกั ใหล้ ูกดกเลีย้ งลกู เกง่ มอี ตั ราการเจรญิ เตบิ โต ประสทิ ธภิ าพเปลย่ี นอาหารเป็นเน้ือและคุณภาพซากดมี าก ลาตวั ยาวกวา่ สกุ รพันธุ์อื่นๆ เพราะมีซี่โครงมากกว่า 1 – 2 คู่ แต่มีจุดอ่อนประจาพันธ์ุอย่มู าก เช่น ไมท่ นรอ้ น กระดูกขาเลก็ เรยี วทาให้ขาและข้อขาไม่แขง็ แรง ดังแสดงในภาพท่ี 2.6 ภาพท่ี 2.6 ลกั ษณะสกุ รพันธแ์ุ ลนด์เรซ ทม่ี า : ณรงค์ (2549) 3) พนั ธ์ดุ ูรอค (Duroc) มีถิ่นกาเนิดในภาคตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกาคร้งั แรกเรียกว่าดูรอก เจอร์ซี่ (Duroc jersey) เป็นพันธ์ุที่นิยมเล้ียงเช่นกัน รูปร่างลักษณะ มีหน้ายาว

15ปานกลาง ตวั โตพอควร หูมีขนาดปานกลาง ปลายหูปรก สีของขน มีสีอ่อนแก่แตกต่างกันไปจากสีเหลืองทองจนเป็นสีแดงออกดาหรือสีน้าตาลแก่ มีลาตัวสั้นและหนากว่าสุกรประเภทเบคอน มีความโค้งของสนั หลงั คลา้ ยคันธนู สะโพกและไหลห่ นากวา้ งเหน็ เด่นชัด ใหล้ ูกดก เล้ียงลูกดีพอควรข้อเด่นของสุกรพันธ์ุนี้คือ มีอัตราการเจริญเติบโตรวดเร็ว มีประสิทธิภาพเปล่ียนอาหารเป็นเนื้อดีมาก คุณภาพซากดี ทนทานต่อสภาพดินฟ้าอากาศได้ นิยมใช้เป็นพ่อพันธ์ุในการผลิตลูกสุกรเพื่อนาไปขุน ดังแสดงในภาพท่ี 2.7 ภาพที่ 2.7 ลกั ษณะสุกรพันธด์ุ ูรอค ทม่ี า : ณรงค์ (2549) 4) พันธ์ุแฮมเชียร์ (Hampshire) ท่ีมีถ่ินกาเนิดในประเทศอังกฤษ รูปร่าง ลักษณะ มีจมูกยาว หัวค่อนข้างเล็ก หูต้ัง ลาตัวค่อนข้างบาง มีสีดาและมีสีขาวคาดบริเวณ หวั ไหล่จรดขาหน้าทั้งสองจดั เปน็ สกุ รขนาดกลาง ลาตวั สนั้ หลังโค้ง ทนทานต่อสภาพแวดล้อม ของไทยได้ดี มีอัตราการเจริญเติบโต และมีประสิทธิภาพเปลี่ยนอาหารเป็นเน้ือดี มีลักษณะ ความเปน็ แมไ่ ม่ดนี ัก ใหล้ กู ไม่ดกเลย้ี งลกู ไม่เก่ง จึงนิยมมาใช้ทาเป็นสายพ่อพันธุ์แต่ไม่ค่อยเป็น ท่ีนิยมเลยี้ ง ท้ังนี้เพราะลาตัวสีดา ดงั แสดงในภาพที่ 2.8 ภาพที่ 2.8 ลักษณะสุกรพันธแุ์ ฮมเชยี ร์ ที่มา : ณรงค์ (2549)

16 5) พนั ธุ์เพยี เทรยี น (Pietrain) มถี ่ินกาเนิดท่ีประเทศเบลเย่ียม รูปร่างลักษณะ มีหูต้ัง ลาตัวมีสีขาว มีจุดดาใหญ่กระจายทั่วตัวตรงกลางจุดเป็นสีดาเข้ม มีขนและผิวหนังสีดา แต่ตรงขอบรอบจุดดาสีขนเป็นสีขาวทาให้ดูเหมือนมีวงแหวนสีเทาล้อมรอบ สะโพกใหญ่ ไหล่หนา หลังกว้างเปน็ รอ่ ง และมีกล้ามเนอ้ื เปน็ มดั ชัดเจน มีอัตราการเจริญเติบโต ประสิทธิภาพเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อและคุณภาพซากดีมาก ให้ลูกดก และเลี้ยงลูกเก่ง ข้อเสียของสุกรพันธุ์น้ี คือเมื่อเกิดความเครียดสุกรจะช็อกตายได้ง่ายทาให้เน้ือมีสีซีด นิ่มเหลว และแฉะน้า (Pale Soft Exudative) หรือเนื้อ PSEจดั เป็นเน้ือคณุ ภาพต่ามาก ดังแสดงในภาพที่ 2.9 ภาพท่ี 2.9 ลกั ษณะสกุ รพนั ธเุ์ พยี เทรียน ทม่ี า : ณรงค์ (2549)4. ข้อแตกต่างระหว่างสุกรพนั ธ์ุพนื้ เมืองกบั สุกรพนั ธ์ุจากยโุ รปและอเมริกา ขอ้ แตกต่างระหวา่ งสุกรพันธุ์พื้นเมอื งและสกุ รพนั ธ์ุจากตา่ งประเทศ สามารถสรุปข้อแตกตา่ งได้ ดังแสดงในตารางที่ 2.1ตารางที่ 2.1 สรปุ ข้อแตกต่างระหวา่ งสุกรพนั ธพ์ุ ้นื เมืองกับสุกรพนั ธจุ์ ากยโุ รปและอเมริกาลกั ษณะ พนั ธ์ุพนื้ เมือง พนั ธ์ุจากยโุ รปและอเมริกา1. ขนาดรูปร่าง มีขนาดเล็ก ลาตัวสน้ั หลังแอน่ มีขนาดใหญ่ ลาตัวยาว หลงั ตรง ทอ้ ง ทอ้ งยาน เรียบขนานกับพ้นื2. การเจรญิ เตบิ โต โตช้า โตเร็ว3. การเปลีย่ นอาหาร มคี วามสามารถในการเปลย่ี น มีความสามารถในการเปลย่ี นอาหาร อาหารเปน็ เนือ้ ไม่ดี กินมากโตช้า เป็นเน้ือได้ดี กินน้อยโตเร็ว4. ความทนทาน มีความทนทานต่อสภาพแวดลอ้ ม ไม่ทนทานต่อสภาพแวดล้อมในไทย ได้ดี5. คณุ ภาพซาก ซากมีเนอ้ื แดงนอ้ ย ซากมเี น้ือแดงมากทม่ี า : ไพฑูรย์ (2550)

17 5. พนั ธ์ุสุกรหลกั ทใี่ ช้ในการผลติ สุกรพันธุต์ ่างประเทศทีเ่ ล้ียงกันอยู่ในประเทศไทย เป็นพันธ์ุท่ีได้รับการปรับปรุงและบารุงพนั ธเุ์ ป็นอย่างดีจากต่างประเทศท้ังในยุโรปและอเมริกา พันธ์ุสุกรหลักท่ีใช้ในการผลิตพบว่า มีอยู่3 พันธ์ุ ได้แก่ พนั ธ์ุลาร์จไวท์ พันธ์ุแลนด์เรซ และพันธุ์ดูรอค โดยใช้สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์ และพันธ์ุแลนด์เรซผลิตเป็นสายแม่ และใช้สุกรพันธุ์ดูรอคเป็นสายพ่อ เพื่อผลิตสุกรขุนจาหน่าย พันธ์ุสุกรท้ังสามพันธุ์ขณะน้ีมีอยู่หลายสายพันธ์ุที่มีการนาเข้ามาเล้ียง เช่น สุกรพันธ์ุลาร์จไวท์ และพันธุ์แลนด์เรซ จะมีทั้งสายพันธ์ุของประเทศสหรัฐอเมริกา อังกฤษ เดนมาร์ค และฮอลแลนด์ เป็นต้นส่วนสกุ รพนั ธุด์ ูรอค สว่ นมากจะเป็นสายพันธุ์ของสหรัฐอเมริกา เดนมาร์ค และแคนาดา สุกรแต่ละสายพันธขุ์ องแตล่ ะประเทศจะมลี ักษณะเด่นของสายพนั ธแ์ุ ตกตา่ งกันออกไปตามจุดประสงค์ในการผสมพันธแุ์ ละปรับปรุงพนั ธ์ุที่สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของตลาด และปจั จยั ประกอบอ่นื ๆ #######################################################


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook