Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการดำเนินโครงการพก. การเงิน การคลัง63

รายงานผลการดำเนินโครงการพก. การเงิน การคลัง63

Published by dy na, 2020-02-18 09:09:23

Description: รวมเล่มพก. การเงิน การคลัง63

Search

Read the Text Version

บทสรุปสาหรับผ้บู รหิ าร กรมการพฒั นาชุมชน กระทรวงมหาดไทยเป็นกลไกหลกั ของรฐั บาลและของกระทรวงมหาดไทย ในการบาบัดทกุ ข์ บารงุ สุข มีหน้าทรี่ บั ผิดชอบด้านการพฒั นาชนบท เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพชีวิตของประชาชนให้ดี ยง่ิ ขึ้น โดยได้รับความไว้วางใจจากรัฐบาล และกระทรวงมหาดไทยให้มีบทบาทสาคญั ในการขับเคล่ือนนโยบาย โครงการ/กิจกรรมสาคัญ เพือ่ ขจัดความยากจน ลดความเหล่ือมล้าในสงั คม /ชุมชน ตลอดรวมถงึ การส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก ใหม้ คี วามมนั่ คง ชุมชนพงึ่ ตนเองได้อยา่ งยงั่ ยนื ภายใต้การนอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี งไปสู่การ ปฏิบตั ิจนเป็นวิถีชวี ิต (Way of Life) ในการดาเนนิ งานโครงการ /กจิ กรรมต่าง ๆ ของกรมการพัฒนาชมุ ชน จะต้องมกี ารดาเนินการจัดซื้อ จัดจา้ ง การจัดหาวสั ดุ /ครุภณั ฑ์ การจา้ งเหมา การตรวจรบั และอืน่ ๆ ตาม พระราชบญั ญตั กิ ารจัดซือ้ จัดจา้ ง และการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ .ศ.2560 รวมถงึ ระเบียบกฎ หมายอนื่ ๆ ทเี่ ก่ียวขอ้ ง ซง่ึ พฒั นากรจะต้องมคี วามรู้ ความชานาญ และเชยี่ วชาญ ในการดาเนนิ งานการจดั ซื้อ จดั จ้าง ภาครฐั เป็นอยา่ งยิ่ง จึงจะทาให้การดาเนนิ งานเป็นไปอยา่ งมปี ระสิทธิภาพและเปน็ ไปตามระเบยี บแบบแผน ของทางราชการ สถาบนั การพฒั นาชมุ ชน ในฐานะหน่วยงานทรี่ ั บผดิ ชอบในการพัฒนา เพิม่ ทักษะและสมรรถนะ ข้าราชการของกรมการพฒั นาชุมชน จงึ ไดก้ าหนดโครงการฝกึ อบรมพัฒนากรระหว่างประจาการ หลกั สตู ร การเงนิ การคลัง เพือ่ เพม่ิ ขดี สมรรถนะ ทกั ษะการดาเนนิ งานจัดซ้ือ จัดจา้ งภาครัฐ ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ท่ีควรรู้ การบริหารความเส่ียงดา้ นการเงิ นและบัญชี เพอื่ ใหพ้ ฒั นากรเกิดความมัน่ ใจในการดาเนนิ งานเบกิ จ่าย งบประมาณกิจกรรม/โครงการ ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ลดความเสี่ยงและขอ้ ผดิ พลาดท่อี าจจะเกิดข้นึ จากการ ปฏิบัตงิ าน สามารถนาความรู้ ท่ไี ด้รบั จากการฝกึ อบรมมาปรับใชใ้ นการดาเนนิ งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพ เปน็ ไป ตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ และสร้างเครือขา่ ยในการทางานร่วมกัน ทัง้ นี้ สถาบนั การพฒั นาชุมชน ไดม้ อบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนทั้ง ๑๑ แห่ง ทัว่ ประเทศดาเนนิ การฝกึ อบรมตามหลักสตู รดงั กลา่ ว ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนลาปาง เป็นหนึง่ ใน ๑๑ แหง่ ของศูนย์ศกึ ษาฯ ในสงั กดั สถาบั นการพฒั นาชมุ ชน ศนู ย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปางจึงดาเนินการจัดทาโครงการฝกึ อบรมพฒั นากรระหวา่ งประจาการ หลกั สตู ร การเงนิ การคลัง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2463 ขนึ้ ขอบเขตเนอ้ื หาวชิ า หวั ข้อวิชา ระเบียบ ข้อบังคบั ในการจัดซ้ือ จัดจ้างภาครฐั ที่พฒั นากรควรรู้ วิทยากรบรรยาย นายวรี พล เทพานนท์ ตาแหนง่ นกั วชิ าการคลงั ชานาญการ หัวข้อวชิ า การตรวจสอบ กลั่นกรองขอบเขตของงาน ร่างTOR (Terms of Reference) วทิ ยากรบรรยาย นายวรี พล เทพานนท์ ตาแหน่ง นกั วิชาการคลังชานาญการ หัวข้อวชิ า แลกเปลี่ยนเรียนรู้รูปแบบการจัดซอื้ จัดจา้ งภาครฐั (การจัดซอ้ื จัดจ้างแบบวธิ ี เฉพาะเจาะจง/คดั เลือก/ วธิ ีประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Bidding) ) วทิ ยากรบรรยาย นายวรี พล เทพานนท์ ตาแหนง่ นักวชิ าการคลังชานาญการ หวั ขอ้ วชิ า การบรหิ ารความเสีย่ งด้านการเงินงบประมาณฯ วิทยากรบรรยาย นางสายสมร ทองอยู่ ตาแหน่ง นักวิชาการเงินและบัญชชี านาญการ หัวข้อวชิ า ออกแบบและการจดั ทาแผนบรหิ ารความเสี่ยงองค์กร วิทยากรบรรยาย นางสาวเยาวรัตน์ สายศรีธิ ตาแหน่ง นกั วชิ าการคลงั ชานาญการพิเศษ

กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 1. กจิ กรรมหน้าเสาธงเทิดทูนสถาบัน 2. กิจกรรมการส่งเสริมค่านยิ มองคก์ ารกรมการพัฒนาชุมชน 3. กจิ กรรมกฬี าสมั พันธ์พฒั นากร & กิจกรรมสานสัมพนั ธ์ 4. กจิ กรรมออกกาลังกายสบายชวี ี การประเมินผลโครงการฯ ใช้แบบสอบถาม โดยวิธีการประเมนิ ออนไลนใ์ นรูปแบบ Google Form ผลการประเมินพบวา่ ผเู้ ข้าอบรมเป็นเพศ หญิงมากกว่าเพศชาย คดิ เปน็ ร้อยละ 72.43 และ 27.57 ผเู้ ข้า อบรมมีอายุโดยเฉลีย่ 43 ปี ขอ้ มลู การศึกษาสงู สดุ พบวา่ รอ้ ยละ 57 จบการศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท ร้อยละ 42.05 จบการศกึ ษา ระดับปรญิ ญา ตรี ร้อยละ 0.47 จบการ ศึกษา ต่ากว่าปริญญาตรีและปริญญาเอก ตามลาดบั การบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของโครงการ พบวา่ ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรม แสดงความคิดเหน็ ตอ่ การบรรลุ วัตถุประสงคข์ องหลกั สตู ร จากผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 214 คน โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉลย่ี รอ้ ยละ 4.16 ในประเดน็ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในระเบียบการจดั ซอ้ื จัดจา้ งรวมถึงการบริหารความเสีย่ งดา้ น งบประมาณและองค์กร ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมแสดงความคิดเห็นตอ่ ประโยชน์ของหวั ข้อวชิ าตอ่ การนา ความรู้ไปปรับใช้ในการ ปฏิบัติงานในภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.31 โดยพบวา่ สามารถนาความรู้ในวิชา “ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ในการจัดซ้ือ จัดจา้ งภาครฐั ที่ พฒั นากรควรรู้ ” มาปรับใช้ใน ระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.30 วิชา “รูปแบบการ จดั ซอื้ จัดจา้ งภาครฐั (การจดั ซือ้ จัดจ้างแบบวิธเี ฉพาะเจาะจง /คัดเลือก /วธิ ปี ระกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e- Bidding) มาปรับใช้ในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.27 วชิ า “กลน่ั กรองขอบเขตของงาน ร่าง TOR (Terms of Reference) ”มาปรบั ใช้ในระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.27 วชิ า “การบริหารความเสย่ี งดา้ นการเงินงบประมาณฯ ” มาปรบั ใชใ้ นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 4.36 วิชา “ออกแบบและการจดั ทาแผนบรหิ ารความเส่ยี งองค์กร ” มาปรับ ใช้ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 และผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรมมคี วามพึงพอใจภาพรวมของโครงการอยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย ๔.39 สาหรบั การประเมนิ รายวิชา สรปุ ได้ดงั นี้ วิชา “ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ในการจดั ซ้ือ จดั จ้างภาครฐั ท่ี พฒั นากรควรรู้” โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.27 ความพึงพอใจที่มีต่อวทิ ยากร โดยภาพรวมอยใู่ น ระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.39 วชิ า “รูปแบบการจัดซอื้ จดั จา้ งภาครฐั (การจัดซ้อื จดั จา้ งแบบวิธเี ฉพาะเจาะจง / คัดเลอื ก /วธิ ีประกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Bidding) ” โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลย่ี 4.28 ความ พึงพอใจทีม่ ีต่อวทิ ยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.40 วิชา “กล่นั กรองขอบเขตของงาน รา่ ง TOR (Terms of Reference) ” โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.22 ความพงึ พอใจท่ีมีต่อวทิ ยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก คา่ เฉล่ยี 4.38 วชิ า “การบรหิ ารความเส่ยี งดา้ นการเงนิ งบประมาณฯ ” โดย ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.41 ความพงึ พอใจท่มี ีตอ่ วิทยากร โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก คา่ เฉลย่ี 4.45 และ วชิ า “ออกแบบและการจดั ทาแผนบริหารความเสี่ยงองคก์ ร” โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.43 ความพงึ พอใจทม่ี ตี ่อวิทยากรโดยภาพรวมอย่ใู นระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.48

ข้อเสนอแนะ  ดา้ นวิชาการและการบรหิ ารโครงการ - ควรให้พฒั นากรทกุ คนได้มาอบรมหลกั สตู รการเงิน การคลัง - เลม่ คมู่ ือเอกสารอบรมหลกั สตู รการเงิน การคลัง ควเรนม้อื ี หาพรบ. และระเบยี บที่ตรงกับเน้อื หาวทิ ยากรบรรยาย - ลดระยะเวลาการระดมสมอง การแบง่ กลุ่ม การนาเสนอ และเพ่ิมการบรรยายจากวิทยากรทม่ี คี วามรู้ ความสามารถ/เชย่ี วชาญในเรอ่ื งนนั้ ๆ เน้นการถ่ายทอดความรูท้ จี่ ะนาไปปรบั ใชใ้ นพื้นท่ี - ควรเพม่ิ การลงมือปฏบิ ัตเิ พอ่ื ใหเ้ กิดความเข้าใจและชดั เจนมากยงิ่ ขน้ึ กาเรชร่น่าง TOR ข้นั ตอนการบันทกึ ระบบการจัดซอ้ื จดั จา้ งภาครฐั ฯลฯ - ควรมีการพาไปศึกษาดงู านนอกสถานที่เพ่อื เป็นการเรยี นรู้จากตัวอยา่ งและสามารถถอดบทเรียนนามา ประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสมกับพืน้ ท่ี

คำนำ ยุทธศาสตร์สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ประเด็น ยุทธศาสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ ซ่ึงมีเป้าหมายเพื่อสร้างสมดุล และพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดประสิทธิภาพ คุ้มค่า โปร่งใส เกิดความเป็นธรรมในการให้บริการ สาธารณะ โดยพัฒนาทักษะและศักยภาพของกาลังคนภาครัฐ ให้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพ เกิดผลสัมฤทธิ์ คมุ้ ค่า ซึ่งเป็นเรอ่ื งจาเป็นที่จะต้องมกี ารพัฒนาความร้ใู นการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ รวมถงึ การบูรณาการ องคค์ วามร้ใู นเรอ่ื งตา่ งๆ ให้กับบุคลากรอย่างสม่าเสมอและปรับปรุงให้เหมาะสมกับยุคสมัยทม่ี ีการเปล่ียนแปลง ตลอดเวลา กรมการพัฒนาชุมชน ได้เล็งเห็นความสาคัญดังกล่าว ในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และเพ่ิมพูนทักษะ สาหรับพัฒนากรให้สามารถดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมถึงข้อพึงระวังท่ี เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติงานในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน เกิด ความม่ันใจในการดาเนินงานเบิกจ่ายงบประมาณกิจกรรม/โครงการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดความเสี่ยงและ ข้อผิดพลาดท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากการปฏิบัติงาน สามารถนาความรู้ ที่ได้รับจากการฝึกอบรมมาปรับใช้ในการ ดาเนนิ งานใหเ้ กิดประสิทธิภาพ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง ได้รับมอบหมายจากสถาบันการพัฒนาชุมชน ดาเนินโครงการ ฝึกอบรมพัฒนากรระหว่างประจาการ หลักสูตรการเงิน การคลัง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2463 กลุ่มเป้าหมายเป็นพัฒนากรระหว่างประจาการในพ้ืนท่ี ๘ จังหวัดภาคเหนือตอนบนจานวน 225 คน ดาเนินการระหว่างวันท่ี 12-13, 19-20 และ 26-27 ธันวาคม 2562 ณ ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ลาปาง ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนลาปาง จึงได้จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานโครงการฝึกอบรม พฒั นากรระหว่างประจาการ หลักสตู รการเงนิ การคลัง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2463 เพอื่ ให้ผเู้ ก่ียวข้องได้ ทราบผลการดาเนินงาน คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการดาเนินงานฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์ตอ่ การปฏิบตั ิงานของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้อง และผ้ทู ่สี นใจได้เป็นอยา่ งดี ศูนย์ศกึ ษำและพฒั นำชุมชนลำปำง กุมภำพนั ธ์ ๒๕63

สารบญั คานา หนา้ สารบญั บทสรุปผูบ้ รหิ าร 1 ๑. ท่ีมา/วัตถปุ ระสงค์/กลุ่มเป้าหมาย/รายชอ่ื ผูบ้ ริหารโครงการ/รายชอ่ื ทมี วิทยากร 3 ๒. สรปุ ผลการฝกึ อบรมรายวชิ า ๑๑ ๒.1 หวั ขอ้ วชิ า “ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ในการจดั ซ้ือ จดั จา้ งภาครฐั ทพี่ ฒั นากรควรรู้” ๒.2 หวั ขอ้ วิชา “การตรวจสอบ กลั่นกรองขอบเขตของงาน ร่างTOR (Terms of Reference) ” ๒.3 หวั ขอ้ วิชา “แลกเปลย่ี นเรยี นรู้รูปแบบการจัดซ้ือ จัดจา้ งภาครัฐ (การจัดซอื้ จัดจ้าง แบบวธิ เี ฉพาะเจาะจง/คดั เลือก/วธิ ปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Bidding))” ๑๕ ๒.4 หัวข้อวชิ า “การบริหารความเสีย่ งด้านการเงินงบประมาณฯ” ๒๐ ๒.5 หัวขอ้ วชิ า “การออกแบบและการจัดทาแผนบริหารความเสีย่ งองค์กร” ๒๙ ๓. ผลผลติ จากการฝึกอบรม ๓๒ - แนวคดิ /ไอเดยี ทเี่ ปน็ ข้อเสนอในการปรบั ปรุงพัฒนางาน/ยกระดับการทางาน ๔. ผลการประเมินโครงการ - ผลการประเมนิ โครงการภาพรวม ๓๓ - ผลการประเมินรายวชิ า/วิทยากร ๔๐ ภาคผนวก ๕๐ - ประมวลภาพการฝกึ อบรม ๕๒ - ตารางการฝกึ อบรม ๕๕ - คาส่ังแต่งตงั้ คณะทางาน 60 - ทะเบยี นรายชอ่ื ผู้เขา้ อบรม 6๙ - แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน

๑ สรปุ ผลการดาเนนิ งานโครงการฝึกอบรมหลกั สตู รพัฒนากรระหวา่ งประจาการ หลักสตู รการเงนิ การคลงั ประจาปี พ.ศ. ๒๕๖3 รุ่นท่ี 1 ระหวา่ งวนั ท่ี 12-13 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รุ่นที่ 2 ระหว่างวันท่ี 19-20 เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ รนุ่ ท่ี 3 ระหว่างวันท่ี 26-27 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนลาปาง ๑. ที่มา/วัตถปุ ระสงค์/กล่มุ เป้าหมาย กรมการพฒั นาชมุ ชน กระทรวงมหาดไทยเปน็ กลไกหลกั ของรฐั บาลและของกระทรวงมหาดไทใยนการบาบัด ทกุ ข์ บารุงสขุ มหี นา้ ทร่ี บั ผิดชอบด้านการพฒั นาชนบท เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตของประชาชนใหด้ ีย่ิงขึ้น โดยไดค้รวับาม ไวว้ างใจจากรฐั บาล และกระทรวงมหาดไทยใหม้ บี ทบาทสาคญั ในการขับเคลอื่ นนโยบาย โค/กรงจิ กการรรมสาคัญ เพื่อขจัด ความยากจน ลดความเหลอื่ มล้าในสังคม/ชมุ ชน ตลอดรวมถึงการส่งเสรมิ เศรษฐกิจฐานราก ใหม้ ีความมนั่ คง ชุมชน พึง่ ตนเองได้อยา่ งยงั่ ยนื ภายใตก้ ารนอ้ มนาเศรษฐกิจพอเพยี งไปสู่การปฏบิ ตั จิ นเปน็ วิถชี ีวติ (Way of Life) ในการ ดาเนินงานโครงการ/กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของกรมการพฒั นาชมุ ชน จะตอ้ งมีการดาเนนิ การจัดซ้ือ จดั จ้าง การจดั หาวัสด/ุ ครภุ ัณฑ์ การจา้ งเหมา การตรวจรับ และอื่น ๆ ตามพระราชบัญญตั ิการจดั ซื้อ จัดจา้ ง และการบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 รวมถงึ ระเบยี บกฎหมายอืน่ ๆท่ีเกี่ยวข้อง ซ่งึ พฒั นากรจะต้องมคี วามรู้ ความชานาญ และเช่ยี วชาญ ในการ ดาเนนิ งานการจดั ซ้ือ จัดจ้างภาครฐั เปน็ อย่างยิ่ง จึงจะทาใหก้ ารดาเนนิ งานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพและเปน็ ไปตาม ระเบียบแบบแผนของทางราชการ อยา่ งไรก็ตามพฒั นากรท่ีปฏิบัตงิ านในสานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ ยังขาดความรู้ ความเชย่ี วชาญในการ ปฏบิ ัติงาน ขาดโอกาสในการพัฒนาความท่ีปฏบิ ัติงานในสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอรู้ ทกั ษะในด้านการจัดซื้อ จัดจา้ ง ทค่ี วรรู้ หรอื ตอ้ งรู้ ทาใหเ้ กิดการวติ กกงั วล และขาดความม่ันใจในการทางาน รวมท้ั งเกดิ ความทุกขใ์ จดว้ ย เกรงวา่ สิ่งทตี่ นเองไดป้ ฏบิ ตั ิน้นั จะผิดระเบียบกฎหมายหรอื ไม่ สถาบันการพัฒนาชมุ ชน ในฐานะหน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบในการพัฒนา เพิ่มทักษะและสมรรถนะ ข้าราชการของกรมการพัฒนาชุมชน จึงไดก้ าหนดโครงการฝกึ อบรมพัฒนากรระหวา่ งประจาการ หลกั สตู รการเงิน การคลัง เพ่อื เพิม่ ขดี สมรรถนะ ทกั ษะการดาเนินงานจัดซื้อ จัดจา้ งภาครฐั ระเบยี บ ขอ้ บังคบั ท่คี วรรู้ การบรหิ าร ความเส่ยี งด้านการเงนิ และบัญชี เพือ่ ใหพ้ ฒั นากรเกิดความม่นั ใจในการดาเนนิ งานเบิกจา่ ยงบประมาณกจิ กรรม / โครงการ ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ลดความเสี่ยงและขอ้ ผดิ พลาดที่ อาจจะเกิดขน้ึ จากการปฏบิ ตั ิงาน สามารถนา ความรู้ ทไ่ี ดร้ บั จากการฝึกอบรมมาปรับใช้ในการดาเนนิ งานใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ เปน็ ไปตามระเบยี บแบบแผนของ ทางราชการ และสร้างเครอื ขา่ ยในการทางานรว่ มกนั ท้งั นี้ สถาบนั การพัฒนาชุมชนไดม้ อบหมายให้ศนู ย์ศกึ ษาและ พัฒนาชมุ ชนทัง้ ๑๑ แห่ง ทว่ั ประเทศดาเนนิ การฝึกอบรมตามหลักสูตรดงั กล่าว ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน ลาปาง เปน็ หนง่ึ ใน ๑๑ แหง่ ของศนู ย์ศึกษาฯ ในสังกดั สถาบนั การพฒั นาชุมชน ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนลาปาง จงึ ดาเนินการจัดทาโครงการฝกึ อบรมพฒั นากรระหว่างประจาการ หลักสูตรการเงิน การคลงั ประจาปีงบประม าณ พ.ศ. 2463 ต่อไป 2. วัตถปุ ระสงค์ เสรมิ สร้างองค์ความรู้ และเพมิ่ พนู ทกั ษะสาหรบั พฒั นากรใหส้ ามารถดาเนนิ การจัดซอ้ื จัดจ้างภาครฐั ได้ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ รวมถึงข้อพงึ ระวังทเี่ ก่ียวขอ้ งในการปฏบิ ตั ิงาน

๒ 3. กล่มุ เป้าหมาย พฒั นากรระหว่างประจาการในพ้ืนที่ ๘ จงั หวดั ภาคเหนือตอนบน จานวน 225 คน โดยแบ่งออกเปน็ 3 รุ่น ดงั น้ี รนุ่ ท่ี 1 จานวน 75 คน ประกอบด้วย - จงั หวดั เชยี งใหม่ 21 คน - จังหวดั น่าน 11 คน - จงั หวดั แมฮ่ ่องสอน 5 คน - จังหวัดพะเยา 6 คน - จังหวัดลาปาง 8 คน - จังหวัดเชียงราย 11 คน - จงั หวัดลาพนู 5 คน - จังหวัดแพร่ ๘ คน ร่นุ ที่ 2 จานวน 76 คน ประกอบดว้ ย - จงั หวดั เชยี งใหม่ 21 คน - จงั หวัดนา่ น 10 คน - จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน 5 คน - จังหวดั พะเยา 6 คน - จังหวดั ลาปาง ๙ คน - จังหวดั เชยี งราย 13 คน - จังหวดั ลาพูน 4 คน - จงั หวัดแพร่ ๘ คน รนุ่ ที่ 3 จานวน 74 คน ประกอบดว้ ย - จังหวดั เชยี งใหม่ 21 คน - จงั หวดั นา่ น 9 คน - จังหวดั แม่ฮอ่ งสอน 4 คน - จังหวัดพะเยา 6 คน - จังหวัดลาปาง ๙ คน - จังหวดั เชยี งราย 13 คน - จังหวัดลาพูน 5 คน - จังหวดั แพร่ 7 คน รายช่อื ผ้บู รหิ ารโครงการ/หลักสตู รของศูนยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชน ผ้จู ดั การโครงการฯ นางสาวณัฐกฤตา ชยั ตูม นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบตั ิการ ผจู้ ัดการ รุ่นท่ี 1 ผจู้ ัดการ รุ่นที่ ๒ นางสาวเมทินี น้อยเรือน นกั ทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร ผจู้ ดั การ รุ่นท่ี 3 นางกรรณิการ์ ก๋าวิตา นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ รายชือ่ ทมี วทิ ยากรกระบวนการ กลุ่มที่ 1 นางอัญชลี ปง่ แก้ว นักทรพั ยากรบุคคลชานาญการ ก๋าวิตา นกั ทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ นางกรรณิการ์ ชยั ตูม นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ิการ รักขติวงศ์ นกั วชิ าการพฒั นาชมุ ชนชานาญการ กลุ่มท่ี 2 นางสาวณฐั กฤตา สงิ ห์แกว้ นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ น้อยเรอื น นกั ทรพั ยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร นายณฐั นชิ เดชะเทศ นักจดั การงานทวั่ ไปชานาญการ บวั คา นักทรพั ยากรบคุ คล กลุม่ ท่ี 3 นายเกรียงไกร นางสาวเมทินี กลมุ่ ท่ี 4 นางอรุณศรี ว่าที่ ร.ต ชัยณรงค์

๓ ๒. สรุปผลการฝกึ อบรมรายวชิ า ผลการฝึกอบรม โครงการฝกึ อบรมพัฒนากรระหวา่ งประจาการ หลกั สูตรการเงิน การคลั ง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2463 ดาเนินการจานวน 3 ร่นุ ระหว่างวนั ท่ี 12-13, 19-20 และ 26-27 ธันวาคม 2562 กลุม่ เป้าหมาย คอื พัฒนากรระหวา่ งประจาการในพ้ืนท่ี ๘ จังหวัดภาคเหนือตอนบน จานวน 225 คน ณ ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชมุ ชน ลาปาง โดยเปน็ การเสริมสร้างองคค์ วามรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับ ระเบียบ กฎหมาย และข้อบังคบั /ขอ้ พงึ ระวัง ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งในการปฏบิ ัตงิ าน ใหส้ ามารถนาความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปปรบั ใช้ใน การปฏิบตั ิงานสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ รมการพฒั นาชุมชนไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ พรอ้ มเพิ่มพนู ทกั ษะสาหรับพัฒนากร ให้สามารถดาเนินการจัดซอ้ื จัดจ้างภาครฐั ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การดาเนินงานตาม โครงการฯดงั กล่าวไดก้ าหนดหวั ข้อวิชาจานวน 5 หวั ขอ้ วชิ า ดงั น้ี 1. ระเบยี บ ขอ้ บังคับ ในการจัดซือ้ จัดจ้างภาครัฐ ท่พี ัฒนากรควรรู้ 2. รูปแบบการจดั ซื้อ จัดจา้ งภาครัฐ (การจัดซอื้ จัดจา้ งแบบวิธเี ฉพาะเจาะจง/คัดเลือก/ วิธีประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (e-Bidding) ) 3. การตรวจสอบ กลั่นกรองขอบเขตของงาน ร่างTOR (Terms of Reference) 4. การบรหิ ารความเส่ียงดา้ นการเงินงบประมาณฯ 5. ออกแบบและการจัดทาแผนบริหารความเส่ียงองค์กร สรุปสาระสาคญั ของเนื้อหาวิชา ไดด้ ังน้ี ๒.๑ หวั ข้อวชิ า “ระเบยี บ ข้อบังคบั ในการจัดซือ้ จัดจา้ งภาครัฐ ที่พัฒนากรควรรู้ ” วิทยากร ๑. นายวรี พล เทพานนท์ นักวิชาการคลังชานาญการ วัตถปุ ระสงค์ ๑. เพือ่ ใหผ้ ู้เข้ารบั การฝึกอบรม ร้แู ละเขา้ ใจเ กี่ยวกบั ระเบียบ ขอ้ บังคบั การจดั ซ้อื จดั จา้ งภาครัฐ วธิ กี ารเบิกจา่ ยในโครงการฯ ๒. เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมสามารถประยุกตใ์ ช้ในการดาเนนิ งานตามโครงการฯทใ่ี ช้งบประมาณ ขอบเขตเนอื้ หาวิชา 1. ระเบยี บ กฎหมาย ข้อบังคับ รูปแบบการจดั ซอ้ื จัดจา้ ง ภาครฐั 2. ขอ้ พงึ ระวัง จากกรณที เี่ กดิ ขึ้นจรงิ ในพ้นื ท่ี ทดลองปฏิบตั ิ ระยะเวลา 1.30 ชวั่ โมง (90 นาท)ี เทคนคิ /วิธีการ/กระบวนการ (1) บรรยายแบบมสี ่วนร่วม ใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั พระราชบญั ญตั กิ ารจดั ซื้อจัดจา้ งและการบรหิ าร พัสดุภาครฐั พ .ศ. 2560 รวมถงึ ระเบียบอ่นื ๆท่ีเก่ียวขอ้ งในภาพรวม โดยเ น้นกระบวนการจดั ซอื้ จัดจา้ ง 3 วธิ ี ได้แก่ วิธคี ดั เลอื ก วธิ ีเฉพาะเจาะจง e-bidding และวิธีประกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ e- GP) รวมพงึ ขอ้ พึงระวัง จากกรณีทีเ่ กดิ ข้นึ ในพ้นื ที่ (2) เปิดโอกาสใหผ้ ้เู ข้ารับการอบรมซักถามเพิ่มเตมิ ในแตล่ ะประเดน็ ทว่ี ิทยากรบรรยาย (3) ให้ผู้เข้าอบรมเขยี นประเดน็ คาถาม /ข้อสงสยั ลงในบตั รคา สาหรับการบรรยายในคาบวชิ า ถัดไป (เจ้าหนา้ ท่โี ครงการเป็นผู้จดั เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และจัดกลุ่มคาถามส่งใหว้ ทิ ยากรสาหรับเตรยี มการบรรยาย ตามประเด็นคาถาม/ขอ้ สงสัย) วิทยากรชวนพดู คยุ สร้างบรรยากา ศ ทกั ทายกลุ่มเป้าหมายอยา่ งเป็น กันเอง ซง่ึ ทุกทา่ นได้ทาการ จดั ซือ้ จัดจ้างมาแล้ว โดยส่วนใหญ่จะเป็นวิธเี ฉพาะเจาะจง โดยในวนั นเ้ี ราจะ มาเรียนรู้ ทบทวน และเนน้ ย้า ประเดน็ ทีเ่ จอกนั บอ่ ยๆ และต้องระมัดระวัง ซึ่งในส่วนแรก ท่ีเราจะมาดูกนั ในเ ร่อื งของ พระราชบญั ญัตกิ าร จดั ซือ้

๔ จดั จา้ งและบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560 ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจัดซอื้ จัดจ้างและการบรหิ ารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ 2560 จะเป็นการบรรยายควบคู่กันไปเลย เนอื่ งจากวา่ ในสว่ นของ ระเบียบและพระราชบญั ญัติต้อง ใชส้ ัมพันธก์ ัน ไม่สามารถแยกกันได้ การจัดซือ้ จดั จ้างถือเป็นหัวใจของการบริหารงาน ถา้ ไม่มกี ารจั ดซือ้ จดั จ้างกไ็ ม่ สามารถท่จี ะเบกิ เงนิ ได้ ถ้าจะเบิกเงนิ โดยไมม่ ีการจัดซอ้ื จดั จา้ งกไ็ ม่ได้ วทิ ยากรเขา้ เกร่นิ นาเข้า สู่เนอื้ หาของการบรรยาย โดยเร่ิมจากโครงสรา้ งกฎหมายการจดั ซื้อจัด จา้ งภาครฐั ประกาศเมื่อวันท่ี 24 กุมภาพนั ธ์ 2560 แตม่ ีผลบงั คบั ใช้อึก 180 วนั ดงั นั้น ผลของการจดั ซ้อื จัดจา้ ง ตามพระราชบัญญตั ิฉบบั น้เี รมิ่ ตัง้ แต่วนั ที่ 23 สิงหาคม 2560 ประกอบไปด้วย 15 หมวด 132 มาตรา จัดวา่ เปน็ โครงสร้างตามกฎหมาย โดยมีการกาหนดขอบเขตเท่านั้น พระราชบญั ญตั ิจะไปประกอบไปดว้ ยกฎกระทรวง และประกาศ  พระราชบญั ญตั ิเทยี บเท่าไดก้ ับกฎหมายฉบับหนึ่งท่รี องจากกฎหมายรฐั ธรรมนูญ ถ้ากระทาผิด ถอื วา่ ผดิ กฎหมาย ถ้ากระทาผิดในเรอ่ื งระเบยี บหรือหนงั สือเวยี น จะ ตอ้ งดูวา่ เข้าใ นเร่อื งพระราชบัญญตั ิกผ็ ิด กฎหมาย ถา้ เขา้ ในเรอ่ื งของระเบยี บหรือวิธีปฏิบัติ อาจจะผดิ วินัย  ประกาศ (ทอ่ี อกตามความในพระราชบญั ญัติ ) บางอย่ างไมส่ ามารถไปกาหนดใน พระราชบัญญัติ ได้ เนือ่ งจาก พระราชบญั ญตั ิ เม่ือมกี ารบญั ญัติก็ จะต้องมกี ารบงั คบั ใช้ ดงั นัน้ ถ้ าจะใหค้ รบถว้ น สมบูรณท์ ง้ั หมด จะตอ้ งใชเ้ วลา ดังนัน้ ก็จะไมม่ ีการประกาศออกมา จงึ ทาให้ข้อมลู บางส่วนอยใู่ น ประกาศแทน เช่น ประกาศคณะกรรมการกาหนดราคากลาง การข้ึนทะเบยี นผู้ประกอบการ ฯลฯ ดังน้ันกฎกระทรวง และประกาศ จงึ ถือวา่ เปน็ ส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัติ  ระเบยี บ คอื แนวทางการปฏิบตั ภิ ายใต้ พระราชบญั ญัติ ฉบับนี้ ซง่ึ จะเชอ่ื มโยงกนั ประกอบไปด้วย 10 หมวด 223 ขอ้  หนังสอื เวียน ปัจจุบนั มีเกอื บ 100 ฉบับ ถอื วา่ มี ความสาคัญมาก ออกมาเพ่ือท่จี ะเป็นแนว ทางการปฏบิ ัติเพ่ิมเติ มให้กับระเบียบ (อ่านแล้วยงั ไมช่ ดั เจนหรอื มหี ลายแนวทางปฏิบตั ิ ) ถือเป็นสว่ นเตมิ เต็มของ ระเบยี บ วิทยากรเขา้ สู่เนอื้ หาพระราชบัญญัติการจดั ซอ้ื จัดจา้ งและบรหิ ารพัสดภุ าครัฐ พ .ศ.2560 โดย เนน้ สงิ่ ที่เกยี่ วขอ้ งกับ ผู้เขา้ อบรมในหัวข้อคานิยาม (การจัดซอื้ จัดจ้าง ราคากลาง เจ้าหนา้ ที่ ฯลฯ) การมสี ่วนร่วม ของภาคประชาชน คณะกรรมการประกอบไปด้วย 5 ชุด ชุดที่ 1 คือ คณะกรรมการนโยบายการจดั ซือ้ จดั จ้าง และ การบริหารพัสดุภาครัฐ (ดแู ลเรอื่ งงบประมาณ) ชดุ ท่ี 2 คือ คณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ปญั หาการจัดซื้อจดั จ้างและการ บริหารพสั ดภุ าครัฐ (หารือในระดบั กรมพร้อมตอบขอ้ สงสัยการปฏบิ ตั งิ าน ขอผ่อนผันเร่อื งระเบียบ ) ชดุ ที่ 3 คณะกรรมการราคากลางและขนึ้ ทะเบยี นผูป้ ระกอบการ (พิจารณาผู้ประกอบการเพือ่ ขน้ึ ทะเบียนในเรือ่ งงาน กอ่ สร้างทมี่ ีวงเงินเกนิ 7 ลา้ นบาทข้ึนไป ขึน้ ท ะเบยี นได้ท่กี รมบัญชีกลางเทา่ นัน้ กาหนดหลกั เกณฑ์การคานวณ ราคากลางทงั้ งานก่อสร้างและงานซอ้ื งานจ้างด้วย ) ชุดท่ี 4 คณะกรรมการความร่วมมือปอ้ งกนั การทจุ รติ (ดแู ล เร่อื งการมสี ว่ นรว่ มของภาคประชาชน ตรวจสอบความโปร่ งใส ) ชุดที่ 5 คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์และข้อ ร้องเรียน (หน่วยจัดซ้ือส ามารถส่งเร่ืองโดยตรงไปยังคณะกรรมการ ) องค์กรสนับสนุน ดแู ลการจัดซ้ือจัดจา้ ง คอื กรมบัญชกี ลาง มหี นา้ ที่ซ้อมความเขา้ ใจในเรอ่ื งของหนังสือเวียน ระบบ การจัดซอ้ื จดั จา้ งภาครฐั ดว้ ยวธิ ี อเิ ลคทรอนิกส์ e-GP ออกหลักสูตรเพอื่ จดั อบรมใหก้ บั ผทู้ ่ดี ารงตาแหน่งทางด้ านสายงานพัสดุและปฏิบตั งิ าน ทางดา้ นพสั ดุ ซง่ึ การดาเนนิ การจัดซอ้ื จดั จ้าง สง่ิ ที่จะขาดไมไ่ ดค้ ือ การทาสัญญา ใบส่ังซอื้ สง่ั จ้าง ถอื เปน็ สญั ญาแต่ เป็นสญั ญาแบบลดรปู (มขี อ้ ความไมค่ รบทุกข้อ ) โดย สัญญามี 3 ประเภท คือ 1.สญั ญาแบบเตม็ รูป 2. สัญญาแบบลดรปู ได้แก่ ใบสงั่ ซือ้ ใบสง่ั จ้าง หนังสอื บันทกึ ข้อตกลง ฯลฯ 3. สัญญาไม่มีรูป คอื ใบเสรจ็ รบั เงิน

๕ ระเบียบกระทรวงการคลังฯ พ.ศ. 2560 มจี านวน 10 หมวด 223 ขอ้ เร่ิมต้ังแต่ขอ้ ความทว่ั ไป การซ้ือหรอื จา้ ง งานจา้ งท่ปี รกึ ษา งานจา้ งออกแบบหรอื ควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง การทาสญั ญาและหลกั ประกัน การบริหารสญั ญาและตรวจรับพัสดุ การประเมินผลการปฏิบัตงิ านของผ้ปู ระกอบการ การท้ิงงาน การบริหารพสั ดุ การร้องเรยี น กฎกระทรวงเปน็ ส่วนหนึง่ ของพระราชบัญญัติ มีจานว1น1 ฉบบั ด้วยกัน ในสว่ นท่ีเก่ียวขอ้ งกับเราคือ ฉบบั ที่ 3 กาหนดพสั ดุทีร่ ัฐต้องการสง่ เสรมิ หรื อสนบั สนุนและกาหนดวิธีการจัดซ้อื จัดจ้างพสั ดโุ ดยวธิ คี ดั เลือ กและ วิธีเฉพาะเจาะจง พ.ศ. 2560 ลงวันท่ี 23 ส.ค. 60 ฉบบั ท่ี 4 กาหนดวงเงินการจัดซ้อื จัดจ้างพสั ดโุ ดยวิธีเฉพาะเจาะจง วงเงินการจดั ซือ้ จัดจา้ งท่ีไม่ทาข้อตกลงเปน็ หนงั สอื และวงเงินการจัดซื้อจดั จ้างในการแต่งตั้งผู้ตรวจรับพสั ดุ พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 23 ส.ค. 60 ฉบบั ท่ี6 กาหนดเร่อื งการจัดซอ้ื จดั จา้ งกับหน่วยงานของรฐั ท่ใี ช้สทิ ธิอทุ ธรณ์ไม.ศไ่ .ด2้ พ560ลงวนั ท่ี23ส.ค. 60 ฉบบั ที่ 10 กาหนดกรณกี ารจัดซอ้ื จดั จา้ งโดยวธิ ีเฉพาะเจา(ะฉจบงับที่2) พ.ศ. 2561 ลงวันท่ี28 พ.ย. 61 วิทยากรกลา่ วถึง คานยิ าม “การจัดซ้อื จดั จา้ ง ” ตามพระราชบัญญตั กิ ารจดั ซอ้ื จดั จ้างและการ บริหารพสั ดภุ าครัฐ พ .ศ. 2560 คอื การดาเนินการเพอ่ื ให้ไดม้ าซง่ึ พสั ดโุ ดยการซอ้ื จา้ ง เชา่ แลกเปล่ยี น หรอื โดย นิตกิ รรมอื่นตามทก่ี าหนดในกฎกระทรวง “พสั ดุ” หมายถงึ หมายความวา่ สนิ ค้า งานบรกิ าร งานกอ่ สรา้ ง งานจ้างที่ปรึกษา และงานจา้ งออกแบบหรอื ควบคุมงา นกอ่ สร้าง รวมทง้ั การดาเนนิ การอื่นตามทกี่ า หนดใน กฎกระทรวง “สนิ ค้า” หมายความวา่ วสั ดุ ครุภัณฑ์ ท่ดี นิ สิง่ ปลกู สร้าง และทรัพย์สนิ อื่นๆ รวมถงึ งานบริการท่ี รวมอยู่ในสนิ ค้านนั้ ดว้ ย แต่มูลค่าของงานบริการต้องไม่สงู กวา่ ของมูลคา่ สินค้านัน้ ในการแยกระหว่างวัสดุ ครภุ ัณฑ์ จะมีความตา่ งจากเดิมท่พี จิ ารณา จากวงเงนิ ส่วนปัจจบุ ัน พจิ ารณาตามคานยิ ามทมี่ ีหนงั สือแนวทางการพจิ ารณา สิง่ ของที่จัดเปน็ วัสดุและครุภัณฑ์ตามหลกั การจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ ทมี่ ีหลกั การจาแนก ดงั นี้ สงิ่ ของทจ่ี ัดเป็นวสั ดุ โดยสภาพไม่คงทนถาวร หรอื มีอายกุ ารใชง้ านไมย่ ืนนาน ส้ินเปลือง หมดไปหรือเปล่ียนสภาพ ในระยะเวลาอนั สน้ั การพิจารณาแบง่ ออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ประเภทวสั ดุคงทน สิ่งของทีโ่ ดยสภาพมลี ักษณะคงทนแต่ตามปกตมิ อี ายกุ ารใช้งานไม่ยืนนาน หรอื เมอ่ื นาไปใช้งานแล้วเกิดความชารุด ไม่สามารถซ่อมแซมใชง้ านได้ดงั เดมิ หรอื ซ่อมแซมแล้วไม่คมุ้ ค่า 2. ประเภทวสั ดสุ ้นิ เปลือง สิ่งของทีโ่ ดยสภาพมีลักษณะเมอื่ ใช้แลว้ ย่อมสนิ้ เปลอื ง หมดไป หรอื แปร สภาพ หรือเปลยี่ นสภาพไปในระยะเวลาอันสั้นหรือไม่คงสภาพเดิม 3. ประเภทวั สดอุ ปุ กรณ์ประกอบและอะไหล่ สง่ิ ของท่เี ป็นอปุ กรณป์ ระกอบหรืออะไหล่สาหรบั การ ซ่อมแซม บารุงรักษาทรัพย์สินให้กลบั คนื สภาพดังเดิมท่มี ีลักษณะเปน็ การซอ่ มบารงุ ปกติหรือค่าซ่อมกลาง สว่ นครุภัณฑ์ เป็นสงิ่ ของทม่ี ีลักษณะคงทนถาวร มีอายกุ ารใช้งานทย่ี นื นาน ไมส่ ิน้ เปลอื งหมดไป หรอื เปล่ยี นสภาพในระยะเวลาอนั สัน้ เม่อื ชารุดเสยี หายแลว้ สามารถซ่อมแซมให้ใช้งานได้เหมือนเดมิ วิทยากรได้ยกตวั อย่างประกอบเพือ่ ความชัดเจน : ผ้ามา่ น บางหนว่ ยงานถือเปน็ วัสดุ บางหนว่ ยงานถือ เป็น ครภุ ัณฑ์ โดยเราจะดูจากลกั ษณะของสินค้า คือ ผ้ามา่ นมีราง มีความคงทน สามารถซ่ อมแซมได้ ดูจากความคมุ้ คา่ ของการใช้งาน เราจะถือเป็นครุภณั ฑ์ จะอยู่ท่ีดุลพนิ ิจของหนว่ ยงาน งานบรกิ าร หมายความวา่ งานจ้างบรกิ าร (เป็นงานทจ่ี ้างแล้ว เราไดร้ บั ความพึงพอใจกลบั มา อาจจะจา้ งเปน็ บางสว่ นกไ็ ด้ ) งานจา้ งเหมาบรกิ าร (มกี ารจัดหา /เตรยี มวัสดุ และจ้างทงั้ หมด มผี ลงานออกมา ) รบั จ้างทาของ (จา้ งอะไรไดอ้ ยา่ งน้นั ) การรบั ขนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ (การรบั ขนผู้โดยสารสนิ ค้า) งานก่อสร้าง มี 2 ประเภท 1.งานก่อสรา้ งใหม่ : อาคาร เสาธง , งานก่อสรา้ งสาธารณปู โภค 2.งานซอ่ มแซม รอื้ ถอน

๖ วิทยากรยกตัวอย่างขอ้ หารือ ของหนว่ ย งาน กรณกี ารตีความเกยี่ วกบั การจัดซอื้ จัดจ้าง ของ เทคโนโลยีปทุมวัน เร่ืองดาเนินโครงการจา้ งปรบั ปรุงห้องปฏิบตั ิการ วงเงนิ 3,457,690 บาท โดยแบ่งเปน็ งาน กอ่ สรา้ งมลู ค่า 1,290,768.80 บาท และงานครุภัณฑจ์ ดั ซ้ือมลู คา่ 2,166,921.20 บาท มูลคา่ ของงานในท่นี ้ี รวมถึงมูลค่าของสินค้าทีเ่ ปน็ ครุภณั ฑ์ ดว้ ยหรือไม่ ? และหากงานจ้างปรบั ปรุงหอ้ งปฏบิ ัตกิ ารฯ มกี ารซ้อื ครุภณั ฑ์ เกนิ กวา่ งานก่อสรา้ งสามารถกระทาได้หรือไม่ ? ซงึ่ ทางคณะกรรมการวนิ จิ ฉยั ปญั หา การจดั ซือ้ จัดจา้ งและการ บริหารพัสดุภาครัฐพิจารณาแลว้ เหน็ ว่า โดยหลกั การแลว้ ต้องแยกการจดั ซือ้ จัดจ้ างออกจากกัน แต่หากกรณีมี ความจาเป็นตอ้ งจัดซ้อื จดั จา้ งรวมกนั จะตอ้ งพิจารณาว่า มลู คา่ ของงานกอ่ สร้างหรอื สินค้าอยา่ งใดมีมูลค่ามากกว่า กนั ซึ่งมูลคา่ ครภุ ณั ฑ์สูงกวา่ มูลค่างานกอ่ สร้าง โครงการดังกล่าวจงึ มใิ ชง่ านกอ่ สรา้ งตามนิยามในพระราชบัญญตั ิฯ มาตรา 4 ซ่งึ การได้มาพัสดุสาหรบั งานกอ่ สรา้ งและสนิ คา้ ยอ่ มต่างกัน กลา่ วคือ งานก่อสร้างไดม้ าโดยการจ้างแต่ สนิ ค้าไดม้ าโดยการซ้อื สามารถแยกการจดั ซือ้ จัดจา้ งออกจากกนั ตามประเภทของวสั ดุ ราคากลาง มีการประกาศใชร้ าคากลางใหม่ ประกาศไวเ้ มือ่ วันท่ี 9 ธนั วาคมท่ผี ่านมา จะมกี าร ประกาศทกุ ปี เป็นราคาเพือ่ ใชเ้ ป็นฐานสาหรบั เปรยี บเทยี บราคาท่ผี ูย้ น่ื ข้อเสนอได้ยนื่ เสนอไวซ้ ่งึ สามารถ จัดซ้ือจัด จ้างได้จรงิ ตามลาดับ มีจานวน 6 ข้อ 3 ลาดับชนั้ ดงั นี้ 1. ราคาทีไ่ ดม้ าจากการคานวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการราคากลางกาหนด ช้นั ท่ี 1 2. ฐานขอ้ มูลราคาอ้างอิงของกรมบัญชีกลาง ชั้นท่ี 2 3. ราคามาตรฐานของสานักงบประมาณหรือหนว่ ยงานอน่ื 4. สบื ราคาจากทอ้ งตลาด การสบื ราคจาากท้องตลาดต้องทาการสืบจานวน 3 ราย เวน้ แตพ่ ืน้ ที่ มนี ้อยกว3่า รายก็ใหใ้ ช้ นอ้ ยกว่าได้ ช้นั ท่ี 3 5. ราคาท่เี คยซอ้ื หรอื จา้ งคร้งั หลังสุดภายใน 2 ปงี บประมาณ 6. ราคาตามหลักเกณฑอ์ ่นื ของหนว่ ยงานของรัฐ ราคากลางมี อายุ 30 วนั นบั แตว่ นั ทห่ี ัวหน้าหน่ว ยงานให้ความเห็นชอบ ถ้าเกนิ 30 วันต้องมี การทบทวนราคากลางใหม่ หนงั สือเวียนกรมบญั ชกี ลาง ได้ออกเปน็ คูม่ ือแนวทางการประกาศรายละเอยี ดข้อมลู กลาง ถ้าเปน็ งานกอ่ สรา้ งจะใช้แบบ บก.01 จากเดมิ เปน็ ปปช.01 เงอื่ นไขการประกาศให้หนว่ ยงานของรฐั ประกาศรายละเอียดข้อมลู ราคากลางและคานวณราคา กลางในการจดั ซอ้ื จัดจา้ งท่ีมวี งเงินเกนิ กวา่ 500,000 บาท ต้องเผยแพรอ่ ยา่ งนอ้ ย ในระบบฐานข้อมูล (เวบ็ ไซต์) อย่างนอ้ ย 2 แหง่ คอื กรมบญั ชีกลาง และหนว่ ยงานของตนเอง ทางกรมบัญชกี ลางไดอ้ อกหนังสอื กค (กวจ) 0405.2/ว 259 ลว. 4 มิ.ย. 2561 เพอ่ื ซักซอ้ ม ความเขา้ ใจนิยามความหมาย “งานก่อสร้าง ” ตามพระราชบัญญัตกิ ารจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบริหารพัสดุภาครฐั พ.ศ.2560 คอื 1. ไม่มผี ลกระทบตอ่ โครงสร้างหลกั หรอื ไมม่ ีผลกระทบตอ่ ความปลอดภยั หรอื ไมจ่ าเป็นต้องมี การควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ตั งิ านตลอดระยะเวลาดาเนินการ = จัดจ้างในลักษณะอื่นทมี่ ิใชง่ านกอ่ สรา้ งได้ 2. มีผลกระทบต่อโครงสรา้ งหลกั หรอื มผี ลกระทบต่อความปลอดภัย หรอื มคี วามจาเป็นจะตอ้ งมี การควบคมุ ดูแลการปฏบิ ัตงิ านตลอดระยะเวลาดาเนินการ = จดั จา้ งในลักษณะงานกอ่ สร้าง หลกั การจัดซ้อื จัดจ้างมาตรา 8 ถอื เปน็ หวั ใจของการจดั ซอ้ื จดั จา้ ง ประกอบดว้ ย คุ้มค่า โปร่งใส ตรวจสอบได้ ประสทิ ธิภาพและประสิทธิผล มาตรา 9 การกาหนดคุณลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุที่จะทาการจัดซื้อจดั จา้ ง ให้หนว่ ยงานของรัฐ คานึงถึงคณุ ภาพ เทคนิค และวัตถุประสงค์

๗ มาตรา 10 ห้ามมิให้หนว่ ยงานของรฐั เปดิ เผยข้อเสนอของผยู้ น่ื ขอ้ เสนอในสว่ นท่เี ป็นสาระสาคัญ และเป็นข้อมลู ทางเทคนิคของผูย้ น่ื ข้อเสนอ ซ่ึงอาจกอ่ ใหเ้ กิดการได้เปรียบเสยี เปรยี บระหวา่ งผูย้ น่ื ขอ้ เสนอดว้ ยกัน มาตรา 11 ให้หนว่ ยงานของรัฐจดั ทา แผนการจดั ซอ้ื จัดจ้างประจา ปี และประกาศเผยแพร่ใน ระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของกรมบัญชีกลางและของหนว่ ยงานของรัฐตามวธิ กี ารทกี่ รมบัญชีกลางกา หนดและปดิ ประกาศ โดยเปิดเผย ณ สถานทปี่ ดิ ประกาศของหน่วยงานของรัฐนั้น ข้ันตอนการจัดซือ้ จัดจา้ ง เริ่มตง้ั แต่แผนการ จัดซอื้ จัดจา้ ง ขอบเขตของงาน วงเงนิ เกิน 500,000 บาท หรือเขา้ เงอื่ นไขตามมาตรา 11 ในกรณีท่ี ไม่เกนิ 500,000 บาท ไมต่ อ้ งทาแผนในระบบ ระบบเครอื ขา่ ยสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง แตใ่ นหนว่ ยงานยงั ตอ้ งทา อยเู่ พ่ือคุมการดาเนนิ การตามงบประมาณที่ได้รับมา กรณีตวั อยา่ ง ข้อหารือการจา้ งเหมาบคุ คลธรรมด าในการดาเนินงานด้านการเพาะชากล้าไม้ของ กรมป่าไม้ คณะกรรมการวนิ ิจฉัยปัญหาการจัดซ้ื อจัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พจิ ารณาแลว้ เห็นว่า แตห่ าก หน่วยงานของรฐั ประสงคจ์ ้างงานบริการจากบุคคลธรรมดาในลักษณะรายบคุ คล กต็ ้องพิจารณาเงือ่ นไขทีก่ าหนด ไวต้ ามมาตรา 56 วรรคหนึง่ (2) กรณวี ิธีเฉพาะเจาะจง ซึ่งหากเปน็ กรณมี ีวงเงนิ ในการจดั ซ้ื อจดั จา้ งครง้ั หนงึ่ ไม่เกนิ 500,000 บาท ก็สามารถดาเนนิ การได้โดยวิธีเฉพาะเจาะจง ตามมาตรา 56 (2) (ข) ได้ เมือ่ ขอ้ เทจ็ จริง ปรากฏ ว่า กรมฯ ดาเนนิ การ จ้างเหมาบุคคลธรรมดาเปน็ รายบคุ คลในการดาเนนิ งานด้านการเพาะชากล้าไม้ โดยกาหนดวตั ถปุ ระสงคใ์ นการขอรับจัดสรรเงนิ ง บประมาณเพอื่ ดาเนนิ การจา้ งบุคคลธรรมดาเพ่ือดาเนินการ ดงั กล่าว และกรมฯ ก็ไดด้ าเนนิ การจา้ งตามวัตถปุ ระสงคข์ องการไดร้ บั จดั สรรเงนิ งบประมาณ กรณีจึงไมถ่ ือเปน็ การแบง่ ซ้อื แบ่งจา้ ง หลกั การก่อนการซื้อหรอื จ้างแต่ละวิธี ต้องทารายงานขอซื้อหรือขอจ้าง การจัดทารายงานขอซอ้ื ขอจ้าง ขอ้ 22 ต้องทารายงานการจัดซ้ือจัดจ้างทุกกรณี ยกเว้น 1. การซ้อื หรือจ้างกรณีจาเปน็ เร่งดว่ นอนั เน่อื งมาจากเกดิ เหตกุ ารณ์ ทไ่ี มอ่ าจคาดหมายไดต้ าม มาตรา 56 วรรคหนึ่ง (1) (ค) 2. กรณีมีความจาเป็นตอ้ งใชพ้ ัสดนุ ั้นโดยฉุกเฉินตามความในมาตรา 56 วรรคหนง่ึ (2) (ง) 3. กรณีการซือ้ หรือจา้ งทมี่ ีวงเงินเลก็ นอ้ ยตามทกี่ าหนดในกฎกระทรวงทอ่ี อกตามความในมาตรา 96 วรรคสอง ซงึ่ ไมอ่ าจทารายงานตามปกติได้ การแตง่ ต้ังคณะกรรมการซ้ือหรือจ้าง ขอ้ 25 การซอ้ื หรือจ้างแตล่ ะครั้ง ให้หัวหน้าหน่วยงานของ รัฐ แตง่ ตัง้ “คณะกรรมการซ้อื หรือจา้ ง ” คณะกรรมก ารตรวจรับพสั ดุ และ คณะกรรมการซื้อหรอื จา้ งโดยวธิ ี เฉพาะเจาะจง ท่จี ะเกี่ยวขอ้ งกบั เรา องค์ประกอบของคณะกรรมการ ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน กรรมการอย่างน้อย 2 คน (แต่งตั้งจาก ข้าราชการ ลูกจา้ งประจา พนักงานราชการ พนักงานมหาวทิ ยาลัย พนักงานของรฐั หรือ พนักงานของหน่วยงานของรัฐที่เรียกชื่ออย่างอน่ื โดยใหค้ านงึ ถงึ ลกั ษณะหนา้ ทแ่ี ละความรบั ผดิ ชอบของผทู้ ่ีไดร้ บั แตง่ ต้งั เป็นสาคัญ ) ในกรณจี าเป็นหรอื เพอื่ ประโยชน์ของหนว่ ยงานของรฐั จะแตง่ ต้ังบคุ คลอ่นื ร่วมเป็นกรรมการ ดว้ ยก็ได้ แต่จานวนกรรมการที่เปน็ บคุ คลอ่นื จะตอ้ งไมม่ ากกวา่ จา นวนกรรมการตามวรรคหนึ่ง การซอื้ /จ้างครง้ั เดยี วกนั ห้ามแตง่ ตัง้ ผ้เู ป็นกรรมการ e-Bidding /กรรมการสอบราคา/กรรมการซื้อจ้างวิธคี ดั เลอื ก “เป็นกรรมการ ตรวจรบั พัสดุ” การประชมุ ของคณะกรรมการ กรรมการต้องมาประชมุ ไมน่ อ้ ยกวา่ กงึ่ หนงึ่ ของจานวนกรรมการ ทั้งหมด ใหป้ ระธานและกรรมการออกเสียงคนละหนึ่งเสียง มติกรรมการใหถ้ ือเสยี งข้างมาก เวน้ แต่ คณะกรรมการ ตรวจรบั พัสดุ ใหถ้ ือมติเอกฉนั ท์ ประธานกรรมการและกรรมการจัดซื้อจัดจา้ งในการซ้ือหรอื จา้ งคร้ังน้นั จะต้องไม่ เป็นผูม้ ีส่วนไดเ้ สียกับผยู้ ืน่ ข้อเสนอ หรอื คูส่ ญั ญา

๘ การซ้ือหรอื จา้ งโดยวิธีคัดเลือก การจัดซ้อื จัดจา้ งพสั ดุ ใหห้ นว่ ยงานของรฐั เลอื กใชว้ ิธีประกาศเชญิ ชวนท่ัวไปกอ่ น เวน้ แต่ กรณีดังตอ่ ไปนี้ ให้ใช้วธิ ีคัดเลือก (ก) ใช้วิธีประกาศเชญิ ชวนทั่วไปแล้ว ไม่มีผ้ยู ่ืนขอ้ เสนอ หรือขอ้ เสนอไม่ไดร้ ับการคดั เลอื ก (ข) พสั ดุท่ีมคี ณุ ลักษณะเฉพาะเป็นพเิ ศษหรอื ซบั ซอ้ น หรื อตอ้ งผลิต ก่อสร้าง หรอื ให้บริการ โดยผู้ประกอบการที่มีฝมี ือโดยเฉพาะ หรอื มคี วามชานาญเป็นพเิ ศษ หรือมีทักษะสงู และผู้ประกอบการมี จานวนจากดั (ค) มีความจาเปน็ เรง่ ด่วน อันเนื่องมาจากเกิดเหตุการณท์ ี่ ไมอ่ าจคาดหมายได้ (ง) ลกั ษณะของการใชง้ าน หรอื มีข้อจากดั ทางเทคนคิ ทจี่ าเป็นต้องระบุยีห่ อ้ เปน็ การเฉพาะ (จ) ตอ้ งซือ้ โดยตรงจากต่างประเทศ หรอื ดาเนนิ การโดยผ่านองคก์ ารระหวา่ งประเทศ (ฉ) ใช้ในราชการลับ หรือเป็นงานท่ีตอ้ งปกปดิ เปน็ ความลบั ของทางราชการ หรอื เกย่ี วกับความม่นั คงของ ประเทศ (ช) งานจา้ งซ่อมพัสดุทจ่ี าเป็นถอดตรวจให้ทราบความชารดุ เสียหายเสยี ก่อน จึงจะประมาณค่าซอ่ มได้ (ซ) กรณอี นื่ ทกี่ าหนดในกฎกระทรวง คณะกรรมการซ้อื หรอื จา้ งโดยวิธีคดั เลอื ก ดาเนนิ การดังตอ่ ไปน้ี - จดั ทาหนงั สอื เชิญชวนไปยังผู้ประกอบการที่มีคุณสมบัตติ รงตามทกี่ าหนดไม่น้อยกว่า 3 ราย โดยใหค้ านึงถึงการไมม่ ผี ลประโยชน์รว่ มกันของผ้ทู ีเ่ ข้าย่นื ขอ้ เสนอ และจัดทาบัญชีรายช่อื ผปู้ ระกอบการท่ี เชิญชวน - การย่นื ซองขอ้ เสนอ จา่ หน้าถงึ ประธานคณะกรรมการ และย่นื โดยตรงกับหน่วยงานของรฐั พรอ้ มรบั รองเอกสารหลกั ฐานทย่ี นื่ พรอ้ มกบั ซองใบเสนอราคา - หน่วยงานของรฐั รับซองขอ้ เสนอเฉพาะรายท่คี ณะกรรมการไดม้ ีหนงั สอื เชิญชวนเท่าน้ัน พรอ้ ม จดั ทาบญั ชรี ายช่ือผู้มายื่นขอ้ เสนอ - เมือ่ พน้ กาหนดเวลายื่นซองขอ้ เสนอ หา้ มรบั เอกสารหลักฐานตา่ ง ๆ และพัสดตุ วั อยา่ งตาม เง่ือนไขทีก่ าหนดเพิ่มเตมิ - เม่ือถงึ กาหนดวัน เวลาการเปดิ ซองขอ้ เสนอ ให้ คณะกรรมการเปดิ ซองข้อเสนอและตรวจสอบ เอกสารหลกั ฐานตา่ งๆ ของผูย้ น่ื ข้อเสนอทกุ รายและกรรมการทุกคนลงลายมือช่อื กากับเอกสารทกุ แผน่ - ตรวจสอบการมผี ลประโยชนร์ ว่ มกัน และเอกสารหลกั ฐานการเสนอราคาตา่ ง ๆ ของผยู้ ่ืน ขอ้ เสนอราคา ทถ่ี กู ต้องตามที่กาหนดไว้ในเอกสารเชญิ ชวน และพิจารณาคดั เลอื กข้อเสนอตามท่ี กาหนด โดยจัดเรยี งลาดับผ้ทู เี่ สนอราคาตา่ สุดหรือได้คะแนนรวมสงู สดุ ไมเ่ กิน 3 ราย ในกรณรี ายท่ีคดั เลอื ก ไว้ไม่ ยอมเขา้ ทาสญั ญาหรอื ขอ้ ตกลง ใหพ้ ิจารณาผทู้ ี่เสนอราคาตา่ รายถดั ไป หรือผทู้ ่ีได้คะแนนรวมสงู สุด รายถัดไปตามลาดับ - จัดทารายงานผลการพิจารณาเสนอหวั หน้าหน่วยงานของรฐั ผา่ นหัวหน้าเจา้ หนา้ ที่ ขัน้ ตอนวิธเี ฉพาะเจาะจงตามมาตรา 56(2)(ข) : กรณีวงเงนิ ไม่เกนิ 5 แสนบาท ประกอบระเบยี บกระทรวงการคลังฯ ขอ้ 79 วรรคหน่ึง ดงั นี้

๙ การลงนามในสญั ญา เป็นอานาจของหวั หน้าหน่วยงานของรฐั จะกระทาไดต้ อ่ เมื่อลว่ งพ้น ระยะเวลาอทุ ธรณแ์ ละไมม่ ผี ู้อทุ ธรณ์ตาม ม.117 หรอื ในกรณที มี่ ีการอทุ ธรณ์แต่คณะกรรมการพจิ ารณาอทุ ธรณ์ให้ ดาเนินการต่อไปได้ เวน้ แต่ การจดั ซ้ือจดั จา้ งท่มี คี วามจาเป็นเรง่ ดว่ นตาม ม .56(1) (ค) หรอื วิธเี ฉพาะเจาะจง หรือ กรณที ีม่ ีวงเงินเลก็ น้อยตามที่กาหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตาม ม .96 วรรคสอง การทาสญั ญาต้องทาตามแบบที่ คณะกรรมการนโยบายกาหนดโดยได้รบั ความเห็นชอบจากสานักงานอัยการสูงสุด ไม่ทาตามแบบและจาเป็นตอ้ ง ร่างใหม่ ให้สง่ สานกั งานอยั การสงู สุดพิจารณาก่อน แบบสญั ญาทีค่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด 1. สัญญาจา้ งกอ่ สรา้ ง 2. สญั ญาซอ้ื ขาย 3. สัญญาจะซอื้ จะขายราคาคงท่ไี มจ่ ากัดปริมาณ 4. สญั ญาซอ้ื ขายและอนุญาตใหใ้ ชส้ ทิ ธใิ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ อา้ งใน ความร้ดู า้ นการพสั ดุภาครัฐ โดย อธวิ ฒั น์ 5. สัญญาเชา่ คอมพิวเตอร์ ชป. 6. สญั ญาจ้างบรกิ ารบารุงรักษาและซ่อมแซมแกไ้ ขคอมพวิ เตอร์ 7. สัญญาจ้างทาความสะอาดอาคาร 8. สญั ญาจ้างใหบ้ รกิ ารรักษาความปลอดภัย 9. สญั ญาแลกเปลย่ี น 10. สัญญาเชา่ รถยนต์ 11. สญั ญาเชา่ เคร่ืองถา่ ยเอกสาร 12. สญั ญาซือ้ ขายคอมพวิ เตอร์ 13. สญั ญาจ้างออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง 14. สัญญาจา้ งผเู้ ชยี่ วชาญรายบุคคล หรือจา้ งบริษทั ทปี่ รกึ ษา 15. สัญญาจา้ งทาของ การกาหนดคา่ ปรับในอัตราเทา่ ใด จานวนเงินเท่าใด ใหห้ ัวหนา้ หนว่ ยงาน ของรัฐคานึงถงึ ราคา / ระยะเวลาการใชง้ าน /ลกั ษณะพัสดทุ อ่ี าจสง่ ผลกระทบตอ่ การทค่ี ู่สญั ญาจะหลีกเลย่ี งไม่ปฏิบัตติ ามสญั ญา หรือ กระทบต่อการจราจร หรือความเสยี หายแก่ประโยชนส์ าธารณะ - งานซื้อหรอื งานจ้างทั่วไป ให้กาหนดคา่ ปรบั เปน็ รายวนั ในอตั ราตายตวั ระหวา่ งร้อยละ 0.01-0.20 ของราคาพสั ดุทยี่ งั ไม่ไดร้ ับมอบ ถา้ จะปรับใหส้ งู กว่า ร้อยละ 0.20 ต้องหารือ มาทก่ี รมบัญชีกลาง - งานก่อสร้างสาธารณปู โภคทีม่ ผี ลกระทบต่อการจราจร อตั ราร้อยละ 0.25 ของราคาคา่ จา้ ง น้นั แตอ่ าจกาหนดข้ันสงู สดุ ของการปรับไวก้ ็ได้ ทงั้ น้ี ตามท่คี ณะกรรมการนโยบายกาหนด การบริหารสญั ญาและการตรวจรับพัสดุ เป็นผ้รู บั ผิดชอบการบรหิ ารสญั ญาและการตรวจรับพัสดุ ใหไ้ ดร้ บั คา่ ตอบแทนตามทกี่ ระทรวงการคลังกาหนด (หนงั สอื กระทรวงการคลัง ดว่ นท่สี ดุ ที่ กค 0402.5/ว 85 ลว. 6 ก.ย. 61) เป็นการจ้างก่อสร้างแตล่ ะครั้งที่มีขนั้ ตอนการดาเนินการเป็นระยะๆ อันจาเป็ นตอ้ งมีการควบคุม งานอย่างใกลช้ ิด หรอื มีเงือ่ นไขการจ่ายเงนิ เป็นงวดตามความกา้ วหนา้ ของงาน ใหห้ ัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐแตง่ ต้ัง ผคู้ วบคุมงาน จา้ งก่อสร้าง ท่มี ีความรู้ ความชานาญทางด้านช่างตามลกั ษณะของงานกอ่ สร้างจาก ข้าราชการ พนกั งานราชการ ลูกจา้ งประจา พนกั งานของรฐั พนักงานมหาวิทยาลยั พนกั งานของหนว่ ยงานของรัฐทเี่ รียกชือ่ อยา่ งอนื่ หรอื หน่วยงานของรัฐแห่งอน่ื ตามทไี่ ด้รบั ความยนิ ยอมจากหัวหน้าหน่วยงานของรฐั ท่ีผู้นนั้ สังกัดแลว้

๑๐ การแจง้ การเรยี กคา่ ปรบั การสงวนสทิ ธกิ ารเรยี กคา่ ปรับ กรณที สี่ ั ญญาหรือขอ้ ตกลงได้ครบ กาหนดสง่ มอบแลว้ และมีค่าปรบั เกดิ ขนึ้ ใหห้ น่วยงานของรฐั แจง้ การเรยี กค่าปรบั ตามสัญญาหรอื ข้อตกลง จาก คู่สญั ญาภายใน 7 วันทาการนบั ถัดจากวนั ครบกาหนดส่งมอบ การผอ่ นปรนการบอกเลิกสญั ญา /ขอ้ ตกลง กรณคี ู่สญั ญาปฏบิ ัติผิดสญั ญา /ขอ้ ตกลง หากจานวน เงินค่าปรับจะเกนิ ร้อยละ ๑๐ ของวงเงนิ คา่ พัสดหุ รือค่ าจา้ งให้ส่วนราชการบอกเลกิ สัญญา /ขอ้ ตกลง น้ัน เว้นแต่ คสู่ ัญญายินยอมเสยี ค่าปรับให้โดยไม่มเี งอื่ นไขใด ๆ ทัง้ สิน้ ให้หัวหนา้ สว่ นราชการผ่อนปรนการบอกเลิกสัญญาได้ เทา่ ทจ่ี าเปน็ จากนัน้ วิทยากรไดเ้ นน้ ยา้ หนังสอื เวียนแนวทางปฏบิ ัตทิ เ่ี กีย่ วขอ้ งกับการจัดซ้อื จัดจ้างภาครัฐ 1. หนังสอื เวียน กค (กวจ) 0405.2/ว 110 ลว. 5 ม.ี ค. 2561 เรอ่ื ง ซ้อมแนวทางปฏิบตั ิในการกาหนดเงอื่ นไขและหลกั เกณฑส์ ญั ญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) ไว้ในสัญญาจา้ งกอ่ สรา้ ง 2. หนังสอื เวียน กค (กวจ) 0405.2/ว 111 ลว. 5 ม.ี ค. 2561 เร่ือง ซอ้ มความเข้าใจการเลือกใช้วิ ธกี ารจัดซือ้ จดั จา้ งตามพระราชบญั ญัติการจดั ซื้อจดั จ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 กรณีวงเงนิ ไมเ่ กิน 500,000 บาท 3. หนงั สือเวยี น กค (กวจ) 0405.2/ว 119 ลว. 7 ม.ี ค. 2561 เรือ่ ง แนวทางการปฏิบัติในการดาเนนิ การจัดหาพัสดุท่ีเกีย่ วกบั ค่าใช้จา่ ยในการบริหารงาน ค่าใชจ้ ่ายในการ ฝกึ อบรม การจดั งาน และการประชมุ ของหนว่ ยงานของรัฐ 4. หนังสือเวยี น กค (กวจ) 0405.2/ว 217 ลว. 7 พ.ค. 2561 เร่ือง ซอ้ มความเขา้ ใจเก่ยี วกบั การจัดซื้อจัดจา้ งโดยวิธเี ฉพาะเจาะจง ตามระเบยี บกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการ จัดซอื้ จัดจา้ งและการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั พ.ศ. 2560 ขอ้ 79 5. หนังสือเวียน กค (กวจ) 0405.2/ว 220 ลว. 7 พ.ค. 2561 เรอ่ื ง การตคี วามนิยามคาว่า “ผู้มผี ลประโยชนร์ ว่ มกัน ” ตามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบรหิ ารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ข้อ 4 6. หนงั สอื เวียน กค (กวจ) 0405.2/ว 179 ลงวันที่ 9 เมษายน 2561 เรอ่ื ง แนวทางปฏบิ ตั ิ ในการจดั ซอ้ื นา้ มันเชื้อเพลงิ เพ่อื ใชใ้ นการปฏบิ ตั ิงานตามภารกิจของหนว่ ยงานของรัฐ 7. หนงั สือเวยี น กค (กวจ) 0405.2/ว 116 ลงวันที่ 12 มีนาคม 2562 เรื่อง แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการจดั ซอ้ื วตั ถุดิบเพอื่ ใชใ้ นการประกอบอาหาร การจ้างบคุ คลเพื่อประกอบอาหาร หรอื การ จา้ งเหมาประกอบอาหาร (ปรุงสาเรจ็ ) ๘. หนงั สือเวียน กค (กวจ) 0405.2/ว 117 ลว. 12 มี.ค. 62 เร่ือง การกาหนดวิธีปฏบิ ัติ เพ่ิมเตมิ เก่ียวกบั การตรวจสอบความชารดุ บกพร่องก่อนการคืนหลกั ประกันสญั ญา ๙. หนังสอื เวียนกค (กวจ) 0405.3/ว 350 ลงวันที่ 23 กรกฎาคม2562เร่ือง ซอ้ มความเขา้ ใจการ ปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจดั ซือ้ จดั จ้างและการบริหารพัสดภุ .ศา.ค2รฐั56พ0ข้อ 56วรรคหน่งึ 10. หนงั สอื เวียนกค (กวจ) 0405.2/ว 452ลงวันที่ 17 กนั ยายน2562เรื่อง แนวทางปฏบิ ัติในการ พจิ ารณางานจา้ งกอ่ สร้างรณก กี ารย่นื ใบแจง้ ปรมิ าณงานและราคา และใบบัญชรี ายการกอ่ สร้าง 11. หนงั สอื เวยี นกค(กวจ) 0405.3/ว 476ลงวนั ท่ี30กันยายน2562เรอื่ ง ซอ้ มความ เข้าใจเก่ยี วกับผมู้ อี านาจอนมุ ตั ิแกไ้ ขสัญญาตามพระราชบัญญตั กิ ารจดั ซ้อื จัดจา้ งและการบริหารพสั ดภุ.ศา.ค2ร5ฐั 6พ0 12. หนงั สอื เวียนกค(กวจ) 0405.4/ว 520ลงวันท่ี29ตุลาคม2562เรือ่ ง แนวทางปฏิบัติ ในการคนื พสั ดทุ ช่ี ารหดุ รอื เส่อื มคณุ ภาพ

๑๑ ๒.2 หัวขอ้ วิชา “การตรวจสอบ กล่นั กรองขอบเขตของงานรา่ ง TOR (Terms of Reference)” วทิ ยากร ๑. นายวรี พล เทพานนท์ นกั วชิ าการคลงั ชานาญการ วัตถุประสงค์ 1. มคี วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลักการ และกระบวนการ การรา่ งขอบเขตของงาน TOR (Terms of Reference) 2. มที ักษะในการดาเนนิ การ การร่างขอบเขตของงาน TOR (Terms of Reference) 3. สามารถประยกุ ต์ใช้หลักการและกระบวนการในการรา่ งขอบเขตของงาน TOR (Terms of Reference) ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ระยะเวลา 1.30 ช่วั โมง (90 นาท)ี เทคนิค/วธิ กี าร/กระบวนการ (1) บรรยายแบบมีส่วนร่วม/ประกอบสอ่ื ใหค้ วามรู้เกย่ี วกับหลักการ และกระบวนการ การรา่ ง ขอบเขตของงาน TOR (Terms of Reference) ความหมาย ประโยชน์/ความสาคญั เหตผุ ลการนา TOR มาใช้ กระบวนการรา่ งขอบเขตงาน TOR รวมถงึ ข้อพงึ ระวังจากกรณที ่ีเกิดขึน้ จริงในพ้นื ท่ี (2) เปดิ โอกาสให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมซกั ถามเพิ่มเติมในแต่ละประเด็นที่วทิ ยากรบรรยาย (3) ให้ผ้เู ข้าอบรมเขยี นประเด็นคาถาม /ขอ้ สงสัยลงในบัตรคาสาหรบั การบรรยายในคาบวชิ า ถัดไป (เจ้าหนา้ ท่ีโครงการเป็นผจู้ ัดเก็บ รวบรวมข้อมลู และจัดกลุม่ คาถามส่งใหว้ ทิ ยากรสาหรับเตรียมการบรรยาย ตามประเดน็ คาถาม/ขอ้ สงสัย) วิทยากรเขา้ เกริน่ นาเขา้ สูเ่ นื้อหาของการบรรยาย โดยเริ่มจาก กระบวนการ TOR ภายใต้ “พระราชบญั ญัตวิ า่ ด้วยการจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ .ศ. 2560 ” และ “ระเบียบ กระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจัดซอื้ จดั จ้างและการบริหารพัสดุภาครฐั พ .ศ. 2560 ” มีอยู่ 2 จดุ คือ 1.กอ่ นท่ีงบประมาณจะลงมา อยากไดง้ บประมาณมาสนบั สนนุ เราต้องจดั ทาร่างของเขตของงานขึน้ มากอ่ น แลว้ จงึ ดาเนนิ การ ของงบประมาณ 2. ไดร้ บั งบประมาณกลบั มา เทา่ กับท่เี ราขอใช้ TOR งบประมาณเทา่ เดิมเลย ก็สามารถดาเนนิ การไดเ้ ลย แต่ถ้างบไมเ่ ท่าอาจจะมาก/น้อยกว่า ก็ต้องมกี ารปรบั ลดเนื้องาน /spec ลดลงไปตาม งบประมาณที่ไดร้ ับมา วิทยากรอธิบายถึงคาว่า TOR คอื เป็นร่างขอบเขตงาน เป็นข้อกาหนดเงือ่ นไขการประกวดราคา เป็นเอกสารแสดงข้อมลู รายการ รายละเอยี ดทปี่ ระกาศ หรอื แจ้งใหผ้ ขู้ ายหรอื ผรู้ ับจา้ งทราบถงึ ความตอ้ งการและ เงื่อนไขของผู้ซอ้ื หรือผวู้ ่าจา้ ง และกล่าวถึงเหตุผล ของการจดั ทา TOR เพ่ือให้สามารถจัดหาวสั ดไุ ด้ตรงตามความ ตอ้ งการเกิดความเปน็ ธรรมในการแขง่ ขนั เสนอราคา ประหยดั งบประมาณ บังเกดิ ความคมุ้ คา่ ความมี ประสทิ ธิภาพและประสทิ ธิผล และความรบั ผิดชอบต่อผลสาเร็จของงาน เป็นประโยชน์ต่อองคก์ ร ซงึ่ มีความสาคัญ ต่อคุณภาพของผลงานท่จี ะได้รับจากผ้ขู าย /ผู้รบั จา้ ง โดย TOR จะตอ้ งมคี วามชดั เจน ทส่ี ามารถจดั หาหรือปฏบิ ตั ิ ได้ ทาใหค้ ดั เลือกผ้ขู าย/ผู้รับจา้ งไดง้ า่ ยและโปรง่ ใส ก่อนการจัดซ้อื /จัดจ้าง ต้องกาหนดความตอ้ งการสง่ิ ของท่ีจะซือ้ หรืองานท่จี ะจ้าง Specification (Spec) ก่อน โดยมีหลกั เกณฑ์การกาหนดคณุ ลักษณะเฉพาะของงานซอื้ และการกาหนดขอบเขตของงานจ้าง ดงั น้ี 1. ได้พัสดุท่ีดี มคี ุณภาพ สมราคา ทั นเวลาท่ีต้องการ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ คุม้ ค่าของเงิน (Value for Money) 2. มกี ารกาหนดคุณลักษณะเฉพาะ รูปแบบและรา ยการ ละเอยี ดทีช่ ดั เจ นและเปน็ กลาง สอดคล้องและตรงกับความตอ้ งการใช้งานเป็นไปตามนโยบาย

๑๒ 3. กระบวนการโปร่งใส เปดิ เผย สามารถตรวจสอบได้ และเป็นธรรม มกี ารแข่งขันอยา่ ง แท้จริง ชอบดว้ ยกฎหมาย ถา้ เราไดผ้ ้ชู นะแล้วให้เราดาเนนิ การตรวจสอบในระบบก่อน โดยการ log in กดปุ่ม ดา้ นซา้ ยมอื เลอื กเมนูข้อมูลภาครฐั หน่วยงานของรฐั จะกาหนดเงอ่ื นไขส่วนแถมพเิ ศษฯ เพื่อเป็นเงื่อนไขในการ พจิ ารณาไม่ได้ ใหท้ าเป็นหนังสอื แสดงเจตนาในการบรจิ าคของเพื่อเปน็ ประโยชนก์ ับทางราชการ /ให้ของแถมพเิ ศษ โดยไม่มีเงือ่ นไขใดๆ จะตอ้ งดาเนินการ จัดทาทะเบยี นทุกกรณี เอกสารการส่งมอบท่ปี ราก ฎส่วนของแถมพิเศษฯ จะมาในฉบับเดยี ว/แยกคนละฉบบั กไ็ ด้ การได้มาของพัสดทุ กุ กรณี ใหห้ นว่ ยงานของรัฐจัดใหม้ กี ารควบคมุ ดูแลพสั ดุ ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบ การจดั ทารา่ งขอบเขตของงานหรอื รายละเอยี ดคุณลกั ษณะเฉพาะของพสั ดหุ รือแบบรูปรายการ งานก่อสรา้ ง ในกรณีการซื้อหรือจ้างที่มใิ ช่การจ้างก่อสรา้ ง : หวั หน้าหนว่ ยงานของรัฐ แต่งต้งั คณะกรรมการขึ้นมา คณะหนึง่ หรอื เจา้ หน้าทหี่ รอื บุคคลใดบคุ คลหน่งึ มหี น้าที่ 1. จัดทารา่ ง ขอบเขตของงาน หรือรายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุท่จี ะซือ้ หรอื จา้ ง 2.กาหนดหลกั เกณฑ์การพิจารณาคัดเลือกข้อเสนอ ในกรณกี ารจ้างก่อสรา้ ง : หวั หนา้ หน่วยงานของรฐั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการขึ้นมาคณะหนง่ึ หรือ เจ้าหนา้ ที่หรือบุคคล ใดบคุ คลหน่ึง มีหน้าทีด่ าเนนิ การจ้างตามความในห มวด 4 งานจ้างออกแบบหรือควบคุมงานกอ่ สร้างกไ็ ด้ (ออกแบบเอง หรือขอความรว่ มมอื กับกรมโยธาธกิ ารและผังเมือง กรมศิลปากร หรือหน่วยงานรฐั อ่ืน) การกาหนดรายละเอยี ด คณุ ลกั ษณะเฉพาะของพัสดุ : หากพสั ดุทจ่ี ะซือ้ หรอื จา้ งใดมีประกาศ กาหนดมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ตุ สาหกรรม (เพอ่ื เป็นแ นวทางแก่ผู้ผลติ ในการผลติ สนิ ค้าใหม้ ีคณุ ภาพในระดบั ท่ี เหมาะสมกับการใชง้ านมากท่สี ุด ) แล้ว ให้กาหนดรายละเอียดคุณลกั ษณะเฉพาะของพสั ดุที่จะซ้อื หรือจา้ ง หรอื รายการในการกอ่ สร้างตามมาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือเพือ่ ความสะดวกจะระบุเฉพาะหมายเลข มาตรฐานก็ได้ แตห่ ากพสั ดุ ทจ่ี ะซือ้ หรอื จ้างใดไม่มีประกาศกาหนดมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อุตสาหกรรม แต่มผี ู้ไดร้ บั การจดทะเบยี นผลิตภัณฑ์ไวก้ ับกระทรวงอตุ สาหกรรม ใหก้ าหนดรายละเอียดคณุ ลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีจะซื้อ หรอื จา้ งหรอื รายการในการกอ่ สรา้ งให้สอดคลอ้ งกบั รายละเอยี ดคณุ ลกั ษณะเฉพาะตามท่รี ะบใุ นคู่มื อผู้ซอ้ื หรือใบ แทรกคูม่ อื ผซู้ ้อื ที่กระทรวงอตุ สาหกรรมจดั ทาข้ึน เคร่ืองหมายมาตรฐาน ท่วั ไป เครอ่ื งหมายมาตรฐานบงั คับ

๑๓ หลักการกาหนด Spec. เปน็ อานาจของหน่วยงานท่ีจัดหาพสั ดุ สามารถใชด้ ลุ ยพินจิ กาหนดและ วินิจฉัยไดต้ ามความต้องการของหน่วยงาน แต่ตอ้ งอยู่ภายใตห้ ลกั เกณฑต์ ามท่ีกฎหมาย ระเบียบข้อบงั คบั คาส่งั หรอื มติ ครม.ทเี่ กี่ยวข้องกาหนดไว้ การกาหนดคณุ สมบตั ขิ องผยู้ นื่ ขอ้ เสนอในงานจ้างกอ่ สร้าง 1. วิธี e-Bidding ใหจ้ ัดทาตามแบบทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด สาหรบั วิธสี อบ ราคา วธิ ีคัดเลอื ก วธิ ีเฉพาะเจาะจงใหจ้ ัดทาตามแบบดงั กล่าวโดยอนโุ ลม 2. ผยู้ ืน่ ข้อเสนอทมี่ ีวงเงนิ ตัง้ แต่ 1,000,000 บาทข้นึ ไป ต้องเป็นนิติบุคคล 3. ห้ามกาหนดเง่อื นไขในเรื่องดงั ตอ่ ไปน้ี -ต้องเปน็ นติ บิ ุคคลท่ีมผี ลประกอบการเป็นกาไร -ต้องย่ืนใบประกอบวชิ าชพี วศิ วกรรมตัง้ แต่เขา้ เสนอราคา -ต้องเป็นและมหี นงั สือแตง่ ตง้ั การเป็นตัวแทนจาหนา่ ย 4. การกาหนดผลงาน ให้กาหนดผลงานได้ไม่เกนิ ร้อยละ 50 ของงบประมาณ การกาหนดคุณสมบัตขิ องผยู้ น่ื ขอ้ เสนอในงานซอ้ื หรือจ้างที่มิใช่งานกอ่ สร้าง 1. การจดั ซื้อวสั ดุหรือครภุ ัณฑโ์ ดยวธิ ี e-Bidding ห้ามกาหนดคณุ ลักษณะใกลเ้ คยี ง ย่ีห้อใดย่ีห้อหนึง่ เวน้ แตม่ วี ัตถปุ ระสงคค์ วามจาเป็นต้องระบุยห่ี อ้ เป็นการเฉพาะ 2. ห้ามกาหนดเจาะจงแหล่งประเทศผู้ผลิตหรือทวีป 3. การกาหนดใหย้ ่ืนหนงั สอื แตง่ ตงั้ ตัวแทนจาหน่าย ให้ย่ืนขณะเขา้ เสนอราคา 4. การกาหนดผลงาน โดยปกตใิ นงานซื้อหรือจา้ งที่มใิ ช่งานกอ่ สรา้ ง มิใหก้ าหนดผลงาน หากมีความจาเป็น ให้กาหนดผลงานได้ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 50 ของงบประมาณ หวั ข้อการรา่ ง TOR อยา่ งนอ้ ยตอ้ งมีสาระสาคญั ดงั น้ี 1. ความเป็นมา 2. วัตถปุ ระสงค์ 3. คณุ สมบัตผิ เู้ สนอราคา 4. แบบรปู รายการ หรอื คุณลักษณะเฉพาะ 5. ระยะเวลาดาเนินการ 6. ระยะเวลาสง่ มอบของหรอื งาน 7. วงเงินในการจัดหา คุณสมบัติของผเู้ สนอราคา 1. มคี วามสามารถตามกฎหมาย 2. ไมเ่ ปน็ บุคคลลม้ ละลาย 3. ไม่อยู่ในระหว่างเลกิ กจิ การ 4. ไมเ่ ปน็ บคุ คลอย่รู ะหว่างถูกระงบั การย่นื ขอ้ เสนอหรอื ทาสญั ญา 5. ไมเ่ ปน็ บคุ คลที่ถกู ระบชุ ่ือไว้ในบัญชีรายช่อื ผู้ทิ้งงานและได้แจง้ เวียนชือ่ ให้เป็นผทู้ ้งิ งาน ของหนว่ ยงานของรัฐ 6. มคี ุณสมบัติและไม่มีลักษณะตอ้ งหา้ มตามทีค่ กก.นโยบายกาหนด 7. เป็นบคุ คลธรรมดาหรอื นิตบิ คุ คลผมู้ ีอาชีพรับจา้ งงานที่ประกวด 8. ไม่เป็นผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมกนั กบั ผยู้ น่ื ขอ้ เสนอรายอน่ื

๑๔ 9. ไม่เป็นผูไ้ ดร้ บั เอกสทิ ธิห์ รือความคุ้มกัน ซง่ึ อาจปฏิเสธไมย่ อมขึ้นศาลไทย เวน้ แต่ รฐั บาลของผู้ย่นื ข้อเสนอไดม้ ีคาส่งั ให้สละสทิ ธแ์ิ ละความคมุ้ กนั เช่นว่าน้ัน 10. เป็นผ้ปู ระกอบการทข่ี น้ึ ทะเบียนงานกอ่ สรา้ งสาขา... 11. ผู้ย่ืนข้อเสนอราคาต้องมีผลงานกอ่ สรา้ งประเภทเดียวกันกบั งานทปี่ ระกวดราคาจ้าง ในวงเงนิ ไม่นอ้ ยกว่า.....บาท และเปน็ ผลงานทีเ่ ป็นคู่สญั ญาโดยตรงกบั หนว่ ยงานของรฐั เงอ่ื นไขในการจดั หาเปน็ ไปตามดุลยพนิ จิ ของหน่วยงาน : การพิจารณาราคารวม หรอื ราคาแยก การแบง่ งวดงาน/เงิน ฯลฯ ตามระเบียบ & หนังสอื เวียน : หลกั ประกัน การจา่ ยเงนิ ลว่ งหนา้ ค่าปรบั ฯลฯ กฎหมายทเี่ กีย่ วขอ้ ง : วิธีการรบั จา่ ยเงนิ งวดงาน/เงินตอ้ งสมั พันธ์กนั ฯลฯ การคดั เลือกข้อเสนอ พิจารณาถงึ ประโยชนส์ าธารณะและวัตถปุ ระสงค์การใช้งานและคานงึ ถงึ เกณฑ์ราคาและเกณฑอ์ น่ื ประกอบด้วย ดงั นี้ - ต้นทุนของพสั ดุตลอดอายุการใช้งาน - มาตรฐานสินคา้ หรือบรกิ าร - บรกิ ารหลังขาย - พัสดทุ ี่รัฐต้องการสง่ เสรมิ หรอื สนับสนุน - การประเมินผลการปฏิบัติงานของผปู้ ระกอบการ - ขอ้ เสนอดา้ นเทคนคิ หรือข้อเสนออน่ื - เกณฑอ์ น่ื ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง โดยหน่วยงานของรัฐใช้เกณฑ์ ใดเกณฑห์ น่งึ หรอื หลายเกณฑก์ ็ได้ ประกอบกับเกณฑ์ราคาและต้องกาหนดนา้ หนกั ของแต่ละเกณฑใ์ หช้ ัดเจน โดยสอดคล้องโดยตรงกบั งานท่ีได้กาหนดในรา่ งขอบเขตงานหรือรายละเอียดคุณ ลักษณะเฉพาะของพัสดุท่ีจะซอื้ หรือจา้ ง การเผยแพร่ร่างของเขตของงาน บทสรปุ TOR ท่ีดจี ะชว่ ยให้ทา่ นได้พัสดุ ตรงตามวัตถุประสงค์ การใชง้ าน ประหยดั เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ • TOR ทดี่ ี จะระบุความจาเปน็ และคุณลกั ษณท์ ี่ตอ้ งการนาไปใชป้ ระโยชน์ ได้อยา่ งชดั เจน • TOR ท่ดี ี จะระบขุ อ้ ความทไี่ มก่ ากวม ตรวจสอบ วดั ได้ • TOR ท่ดี ี ไมร่ ะบุรายการทเ่ี กนิ ความจาเป็น • Spec กลาง จะช่วยให้ทา่ นจัดซอ้ื พัสดุทตี่ รงตามวัตถุประสงค์การใชง้ าน ประหยดั รวดเร็ว

๑๕ ๒.3 หัวขอ้ วชิ า“แลกเปล่ียนเรยี นรู้ รปู แบบการจัดซอ้ื จัดจา้ งภาค(กราฐั รจดั ซอื้ จดั จา้ ง แบบวธิ ีเฉพาะเจาะ/จง คัดเลือก/วิธปี ระกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) ” วทิ ยากร ๑. นายวีรพล เทพานนท์ นักวิชาการคลังชานาญการ วัตถุประสงค์ ๑. รู้และเขา้ ใจเกี่ยวกับรูปแบบการจัดซอื้ จัดจา้ งภาครฐั แบบวิธีเฉพาะเจาะจง/คัดเลอื ก/ วธิ ปี ระกวดราคาอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-Bidding) ๒. สามารถประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินงานตามโครงการฯที่ใช้งบประมาณ ระยะเวลา 4 ชว่ั โมง (240 นาท)ี เทคนคิ /วธิ กี าร/กระบวนการ (1) บรรยายแบบมสี ่วนร่วม/ประกอบส่อื เน้นยา้ เกี่ยวกับรูปแบบการจดั ซ้ือ จดั จ้างภาครัฐ แบบวิธีเฉพาะเจาะจง/คัดเลอื ก/วธิ ีประกวดราคาอเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Bidding) (2) เปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมซกั ถามเพม่ิ เติมในแตล่ ะประเดน็ ทีว่ ิทยา กรบรรยาย เพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหวา่ งผ้เู ขา้ อบรมกบั วทิ ยากร (3) ให้ผ้เู ขา้ อบรมเขยี นประเดน็ คาถาม /ข้อสงสัยลงในบตั รคา (เจา้ หน้าทโี่ ครงการเปน็ ผู้จัดเก็บ รวบรวมขอ้ มลู และจัดกลุ่มคาถามส่งให้วทิ ยากรตอบตามประเดน็ คาถาม/ขอ้ สงสยั ) วิทยากรเปดิ ประเด็นแลกเปลีย่ นเรีย นรกู้ บั ผูเ้ ข้ารบั การฝึกอบรม โดย ใหผ้ เู้ ข้าอบรม ตง้ั ประเดน็ คาถาม/ขอ้ สงสยั จากการฟงั บรรยายหรอื จากการปฏิบัตงิ านโดยตรง มีประเดน็ คาถาม ดังน้ี การระบวุ สั ดแุ บบเฉพาะเจาะจงทาได้หรือไม่ ?  การระบยุ ีห่ อ้ วิธีการใด ระเบยี บไม่ไดก้ าหนดไว้วา่ ให้กาหนดได้ ตามมาตรา 9 ระบไุ ว้ชัดเจน วา่ “หา้ มระบุ” สามารถระบตุ อนทีเ่ ขาเสนอราคาเขา้ มา เขาจะเสนอยีห่ อ้ น้ีใหก้ บั เราและตอนทีเ่ ราทาสญั ญา / อะไหลท่ ใ่ี ชก้ ับวสั ดุอปุ กรณ์ท่ีเราใช้เท่าน้ัน คอมพิวเตอร์หรอื ระบบภายในเสยี เชน่ ฮาร์ดแวร์เป็นการซ่อมใช่หรอื ไม่ ?  กรณลี งโปรแกรม เป็นการซอ้ื วัสดุ (แผ่น) ให้ดตู ามวัตถุประสงค์ ส่วนการซอ่ มเล็กนอ้ ยๆ ติด ไวรัส รื้อโปรแกรม จะเป็นในเรอื่ งการซอ่ มแซม บารงุ รกั ษา ส่วนวัสดุ เม้าท์ แป้นพมิ พ์ สาย usb หากชารุด จาเปน็ ตอ้ งเปลีย่ นใหม่ การจัดซอ้ื วัสดทุ ี่ไม่เคยจดั ซ้ือมาก่อนแตม่ ีขายอย่ตู ามทอ้ งตลาด เปน็ วิธกี ารซ้อื เฉพาะเจาะจง เราจะใช้คาว่า ราคาตามท้องตลาดได้หรือไม่ ใช่ใช้ราคาย้อนหลังปงี บประมาณ 2 ปหี รือได้หรอื ไม่ ?  เราไมต่ อ้ งของหน่วยงานขา้ งเคยี ง เราตอ้ งดขู องหนว่ ยงานเรา เป็นหลัก ใชต้ ้องวธิ ีสบื ราคา จากทอ้ งตลาด การกาหนดวันตรวจรับพัสดุ ถ้าเปน็ วสั ดุจะต้องภายใน 5 วัน ถา้ เปน็ งานจ้างต้องภายใน 7 วัน สามารถระบุจานวนวันมากกว่านไ้ี ด้ไหม ?  ถ้าจะให้โดยเรว็ ตอ้ งมเี หตผุ ลมาสนับสนนุ ได้ ดงั นั้น การจดั ซื้ อจา้ งทัว่ ไปจะต้องตรวจรบั โดยเร็วจะอยทู่ เ่ี งอื่ นไข โดยมวี ัตถุประสงคเ์ ป็นตัวกาหนดวัน / คณะกรรมการไม่พรอ้ ม/ต้องรอคนทม่ี คี วามรู้ การตรวจรับในงานกอ่ สรา้ ง กาหนดภายใน 3 วันทาการ ถ้าเกินผดิ ระเบยี บ ตอ้ งทาบนั ทกึ เอาไว้ การจา้ งงานรายบคุ คล กรณีตน้ เร่ืองไมไ่ ดร้ ะบุไว้ แต่ไประบุในหมวด 300 ไดห้ รือไม่ ? พจิ ารณาไปตามท่เี ราของบคร้ังแรกในสว่ นของการจัดหา ถา้ จา้ งคนเหมาบรกิ ารกต็ อ้ งไปดงู บ ของการจา้ งว่าเปน็ งบการจ้างบุคลากร หมวดใช้สอยหรอื หมวดวัสดุ

๑๖ วงเงินงบประมาณที่ขอรบั สนบั สนุน จานวน 200,000 บาท แต่ไดร้ บั การสนับสนนุ มาจานวน 190,000 บาท กรมบอกใช้ spec เดมิ ถ้า spec น้ตี อ้ งอยู่ในวงเงิน 200,000 บาท เท่านนั้ spec นี้ใน ทอ้ งตลาดไม่มจี าหนา่ ย จะดาเนินการอย่างไร ?  เรา ตอ้ ง ดาเนนิ กา รแจ้งกรม ส่งเรอ่ื งไปที่ กรม ระบุวา่ ถ้าจะอยู่ในวงเงินเดมิ จะตอ้ งเป็น งบประมาณ 2 แสนจะต้องย่นื เรื่องของบประมาณเพ่ิม หรือ จะลด spec ลงดใู นสว่ นของ spec ทไี่ มจ่ าเป็นเพื่อให้ อยูใ่ นวงเงนิ ทไี่ ดร้ บั งบประมาณมาสนับสนนุ วสั ดุประกอบการจัดโครงการ เช่น กระเปา่ มีการสกรีน เราจะดาเนินการซอื้ /จา้ ง ?  ต้องดวู ่าสนิ คา้ มีอยู่แล้วไหม (ซ้ือพร้อมสกรีน) /สินคา้ ไม่มี สง่ั ผ้าดบิ ทา (จา้ งทาของ) เปล่ียนอะไหล่รถยนต์เปน็ การซื้อ/การจ้าง ?  เปลย่ี นอะไหล่ต้องเปน็ การซ้ือ จะซอื้ พานพุ่มสาเรจ็ รปู จะใชว้ ธิ กี ารอยา่ งไร  ตอ้ งดูวา่ สนิ ค้ามีอยู่ไหม หรือ สั่งทาเพิม่ จะถือเปน็ การจ้าง วทิ ยากรกลา่ วถงึ วิธคี ดั เลอื ก ม.56 ใช้ประกาศเชญิ ชวน ทวั่ ไปก่อน (ก) จะตอ้ งอาศยั หลักการเดมิ TOR เดมิ ห้าม/เพิ่มลด spce ราคากลางต้องเท่าเดมิ เพ่อื เปน็ การสรา้ งในเรอื่ งการแขง่ ขนั โปรง่ ใส การคัดเลอื ก ผู้ประกอบการจานวน 3 ราย ตอ้ งจดั ทาหนงั สอื เชญิ ชวนในระบบเทา่ น้นั (ข) พสั ดทุ ่มี ีคุณลักษณะเฉพาะเปน็ พเิ ศษ เชน่ งานก่อสร้าง ห้องปลอดเช้ือโรคพยาบาล ต้อง ซับซ้อนจรงิ ต้องอาศัยความรู้ (ค) มีความจาเป็นเรง่ ด่วนที่ตอ้ งใช้ (ง) เปน็ พสั ดทุ ่ีโดยลกั ษณะของการใช้งาน หรือมีขอ้ จากัดทางเทคนคิ ท่ีจาเปน็ ต้องระบุย่หี อ้ เป็ น การเฉพาะ (จ) เป็นพสั ดทุ ีจ่ าเป็นต้องซ้อื โดยตรงจากตา่ งประเทศหรอื ดาเนนิ การโดยผา่ นองคก์ ารระหวา่ ง ประเทศ (ฉ) เป็นพสั ดุทใี่ ชใ้ นราชการลับหรือเป็นงานทีต่ ้องปกปิดเป็นความลบั ของหน่วยงานของรฐั ท่ี เก่ียวกบั ความมัน่ คงประเทศ (ช) เปน็ งานจ้างซ่อมพัสดุ ที่จาเป็นต้องถอดตรวจส อบใหท้ ราบความชารดุ เสียหายก่อน จึง ประมาณคา่ ซอ่ มได้ (ซ) กรณอี นื่ ทีก่ าหนดในกฎกระทรวง เม่อื หวั หน้าหน่วยงานของรฐั ให้ความเหน็ ชอบรายงานผลการพจิ ารณา และผู้มอี านาจอนุมัติสัง่ ซอื้ ส่ังจ้างแล้ว ใหห้ วั หนา้ เจ้าหนา้ ทป่ี ระกาศผลผู้ชนะการเสนอราคาในระบบเครอื ข่ายสารสนเทศของก รมบัญชีกลาง และของหน่วยงานของรฐั ตามวิธีการท่ีกรมบญั ชกี ลางกาหนด และใหป้ ดิ ประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานท่ีปิด ประกาศของหน่วยงานของรัฐน้ัน และแจ้งใหผ้ ูเ้ สนอราคาทุกรายทราบ ผ่านทางจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-mail) ตามแบบทกี่ รมบัญชีกลางกาหนด เชญิ ชวนร้านค้าจานวน 3 ร้าน คือ ร้าน ก ข ค แตร่ ้าน ง ขอเข้ามาเสนอราคาไดห้ รือไม่ ?  ไม่ได้ เพราะไม่สามารถบนั ทกึ ในระบบได้ เพราะระบบจะล็อคแค่รา้ น ก ข ค เชญิ ชวนร้านคา้ จานวน 3 รา้ น คือ รา้ น ก ข ค แต่รา้ น ก เขา้ มารา้ นเดียวในวนั เสน อราคา จะถอื เป็นวิธกี ารคดั เลอื กหรอื ไม่ ?  เป็นวธิ กี ารคดั เลอื กอยู่ สามารถยกเลกิ หรือดาเนนิ การตอ่ กไ็ ด้ เพราะมรี ายเดยี ว

๑๗ กาหนดการรับเอกสารภายใน 16.30 น. ถา้ เลยเวลารบั จะรับไดไ้ หม ?  ไมไ่ ด้ เราจะไดไ้ ปกาหนดเวลาเองไมไ่ ด้ ตอ้ งยดึ เวลาทาการ หนงั สือ ว เพ่ิมเตมิ เกดิ จากกการอุทธรณ์ ก็ตอ้ งหาแนวทางใหก้ ารลดการร้องอุทธรณ์ใหล้ ดลง คอื การออกหนังสอื เวยี น ดว่ นท่ีสดุ ท่ี กค (กอร) 0405.5/ว 374 ลงวนั ที่ 6 ส.ค. 2562 เรอื่ ง ซอ้ มความเขา้ ใจ เกยี่ วกบั การอุทธรณต์ ามพระราชบัญญตั ิการจัดซอื้ จดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 1. กรณหี นว่ ยงานของรัฐมีการยกเลิกการจัดซอื้ จดั จา้ งก่อนทจ่ี ะถงึ วนั ย่ืนขอ้ เสนอ /มกี ารยน่ื ข้อเสนอแล้ว แตม่ ีการประกาศยกเลกิ โดยยงั ไมม่ ีการประกาศผล/มกี ารประกาศผลแลว้ ต่อมามกี ารยกเลิกประกาศ ผล/ยกเลิกการจดั ซ้ือจดั จ้างในคร้งั นนั้ ไมเ่ ข้าขา่ ยอทุ ธรณไ์ ด้ตามมาตรา 114 จงึ ให้หนว่ ยงานของรัฐเป็นผู้พิจารณา และวินจิ ฉัยอุทธรณ์โดยตรงตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวิธปี ฏบิ ตั ิราชการทางปกครอง 2. กรณีเปน็ เร่อื งที่อุทธรณ์ ไม่ได้ตามท่กี าหนดในมาตรา 115 ประกอบกฎกระทรวงกาหนด เร่อื งการจดั ซอ้ื จดั จ้างกับหน่วยงานของรัฐท่ีใช้สทิ ธอิ ุทธรณไ์ ม่ได้ พ.ศ. 2560 ให้มีหนังสอื แจ้งผู้อุทธรณ์วา่ เป็นเรื่อง ท่ีอุทธรณ์ไม่ได้ 3. กรณีที่เป็นการอทุ ธรณ์เกนิ กาหนดตามในมาตรา 117 ใหห้ น่วยงานมีหนังสอื แจง้ ผ้อู ุทธรณ์ เพ่อื ปฏเิ สธ ไมร่ ับเรอ่ื งอุทธรณไ์ ว้พจิ ารณา ทั้ง 3 กรณี หนว่ ยงานสามารถดาเนินการต่อได้ โดยไม่ต้องสง่ เรอ่ื งมายังคณะกรรมการพิจารณาอทุ ธรณ์ การลงนามในสญั ญา เปน็ หนา้ ท่ีของหัวหนา้ หน่วยงานของรฐั /ผู้ท่ไี ดร้ ับมองอานาจหน้าทตี่ ามวงเงิน การทาสัญญาตามทคี่ ณะกรรมการนโยบายกาหนด ปัจจบุ นั มีอยู่ 15 แบบด้วยกนั การทาข้อตกลงเป็นหนงั สือ - การจดั ซอื้ จัดจ้างโดยวิธีคดั เลือก ตาม ม.56(1) (ค)การจดั ซอื้ จดั จา้ ง โดยวิธเี ฉพาะเจาะจง ตาม ม.56(2) (ข) (ง) (ฉ) หรอื การจา้ งท่ีปรกึ ษาโดยวิธเี ฉพาะเจาะจงต.า7ม0ม(3) (ข) - การจดั ซอื้ จัดจา้ งจากหน่วยงานภาครฐั - คู่สัญญาส่งมอบพสั ดุไดค้ รบถว้ นภาย5ในวันทาการ นับถัดจากวันทาข้อตกลง - การเชา่ ซึ่งผูเ้ ชา่ ไม่ตอ้ งเสยี เงนิ อน่ื ใดนอกจากค่าเชา่ - กรณอี ่นื ท่คี ณะกรรมการนโยบายกาหนด - ในกรณที กี่ ารจดั ซอ้ื จดั จา้ งวงเงนิ เล็กน้อย จะไมท่ าขอ้ ตกลงเปน็ หนังสือไว้ตอ่ กนั กไ็ ด้ แตต่ อ้ งมี หลกั ฐานการจัดซ้ือจัดจ้าง การแกไ้ ขสญั ญา มาตร9า7 สัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนงั สือทไ่ีลดง้ นามแล้วจะแกไ้ ขไมไ่ ดเว้ ้นแต่ในกรณี ดงั ตอ่ ไปนใ้ี หอ้ ยูใ่ นดลุ พนิ จิ ของผูม้ ีอานาจท่ีจะพจิ ารณนมุาอตั ใิ ห้แกไ้ ขได้ - กรณีไม่ได้ทาสัญญาตามแบบท่ีกาหนด หรือไม่ได้ส่งรา่ งสัญญาใหส้ านักงานอัยการสูงสดุ พจิ ารณากอ่ น ให้สง่ สญั ญาให้สานักงานอยั การสูงสดุ พจิ ารณาภายหลังได้ เมื่อสานักงานอัยการสงู สดุ พิจารณาให้ ความเหน็ ชอบแลว้ หรือเมอื่ สานักงานอยั การสูงสดุ พจิ ารณาเห็นชอบแหตแ้ ใ่ก้ไขสัญญา ถ้าแก้ไขให้ เป็นไปตามความเห็นของสานักงานอัยการสูงสุด ให้ถอื วา่ สัญญานนั้ มผี ลสมบูรณ์ - ในกรณีที่มีความจาเป็นตอ้ งแก้ไขสัญญาหรอื ขอ้ ตกลง หากการแกไ้ ขนัน้ ไมท่ าให้หน่วยงานของรฐั เสยี ประโยชน์ - เป็นการแก้ไขเพือ่ ประโยชนแ์ ก่หน่วยงานของรัฐหรือประโยชนส์ าธารณะ - กรณีอ่นื ตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง

๑๘ การสง่ มอบงาน กรณที ี่สญั ญาหมดในวันศุกร์ คสู่ ัญญาบอกวา่ เอาสนิ คา้ มาส่งวนั พุ่งน้ี ได้หรอื ไม่ ? ไม่ได้ วนั หยดุ ไม่ใชว่ ันทาการ ถ้าวนั สิน้ สดุ สัญญาเปน็ วนั เสาร์ จาเป็นไหมว่าต้องเอาของมาสง่ วันเสาร์ (วันหยุด ) คิดคา่ ปรบั อยา่ งไร ? ของมาส่งในวันพุธ ค่าปรับเกดิ ขนึ้ กว่ี ัน ?  ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิ ชย์ ตามมาตรา 194 /8 กาหนดเอาไวก้ ารสง่ มอบรับ ของ กรณีส้นิ สุดสญั ญาในวันหยดุ ปกติ /วันหยดุ นักขตั ฤกษ์ ให้ผรู้ ับจ้างมาส่งของในวนั ทาการแรก ให้ถอื วันแรกของ การทาการเป็นวันสิ้นสดุ สญั ญาเลย ไม่เกดิ ค่าปรับ  2 วันทาการ คอื วนั จันทร์และวันองั คาร วิทยากรอธิบายถึง “แผนการบารุงรกั ษา ” ท่ีสอดคล้องพระราชบญั ญตั กิ ารจัดซื้อจดั จา้ งและการ บรหิ ารพัสดุ หน่วยงานตอ้ งจดั ให้มแี ผนการบารงุ รกั ษาครุภณั ฑ์ สง่ิ ก่อสรา้ งต่างๆ ใหก้ าหนดชัดเจน กลบั ไปตอ้ งทา ไวก้ ่อน พรอ้ มใหต้ รวจสอบได้ โดยมีรปู แบบและตวั อยา่ ง ดงั นี้

๑๙ ผลการเรยี นรู้ ผเู้ ข้าอบรมสว่ นใหญ่ มีความสนใจในเน้อื หาวชิ า เปน็ อยา่ งมาก มีส่วนรว่ มในกระบวนการ และมี ความต้ังใจในการเรียนรู้ ซง่ึ จะมกี าร นาหนงั สอื เวยี นและขอ้ หารือตามระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการ จดั ซอ้ื จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ .ศ. 2560 มาประกอบในการบรรยาย พรอ้ มการยกกรณตี ัวอย่าง ท่ีเกิดขึ้น จริงมาอธบิ ายเพ่มิ เตมิ และการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ถามตอบระหวา่ งผู้เขา้ อบรมกบั วิทยากร อยา่ งเปน็ กนั เอง เน่ืองจากเปน็ หัวขอ้ ทีน่ าไปปรบั ใช้โดยตรงและเป็นประโยชนต์ ่อการทางาน

๒๐ ๒.4 หวั ขอ้ วิชา “การบรหิ ารความเส่ยี งดา้ นการเงนิ งบประมาณฯ” วทิ ยากร ๑. นางสาวเยาวรัตน์ สายศรีธิ ตาแหนง่ นกั วิชาการคลังชานาญการพิเศษ 2. นางสายสมร ทองอยู่ ตาแหน่ง นกั วชิ าการเงนิ และบญั ชีชานาญการ วิทยากรกล่มุ 1. นางอญั ชลี ป่งแก้ว ตาแหนง่ นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 2. นางกรรณิการ์ กา๋ วติ า ตาแหน่ง นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ 3. นางสาวณฐั กฤตา ชัยตูม ตาแหน่ง นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัตกิ าร 4. นายณัฐนชิ รกั ขตวิ งศ์ ตาแหน่ง นักวชิ าการพัฒนาชุมชนชานาญการ 5. นายเกรียงไกร สิงห์แก้ว ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ 6. นางสาวเมทินี น้อยเรอื น ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั ิการ 7. นางอรณุ ศรี เดชะเทศ ตาแหนง่ นักจัดการงานท่ัวไปชานาญการ 8. วา่ ท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ บัวคา ตาแหนง่ นักทรัพยากรบุคคล วตั ถปุ ระสงค์ ๑. รแู้ ละเขา้ ใจการบริหารความเสี่ยงด้านการเงิน การบญั ชี ๒. สามารถประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคนคิ การบริหารความเสีย่ งในการ ขับเคลอื่ นงานพัฒนาชุมชน ระยะเวลา 3 ช่ัวโมง (180 นาท)ี เทคนคิ /วธิ ีการ/กระบวนการ (1) บรรยายแบบมสี ่วนรว่ ม /ประกอบสอื่ เน้นยา้ เกยี่ วกับ อะไรคอื ความเสีย่ งด้ านการเงนิ การบัญชี และวธิ ีการบรหิ ารจดั การความเสีย่ ง รวมถึง บทเรียน/ขอ้ คน้ พบ/ขอ้ พึงระวัง จากกรณที เี่ กดิ ขึ้นจรงิ ใน พน้ื ท่ีและวธิ กี ารปอ้ งกนั (2) เปดิ โอกาสให้ผเู้ ขา้ รับการอบรมซกั ถามเพิ่มเตมิ ในแต่ละประเด็นทว่ี ทิ ยากรบรรยายเพอื่ แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ระหวา่ งผู้เขา้ อบรมกับวทิ ยากร (3) ใหผ้ ู้เข้าอบรมเขียนประเดน็ คาถาม /ข้อสงสัยลงในบตั รคา (เจา้ หน้าท่ีโครงการเปน็ ผ้จู ัดเกบ็ รวบรวมข้อมลู และจดั กลุ่มคาถามส่งให้วิทยากรตอบตามประเด็นคาถาม/ขอ้ สงสัย) วทิ ยากรกล่าวทักทาย แนะนาตัวกบั ผ้เู ขา้ อบรมอยา่ งเปน็ กนั เอง เพ่ือสร้างความคนุ้ เคย จากนน้ั วิทยากรเขา้ สู่ประเด็นเนื้อหาทจ่ี ะเรยี นกันในวนั น้ี คอื ความเสยี่ งด้านการเงิน การบัญชีมอี ะไรบ้าง และมีวิธีการ บริหารจดั การความเส่ียงได้อย่างไรรวมถงึ ตัวอย่างจากกรณที เ่ี กิดข้ึนจรงิ วิทยากรเข้าสู่เนื้อหาโดยเริ่มตน้ จาก หลักเกณฑ์กระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยมาตรฐานและ หลักเกณฑ์ บริหารจัดการความเส่ียง สาหรบั หน่วยงานของรฐั พ .ศ.2562 (หนังสอื กระทรวงการคลัง ที่ กค 0409 .4/ว23 ลว. 19 มนี าคม 2562 ) ให้หนว่ ยงานของรัฐถือปฏบิ ตั ิ จากนัน้ จะเขา้ สเู่ รื่องของคานยิ าม “ความเสีย่ ง”และ “การบรหิ ารจดั การความเสีย่ ง” พร้อมยกตวั อย่างความเสย่ี ง ปจั จยั เส่ียง การควบคมุ ภายใน วัตถปุ ระสงค์/เป้าหมาย : เดินทางรถยนต์ส่วนบคุ คลไปถึงปลายทางโดยปลอดภัย ทันเวลา ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย ความเสย่ี ง (Risk) 1. รถยนต์เสยี ระหว่างทาง 2. ประสบอุบัติเหตุระหว่างทาง 3. ขบั หลงทาง/ไปเสน้ ทางออ้ ม 4. มกี ารแวะระหว่างทางมากเกนิ ไป

๒๑ ปจั จยั เส่ยี ง (Risk Factor) 1. ไมต่ รวจสภาพรถยนตก์ ่อนเดินทาง 2. ขับรถยนต์โดยประมาท ไม่เคารพกฎจราจร เมา/งว่ งนอนแลว้ ขับ 3. ไม่ศึกษาเสน้ ทางกอ่ นเดินทาง ไมม่ ีคู่มือ/แผนทีเ่ ส้นทาง 4. ไมว่ างแผนเดนิ ทา/กงาหนดจุด+เวลาการแวะอยา่ งเหมสามะกบั เป้าหมายการเดนิ ทาง ควบคมุ ภายใน 1. กาหนดรายการ+ตารางเวลาเช็คสภาพรถยนต์ (Hard Control+Preventive Control) เตรียมข้อมูลอู่ซ่อมในเสน้ ทางเดนิ ทาง (HC+Corrective Control) 2. เคารพกฎจราจร (Soft Control)+เตรียมรา่ งกายให้พร้อมก่อนเดนิ ทาง (HC+PC) 3. ศึกษา/เตรียมคู่มือ/แผนทเี่ สน้ ทางไว้ในรถยนต์+กาหนดแผนการเดนิ ทางใหช้ ัดเจน (Hard Control+PC) ประเภทความเส่ียง แบ่งออกเปน็ 4 ด้าน ดังน้ี 1. ความเสยี่ งด้านกลยทุ ธ์ เกิดจากการกาหนดกลยุทธ์ และ นโยบายในการบริหารงาน 2. ความเส่ียงด้านการเงิน เชน่ การเบกิ จ่ายงบประมาณไมท่ ันตามกาหนดเวลา หรอื งบประมาณ ไม่เพียงพอตอ่ การดาเนนิ งาน การเบกิ จา่ ยเงนิ ไม่ถูกต้องตามประเภทหมวดรายจา่ ย อีกทัง้ งบประมาณทีเ่ ราจดั สรร มามมี าจากหลายงบ แหลง่ ท่มี า เชน่ งบลงทนุ งบกอ่ สร้างอาคาร ซ้ือครภุ ณั ฑ์ งบดาเนินงาน การใช้จ่ายเงิ นมี วตั ถปุ ระสงคท์ ่ีต่างกนั 3. ความเสยี่ งดา้ นการปฏิบตั ิงาน จะเน้นท่ตี ัวบุคลากร บคุ ลากรอาจขาดทักษะ ความชานาญ ความรเู้ ฉพาะทาง ความปลอดภัยในการปฏบิ ัตงิ าน เชน่ เกิดอบุ ัติเหตุ หรอื ไดร้ บั อั นตรายจากการปฏิบตั ิงาน หรอื เทคโนโลยที ี่ล้าสมยั ถา้ เป็นหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้องกับสงิ่ แวดล้อมอาจจะมีความเสีย่ งดา้ นมลพิษตอ่ ชุมชนรอบข้าง 4. ความเสี่ยงดา้ นการปฏิบตั ิใหส้ อดคล้องกับกฎระเบยี บหรอื กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้อง (Compliance Risk) กฎหมายทม่ี อี ยู่ไม่เหมาะสม หรอื เปน็ อปุ สรรคต่อการปฏิบัตงิ าน ดงั นน้ั ถ้าเราทาความเขา้ ใจกบั ความเสีย่ ง เราจะทราบว่ าความเสย่ี งไมใ่ ชป่ ญั หา ถา้ เราบรหิ าร จัดการมนั ไดโ้ ดยใช้กระบวนการท่ถี กู ขนั้ ถกู ตอน กค็ อื การควบคมุ ภายในเขา้ มาชว่ ยกส็ ามารถลดปญั หาและท่สี าคญั จะทาใหห้ น่วยงานหลีกเล่ียงความสญู เสยี ถงึ ข้ันของการสร้างนวตั กรรม เชน่ กระทรวงการคลงั ในอดตี (หนว่ ยเบิก จา่ ยเงิน) ราชการจะรบั จา่ ยเงินเปน็ เงินสดและเช็ค ปจั จบุ นั เปลย่ี นการใชเ้ งินสดและเช็คลดลง เป็นการโอนเงินผา่ น ktb corporate ผา่ นระบบ e-payment (นวัตกรรมของกระทรวงการคลัง ) ทพ่ี ฒั นารองรบั กบั Thailand ยคุ 4.0 ดงั น้นั ถา้ งานของเรามีความเสี่ยง แล้วเราสามารถลดข้อผิดพลาดของความเส่ยี งนน้ั ไดโ้ ดยท่ีประยุกตห์ รอื หาแนวทางวิธกี าร มันจะเกดิ นวตั กรรมใหม่ๆข้ึนมาได้ การบรหิ ารความเสีย่ งจะทาใหอ้ งค์กรสามารถฉกฉวยโอกาส และหลีกเลีย่ งความสญู เสีย ได้ ความเส่ียงจะมที ้งั ผลดแี ละผลเสีย เวลามองความเสี่ ยงควรจะมองในภาพใหญ่กอ่ น ท่สี าคัญการบริหารจัดการ ความเส่ียงท่ดี ตี ้องตอบสนองตอ่ การเปล่ียนแปลง นัน่ ก็คอื นาไปส่กู ารปฏบิ ตั ทิ ัว่ ทั้งองค์กรได้ถึงจะบรรลผุ ล การ บรหิ ารจัดการความเสีย่ ง ผู้บริหารมสี ว่ นสาคัญมาก เป็นผนู้ าองคก์ ร สรา้ งความมัน่ ใจให้หน่วยงาน มีการบริหาร จดั การความเสี่ยงทม่ี ีประสทิ ธิผลจนนาไปสกู่ ารควบคุมภายในหรือกระบวนการท่ียอมรับได้ ทุกงานมคี วามเสีย่ งแตจ่ ะเสี่ยงมาก/น้อย ถ้าเราควบคุมแลว้ ยอมรบั ไดแ้ สดงว่า เราบรหิ ารจัดการ ได้ ทางผูบ้ ริหารได้กาหนดระดบั ความเส่ียงที่สามารถยอมรับได้ ผบู้ รหิ ารมสี ว่ นสาคัญในการสร้างสภาพแวดลอ้ มใน การบริหารจัดการความเสยี่ ง คอื เป็นตัวอยา่ งใหก้ ับลูกน้อง เช่น มกี ารรณรงค์ เรือ่ งของการลดใช้พลาสติก มีการ กาหนดนโยบายเขยี นไว้เปน็ แนวปฏิบั ตทิ างปฏบิ ัตติ ิดไว้ในหนว่ ยงาน แต่ ถา้ ผบู้ รหิ ารไมป่ ฏิบัติ เปน็ แบบอยา่ ง (ผบู้ รหิ ารยังใช้ถงุ พลาสตกิ ไมใ่ ชถ้ ุงผา้ ) ลกู น้องกจ็ ะไม่ปฏบิ ตั ติ ามแนวทาง ท่ีกาหนดไว้ ก็จะนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิทง้ั องค์กรไม่บรรลุผล ดังนั้น ถ้าผู้บรหิ ารปฏบิ ัติกจ็ ะนาไปส่กู ารปฏิบัติท่ีเป็นแบบอยา่ งใหแ้ กล่ กู น้อง บคุ ลากรใน หนว่ ยงานก็เชน่ เดยี วกัน ท้ังผู้บริหารและบคุ ลากรในองคก์ ร ถือเป็น Jigsaw สาคัญในการขบั เคลอื่ นองค์กร

๒๒ เพราะฉะน้นั เวลาใช้มาตร การหรือกระบวน การบรหิ ารจัดการความเส่ยี ง /การควบคุมภายในแล้ว ทกุ คนก็ต้อง นาไปสู่การปฏบิ ัติ โดยการทางานนน้ั จะตอ้ งเป็นไปใน ลักษณะของ Teamwork องค์กรถงึ จะบรรลเุ ปา้ หมาย ความเสย่ี งนั้นถงึ จะลดลง บางหน่วยงานอาจใชจ้ านวนครง้ั ในการประเมินความเสีย่ ง หรอื ความเสี่ยงท่ีเราเจอไม่สามารถวั ด คา่ ออกมาได้ แตเ่ ราสามารถพจิ ารณาจากค่าได้ เช่น โรงพยาบาล ถ้าเขาดคู วามถ่ีวา่ จานวนครั้งของอุบตั ิเหตทุ ี่ เกิดขน้ึ ว่าเอาจานวนครั้งมาเปน็ เกณฑ์ ถา้ มากกว่า 1 ครั้งตอ่ เดือนกแ็ สดงว่าความเสย่ี งสูงมาก แตบ่ างหนว่ ยงาน อาจจะดทู ี่เปอรเ์ ซน็ ต์ ถา้ เปอร์เซ็นตส์ งู ๆ ถือว่างานเรามคี วามเส่ียงสูง เราตอ้ งหามาตรการมาควบคุม ดงั นนั้ ถา้ เรา ทราบว่าความเสีย่ งในภารกิจของเรามอี ะไรบ้าง ต้องหาวิธกี ารจัดการบรหิ ารความเสย่ี งดว้ ยวธิ ีการต่างๆ ซ่งึ นาไปสู่ กจิ กรรม การควบคมุ ภายใน ควรหามาตรการ /กิจกรรม เขา้ มา ควบคมุ ไดแ้ ก่ การกาหนดระเบียบ ข้อบังคับ วิธีปฏบิ ตั ิ, การแบ่งแยกหน้าที่ความรบั ผิดชอบ , การกาหนดขอบเขต อานาจหน้าท่ีความรับผิดชอบ , การจัดทา บัญชี ทะเบียน รายงาน , การสบั เปลีย่ นหมนุ เวยี นงาน , การกาหนดดัชนวี ดั ผลการดาเนินงาน การอนมุ ัติ , การพสิ ูจน์รายการ , การหมุนเวียนเปลยี่ นงาน , การ Run เลขท่ีเอกสาร (งานการเงินใชเ้ ยอะ ) , การ Surprise Check, การเขา้ ถึงทรัพยส์ ิน การเขา้ ถึงขอ้ มูล, การกระทบยอด, การสอบทาน และการกากบั ดูแล จะเหน็ ไดว้ ่า การตรวจสอบภายใน การบริหารจดั ความเส่ียงและการควบคุมเปน็ เรอื่ งทรี่ ้อยเรียงกัน สอดคล้องกนั การตรวจสอบภายในมีหนา้ ทใี่ นการประเมิ นผลการบรหิ ารความเสี่ยงและการควบคุมว่า มปี ระสทิ ธิผลและให้คาแนะนาคณะกรรมการหรอื ผู้บรหิ ารในการปรับปรงุ กระบวนการ ขอ้ พงึ ระวัง / ขอ้ ผดิ พลาดในการปฏบิ ตั งิ าน - การจัดหาพสั ดุ ไม่สอดคล้องกบั งบประมาณท่ีได้รบั ในเรือ่ งของการจดั หาพสั ดุ การจดั หาพสั ดตุ ่างๆ เราต้องย้อนกลับไปดวู า่ ระเบยี บกาหนดให้ซ้ือ อย่างไรบ้าง จะเบิกจา่ ยอยา่ งไร ในเรอ่ื งของงบประมาณ เนอื่ งจากเป็นงบประมาณแผน่ ดิน เวลาทท่ี ่านได้รบั การ จดั สรรงบประมาณ โดยจะมีหลกั การจาแนกงบประมาณรายจา่ ย ท่ีเป็นระเบยี บของสานกั งบประมาณ จะกาหนด ว่างบประมาณแต่ละประเภทใชจ้ า่ ยอ ะไรบ้าง เชน่ งบดาเนนิ งาน เปน็ งบท่ีใชจ้ ่ายในการบรหิ ารงานของสว่ น ราชการเพอ่ื ให้สว่ นราชการดาเนินการตามภารกจิ ซึง่ มีลักษณะการจ่ายของคา่ ตอบแทน ค่าใชส้ อย คา่ สาธารณปู โภค ค่าตอบแทน คือ รายจ่ายทีจ่ ่ายคา่ ตอบแทนใหก้ ับบคุ ลากรที่ปฏบิ ัติงานใหก้ ับส่วนราชการ คา่ ใชส้ อย คือ รายจา่ ยให้ไดม้ าซ่งึ สินค้า และบรกิ าร ค่าวัสดุ คือ รายจ่ายเพอื่ ท่ีมาซงึ่ ส่งิ ของทม่ี ีลกั ษณะใช้แลว้ สิ้นเปลอื งหมดไป ไม่คงทนถาวร คา่ สาธารณูปโภค คือ คา่ น้า คา่ ไฟ ดงั น้นั ท่านต้องเขา้ ใจในแตล่ ะงบ สมมุติท่านไดร้ บั งบดาเนนิ งาน แต่ท่านอยากได้ เคร่ืองPrinter ในการปฏบิ ตั งิ าน ประมาณ 4,500 บาท ทา่ น คดิ วา่ จะใชง้ บดาเนนิ งานซื้อไดไ้ หม ? ซง่ึ บางหนว่ ยงานซอื้ ได้ บางหน่วยงานบอกเปน็ ครภุ ัณฑ์ ต้ังแต่ปี 2559 กม็ หี ลกั การจาแนกงบประมาณรายจา่ ย สานักงบประมาณออกมา วา่ ไมไ่ ด้ดใู นเรื่องของราคาเปน็ ตัววัดวา่ จะเป็นในเรื่ องของวัสดหุ รอื ครภุ ัณฑ์ ให้ดูทปี่ ระเภทของการใชง้ าน “วสั ดุ ประเภทคงทนถาวร” มลี ักษณะเป็นสิง่ ของท่มี ีความคงทน แต่ตามปกตมิ ีอายกุ ารใชง้ านไม่ยนื นาน หรือเมอ่ื นาไปใช้ แล้วเกิดความชารุดเสียหายไม่สามารถซอ่ มแซมไดค้ งเดิมหรอื ซ่อมแซมไดแ้ ต่ไมค่ ุ้มคา่ ดงั นั้น ตอ้ งดูสนิ คา้ ที่เลอื กซือ้ ขนึ้ อยกู่ ับข้อเท็จจรงิ ตอ่ มาดทู ี่ขอ้ ตรวจพบด้านคา่ ใชจ้ า่ ยในการฝึกอบรม หรอื จดั งาน ทเ่ี ราจะเจอกันมาก น้นั กค็ ือ  การขออนมุ ัติดาเนินการตามโครงการไมค่ รอบคลมุ  งบประมาณทใ่ี ช้ในโครงก ารไม่มรี ายละเอียดในแตล่ ะรายการ เราจะตอ้ งแจกแจงเพื่อให้ ชดั เจน เวลาทาโครงการตอ้ งมีรายละเอียด (ตารางตวั คูณ)

๒๓  การเบิกค่าตอบแทนวทิ ยากรเกนิ กวา่ อัตราทีร่ ะเบียบกาหนด และการเบกิ ค่าวิทยากรกลมุ่ ไม่ ตรงตามรายละเอียดโครงการ  จ่ายค่าพาหนะแกผ่ ้เู ข้ารับการอบรมในอัตราเดียวกนั ทกุ คน กรณีค่าพาหนะรับจา้ งให้จา่ ย ตามจริง ไม่มีคาวา่ เหมาจ่าย หรือวา่ จา่ ยเทา่ กัน  การเบกิ คา่ อาหารกลางวนั เกินจานวนม้ืออาหารท่ีกาหนดไว้ในกาหนดการ  การเชญิ ผูร้ บั บานาญมาเปน็ วทิ ยากร ให้ถอื วา่ ไมใ่ ชบ่ คุ ลากรของรฐั  การเชิญ ลกู จา้ งของรัฐวสิ าหกจิ เชน่ การไฟฟา้ การประปา ธนาคาร ธ .ก.ส/ออมสิน / กรงุ ไทย/ธ.SME ถือวา่ เปน็ บคุ คลากรของรัฐ  โครงการฝกึ อบรม/ดงู าน โครงการ หมายเหตวุ า่ จัดเลย้ี งอาหารครบทกุ มื้อ ใหง้ ดเบกิ ค่าเบีย้ เลย้ี งในระหวา่ งฝกึ อบรม  การฝึกอบรมท่มี กี ารนาเสนอผลงานและมผี ้วู พิ ากษ์ ไมส่ ามารถเบกิ ค่าสมนาคุณวิทยากร ให้กบั ผู้วพิ ากษไ์ ด้  กรณผี เู้ ข้ารว่ มอบรมเดินทางลว่ งหน้าและก ลับหลงั สนิ้ สดุ การอบรม เพราะเหตุสว่ นตวั ให้ งดเบิกคา่ เบี้ยเลย้ี ง คา่ เช่าทพี่ กั ทง้ั ชว่ งเดินทางกอ่ นและหลงั เสร็จสิ้นการอบรม  โครงการฝกึ อบรมที่มกี ลมุ่ เป้ าหมายเปน็ ขา้ ราชการเข้ารบั การ อบรมไมค่ รบถ้วน แตเ่ บกิ คา่ ใชจ้ ่ายครบตามจานวน  การเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยให้กับผตู้ ดิ ต าม หรือแขกผู้มเี กยี รตโิ ดยไมไ่ ด้ขออนมุ ตั คิ ่าใช้จา่ ยไวใ้ น โครงการ  การไปศกึ ษาดูงานในสถานทร่ี าชการ เบิกค่าอาหารอัตราเอกชนไมไ่ ด้ ใบสาคญั รับเงินสาหรับวิทยากร (ค่าสมนาคุณวทิ ยากร) - แบบฟอรม์ ตามระเบียบฝึกอบรมฯ ท้ายระเบยี บฝกึ อบรมฯ - วชิ าท่ีบรรยาย - ลกั ษณะการอบรม (บรรยาย / อภิปราย / แบ่งกล่มุ ) - ชว่ งเวลาการอบรม - อตั ราค่าสมนาคุณวทิ ยากร  ใบสาคัญรับเงินคา่ พาหนะสาหรบั วิทยากร - แบบฟอรม์ ตามระเบียบฝึกอบรมฯ - ท้ายระเบยี บฝึกอบรมฯ (กรณีวทิ ยากรมถี ิน่ ท่อี ยใู่ นทอ้ งทีเ่ ดียวกับสถานท่ีจัดฝึกอบรม) การเบกิ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาดูงาน - กาหนดการศึกษาดูงาน ระบุรายละเอียดไมช่ ดั เจน - การดูงานนอกสถานท่ี จะเบิกคา่ วทิ ยากรทมี่ าบรรยาย หรือ พาเยย่ี มชมสถานท่ี ไมไ่ ด้ - กรณีจะเบกิ ต้องกาหนดไว้ในกาหนดการชัดเจน (การบรรยาย/ อภปิ ราย / แบง่ กลุ่ม) แต่ตอ้ ง มีหนังสอื เชญิ ขอเปน็ วทิ ยากรด้วย - การเบิ กค่าอาหารเย็นในการเดินทางไปศกึ ษาดงู านเกินสทิ ธิ เน่ืองจากสิ้นสดุ ระยะเวลาใน การศกึ ษาดูงาน - คา่ ของสมนาคุณในการดูงาน แหง่ ละไมเ่ กนิ 1,500 บาท ไมไ่ ด้ดาเนินการตามระเบียบจดั ซื้อ จดั จ้างฯ

๒๔ ตารางการฝึกอบรม - ระบลุ กั ษณะการอบรม (บรรยาย / อภปิ ราย / แบง่ กลุ่ม) กรณแี บง่ กลุ่ม ระบวุ ่าประจากลมุ่ ใด - ระบุชื่อวิทยากร - ตารางการฝกึ อบรมทมี่ พี ธิ ี – ปดิ ไม่สามารถเบกิ ค่าสมนาคณุ วิทยากรได้ - การกาหนดชอื่ วิชาในตารางฝกึ อบรมไมเ่ หมาะสม - ไมม่ กี าหนดการแนบ ทาให้ไม่สามารถตรวจสอบ ค่าตอบแทนวทิ ยากรวา่ ถูกตอ้ งหรือไม่ ค่าใช้จา่ ยในการฝกึ อบรมบคุ คลภายนอก - การเบิกค่าเชา่ ท่ีพกั เกินกวา่ อตั ราทร่ี ะเบียบกาหนด - ไมใ่ ห้เบิกจา่ ยคา่ พาหนะในลกั ษณะเหมาจ่าย - คา่ พาหนะกลุ่มเป้าหมา(ยแนบ บก.111) ไมม่ หี ลกั เกณฑ์ในการจ่ายเงเินปน็ การรับรองการจ่ายเงิน - จดั ได้เฉพาะการฝึกอบรมในประเทศเท่าน้นั - ไมส่ ามารถเบกิค่าโดยสารเคร่ืองบินได้ หากจะเบิกต้องขอทาความตกลงกบั กระทรวงการคลังก่อน การเบิกคา่ เช่าทพ่ี กั - รายช่ือผ้เู ข้าพกั ใน Folio ไม่ตรงกบั ใบลงทะเบียน - การเบกิ คา่ ท่ีพกั โครงการฝึกอบรม/สัมมนา/จัดงานตา่ งๆ ไมใ่ ห้เบิกแบบเหมาจา่ ย (จ่ายจรงิ แนบใบเสร็จ และ Folio) การนบั เบ้ยี เล้ยี ง - หกั ม้อื อาหารทีโ่ ครงการจัดให้ ในอตั รามื้อละ 1 ใน 3 ของอัตราเบี้ยเล้ียงเดนิ ทางต่อวัน การฝึกอบรมแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท คอื ประเภท ก ข และ บุคคลภายนอก  การฝึกอบรมประเภท ก หมายถึง การฝกึ อบรมทีผ่ ้เู ขา้ รับการฝกึ อบรมเกนิ กงึ่ หน่งึ เปน็ บุคลากรของรัฐ ซ่ึงเป็นข้าราชการตัง้ แต่ ซี 9 ข้ึนไป เพราะฉะน้นั การเบิกค่าใช้จ่ายของการฝึกอบรม ไมว่ ่าจะเปน็ คา่ วิทยากร ค่าเช่าท่พี ัก จะต่างจากประเภทอน่ื  การฝึกอบรมประเภท ข หมายถงึ การฝกึ อบรมท่ผี เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมเกินกึง่ หนึง่ เปน็ บคุ ลากรของรัฐ เป็นขา้ ราชการตงั้ แต่ ซี 8 ลงมา  การฝีกอบรมใหก้ ับบคุ คลภายนอก (ไม่ใช่บคุ ลากรของรฐั ) เชน่ ผใู้ หญ่บ้าน กานนั ผรู้ ับบานาญฯลฯ บคุ คลที่สามารถเบิกคา่ ใชจ้ ่ายในการฝึกอบรมได้ คือ 1. ประธานในพิธีปิด เปิด แขกผมู้ เี กียรติ ผูต้ ดิ ตาม 2. เจ้าหน้าทผ่ี จู้ ัดการฝกึ อบรม วทิ ยากร 3. ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมรวมไปถงึ ผสู้ ังเกตการณด์ ้วย คา่ ใช้จา่ ยจานวน 15 รายการที่สามารถเบกิ จา่ ยได้ คือ ๑) ค่าใชจ้ ่ายเกี่ยวกบั การใชแ้ ละการตกแต่งสถานท่ฝี ึกอบรม ๒) ค่าใช้จา่ ยในพิธเี ปิด - ปดิ การฝึกอบรม ๑๑) คา่ ของสมนาคุณในการดงู าน ๓) ค่าวสั ดุ เครอื่ งเขียนและอุปกรณ์ ๑๒) ค่าสมนาคุณวิทยากร ๔) คา่ ประกาศนียบัตร ๑๓) ค่าอาหาร ๕) คา่ ถ่ายเอกสาร ค่าพิมพเ์ อกสารและสง่ิ พิมพ์ ๑๔) คา่ เชา่ ทพี่ กั ๖) คา่ หนังสอื สาหรับผู้เขา้ รับการฝกึ อบรม ๑๕) คา่ ยานพาหนะ ๗) คาใช้จ่ายในการติดต่อสือ่ สาร

๒๕ ๘) ค่าเช่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฝึกอบรม ๙) ค่าอาหารวา่ งและเครือ่ งดมื่ ๑๐) ค่ากระเป๋าหรือสิ่งทใี่ ช้บรรจเุ อกสารสาหรบั ผู้เข้ารบั การฝกึ อบรม โครงการหลวงถือวา่ เปน็ สถานท่รี าชการหรือไม่ ? ให้ทา่ นเช็คใน google วา่ กฎหมายการจดั ตง้ั ของหนว่ ยงานนนั้ เป็นแบบไหน ผจู้ ัดสามารถเบิกคา่ วทิ ยากรเองไดห้ รือไม่ ? กรณีท่หี น่วยงานผู้จดั ใชว้ ิทยากรภายใน ซึ่งในระเบยี บไม่ ได้หา้ มไวใ้ หอ้ ยู่ที่ดลุ พนิ จิ หัวหน้า หนว่ ยงาน วา่ สามารถจา่ ยให้ไดไ้ หม จ่ายตามอัตรา แต่ทง้ั นเ้ี จา้ หนา้ ที่ /วทิ ยากรทา่ นนน้ั จะต้องไม่มี job description เปน็ วทิ ยากร เพราะบางหนว่ ยงานจะมตี าแหนง่ เป็นวทิ ยากรอยแู่ ล้ว ผู้รับเงนิ กับผจู้ ่ายเงิน เปน็ คนเดยี วกันได้หรอื ไม่ ?  ข้อห้ามไม่มี แตท่ ้ังน้ีพจิ ารณาตามข้อเท็จจริง ตามความเหมาะสม กรณอี บรมท้ังวนั เชิญ วก.เกนิ 1 คน ไดไ้ หม ถ้าเกิน 1 คนเบกิ คา่ วทิ ยากรอยา่ งไร ?  การบรรยายจา่ ยวิทยากร ได้ไม่เกิน 1 คน อภปิ รายจ่ายคา่ วิทยากร ไดไ้ ม่เกนิ 5 คน การฝึก ปฏบิ ตั ิแบ่งกลุ่ม จ่ายวทิ ยากร ไดไ้ ม่เกนิ กลมุ่ ละ 2 คน ถ้าเปน็ ลกั ษณะการบรรยาย ทั้งวนั 6 ช่วั โมง x 600 บาท ถา้ เกิน 1 คน ควรแบง่ หัวข้อการบรรยายใหช้ ัดเจน การยืมเงินจะมีกระบวนการ ข้นั ตอน เริม่ จากขออนุมัตโิ ครงการ บันทึกขออนุมตั ิดาเนินการ ตารางการฝกึ อบรม รายชื่อเจ้าหน้าทีโ่ ครงการ รายละเอียดค่าใช้จ่ายของโครงการรายกิจกรรมเอกส ารทกุ ฉบบั ต้อง รับรองสาเนาถกู ตอ้ ง แนบให้หัวหนา้ สว่ นราชการพิจารณาอนมุ ตั ิการ จดั โครงการ แนบรายละเอียดใหค้ รบถ้วน ไป พรอ้ มกบั สัญญายืมเงิน 2 ฉบับ ส่วนรายละเอยี ดสัญญายมื ให้ระบุ วนั ที่ สถานท่ี เลขที่สัญญายืม วันที่ครบกาหนด ระยะเวลาในการสง่ ใช้เงนิ ยืม ฯลฯ กรณไี ปราชการประจา ยมื เงินเปน็ ค่าขนยา้ ย ค่าใช้จ่ายเดนิ ทาง เช่น ย้ายไปอยพู่ ะเยา จะสง่ ใช้ เงินยมื คืนภายในกีว่ นั ? ส่งใชใ้ บสาคัญ เขยี นใบรายงานกา รเดนิ ทาง แต่ไมต่ อ้ งมายน่ื ทีส่ านกั งาน เอง ระเบียบบอกว่า ให้ส่งทางไปรษณยี ภ์ ายใน 30 วันนับแต่วนั ที่ได้รบั เงนิ กรณียมื เงินไปราชการชว่ั คราว เชน่ ยมื เงินไปอบรม เวลากลับไปตอ้ งเขยี นรายงานการเดนิ ทาง เพือ่ ส่งใช้ใบสาคญั ภายในก่วี นั ?  ภายใน 15 วัน นบั จากเมือ่ กลับมาถงึ กรณยี มื เงนิ ไปจัดโครงการ จะตอ้ งลา้ งเงนิ ยมื ให้กับหัวหน้าส่วนราชการภายในกีว่ ัน ?  ภายใน 30 วนั นบั แตว่ นั ท่ไี ดร้ บั เงนิ เพราะฉะนั้นจะมหี ว้ งเวลาจะต้องรีบดาเนินการสง่ ใช้ ใบสาคญั เพอื่ ล้างเงนิ ยมื ให้กับหัวหน้าสว่ นราชการภายในกาหนด ถ้าหากเป็นลกู หนี้ที่คา้ งนาน เขาจะมมี าตรการ การติดตามลูกหนี้ ไม่สามารถยืมสญั ญาต่อไปได้ ระเบี ยบเบกิ จา่ ยจะกาหนดไว้ต้องสง่ สญั ญาครัง้ นนั้ ให้แลว้ เสรจ็ ก่อน เขาจะไมอ่ นุมัติให้ยมื เงินซ้าซอ้ น กรณที ี่เราจดั โครงการฝกึ อบรมแลว้ จะตอ้ งมกี ารจัดซ้อื วัสดุ เชน่ การจา้ งถ่ายเอกสาร เกิน 6,000 บาท ยมื ได้ไหม ?  ยมื ไม่ได้ ถ้ามกี ารจัดซ้อื จัดจา้ งทมี่ ีวงเงินต้งั แต่ 5,000 บาทขึ้นไป ทา่ นจะต้องทาขอ้ มลู หลกั ผู้ขาย ทาเบกิ จา่ ยเงนิ ใหก้ ับร้านคา้ โดยตรง คือ จา่ ยตรงให้กับผู้รบั จ้าง

๒๖ ในสญั ญายมื เงินเรา จดั ทาจานวน 2 ชดุ เม่อื ดาเนนิ โครงการเสรจ็ ส้ิน เราจะ ดาเนินการส่งใช้ ใบสาคัญ สง่ ใช้เงินยมื เวลาล้างเงินยมื สญั ญายมื เงนิ ทีเ่ จา้ หน้าที่การเงนิ จะตอ้ งบันทึกหลักๆ คือ วันที่เราส่งคนื ใบสาคญั เหลือเปน็ เงินสดเท่าไหร่ (สลักหลงั ) เจ้าหน้าทก่ี ารเงนิ จะต้องออกใบรบั ใบสาคญั ในระเบียบกาหนดไว้ กรณถี ้ามเี งนิ เหลือจะออกใบเสรจ็ รับเงนิ ด้วย ค่าใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ การเขียนใบเบิกค่าใชจ้ ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ (แบบ 8708) - รายบุคคล - หมคู่ ณะ การเขียนใบรบั รองแทนใบเสร็จรบั เงิน (แบบ บก. 111) ไมค่ รบถ้วน การแก้ไข ขีดฆา่ ขูดลบในหลักฐานทางการเงิน จะต้องมกี ารเซ็นชอ่ื กากบั ด้วย นบั วนั สาหรับการเบกิ เบี้ยเล้ยี งเกิดความซ้าซอ้ นกนั เดินทางเปน็ หมู่คณะ แตข่ อเบิกค่าพาหนะรถยนต์สว่ นบุคคลในการเดินทางไปราชการ เขยี นรายงานการเดินทางไม่สอดคล้องกบั ความเป็นจริง นาใบเสร็จรบั เงนิ ค่านา้ มันเชื้อเพลงิ ลงวนั ที่ไม่ตรงกับการเดนิ ทาง นาใบเสร็จรับเงนิ คา่ นา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ไม่ตรงกับรถราชการมาเบกิ กบั รถราชการ ขอไปราชการไมร่ ะบสุ ถานที่ไปปฏบิ ตั ิราชการ และเขียนในแบบ 8708 ไม่ระบสุ ถานทไ่ี ปราชการ การนบั เบยี้ เลีย้ งเดนิ ทาง (1) มิไดม้ ีการพักแรม - นับได้ไมถ่ ึง 24 ช่วั โมง แต่เกนิ 12 ชั่วโมง ให้ถือเป็น 1 วนั - นับได้ไมถ่ งึ 12 ช่วั โมง แต่เกนิ 6 ช่วั โมง ให้ถอื เป็น ครงึ่ วัน (2) มีการพกั แรม - นบั 24 ชวั่ โมง เป็น 1 วัน - เศษของ 24 ช่วั โมง ถ้าเกิน 12 ช่วั โมง ให้ถือเป็น 1 วัน ใบเสร็จรบั เงินค่าน้ามนั เช้อื เพลงิ รถยนตร์ าชการ (1) ต้องมีรายการครบ 5 รายการ ดงั ต่อไปนี้ - ช่อื สถานทอ่ี ยู่ หรือที่ทาการของผ้รู บั เงิน - วนั เดือน ปี ทรี่ ับเงิน - รายการแสดงการรบั เงินระบวุ า่ เป็นค่าอะไร - จานวนเงินท้ังตวั เลขและอักษร - ลายมือช่ือของผู้รับเงนิ (2) ระบุหมายเลขทะเบยี นรถยนต์ราชการ (3) ปริมาณน้ามันที่เติมเกนิ ความจขุ องถัง จากการบรรยายมาทงั้ หมดในเรื่องของทฤษฎีการบริหารจดั การความเสย่ี ง แต่ในหนา้ งานของเรา จรงิ ๆ เราอาจจะเจอขอ้ ผดิ พลาดในการปฏิบัติงาน เราก็ต้อง มีการปรบั ทฤษฎเี อามาใชใ้ นหน้างานของเรา เพ่ือที่ ทา่ นนาข้อผดิ พลาดตรงนี้เอาไปปรับใช้ แก้ปัญหาเพื่ อลดความเสยี่ ง ในการปฏบิ ตั งิ าน โดยจะมกี ารแบง่ กล่มุ เพ่ือ ออกแบบแนวทางการควบคุมภายใน กิจกรรมความเส่ียงดา้ นการประชุม /อบรม จานวน 4 กลุม่ คือ กลมุ่ ที่ 1

๒๗ และ 2 เรอื่ งการฝึกอบรม ส่วนกลุ่มท่ี 3 และ 4 เร่ืองการประชมุ ตามใบงานท่ี 1 โดยใหแ้ ตล่ ะกล่มุ ไดร้ ะดมสมอง กนั กลุ่มละ 15-20 นาที พร้อมการนาเสนอกลุม่ ละ 10 นาที ดงั นี้ แนวทางการควบคมุ ภายใน กจิ กรรมการฝกึ อบรม (กลมุ่ 1,2) กิจกรรม ปจั จยั เส่ียง แนวทางการควบคมุ ภายใน 1.การส่อื สาร -ผูเ้ ข้าร่วมอบรมไม่ครบตาม -ทาหนงั สือเชิญ/แบบตอบรับ 2.การจัดเตรยี มวสั ดุ/อุปกรณ์ 3.การจดั เตรยี มอาหารว่างและ กล่มุ เปา้ หมาย -ระบรุ ายละเอียดใหช้ ดั เจน/เน้นย้า อาหาร -ผเู้ ข้ารบั การอบรมไมต่ รงกบั 4.การเบิกจา่ ย กลุม่ เป้าหมาย -อปุ กรณโ์ สตฯเกดิ การขัดขอ้ งทาง -ประสานเจา้ หน้าทีร่ บั ผิดชอบ เทคนคิ ลว่ งหนา้ /ซักซอ้ ม/เตรยี มเผอ่ื สารอง -อาหารไมเ่ พยี งพอต่อผเู้ ขา้ อบรม -ต่อรองเจรจากบั ผู้รบั จ้างประกอบ -ผ้เู ข้าอบรมเกนิ จานวนเป้าหมาย เนน้ ยา้ /ส่งั เผอ่ื -คณุ ภาพอาห ารไม่สอดคลอ้ งกับ -ระบเุ มนูอาหาร/อาหารว่างให้ชัด งบประมาณ -เบิกจ่ายไมต่ รงตามท่ีขออนมุ ตั ิเงนิ / -จงั หวดั แจ้งแผนใหอ้ าเภอทราบ เวลา ลว่ งหน้า -บันทึกชี้แจงขอเลือ่ นการ ดาเนนิ การ/การใชจ้ า่ ยเงิน -ศกึ ษากฎระเบยี บทเี่ ก่ยี วข้อง กจิ กรรม ปจั จัยเส่ยี ง แนวทางการควบคุมภายใน 1.การสือ่ สาร -การนดั หมาย -มแี บบตอบรับ -จานวนคนเขา้ ฝึกอบรมไม่ครบ -ทาหนังสอื แจง้ 2.การจัดเตรียมวสั ดุ/อุปกรณ์ -โทรประสานทางโทรศพั ท์ -การจดั หา/สง่ ของลา่ ชา้ -checklist 3.การจดั เตรยี มอาหารวา่ งและ -วสั ดไุ ม่ได้ตามโครงการฯ -บริ หารสัญญาซือ้ /ขาย (ตดิ ตาม อาหาร ตรวจสอบ) 4.การเบิกจา่ ย -คณุ ภาพปริมาณอาหารและอาหาร -วางแผนการจดั ซือ้ จัดจ้าง วา่ ง -จดั หาผูร้ บั จ้างท่มี คี วามรบั ผดิ ชอบ -การขนสง่ คณุ ภาพ มีสถานทด่ี าเนนิ การชดั เจน -หลักฐานการเงินไม่ครบ/ไม่ถกู ตอ้ ง -รายละเอียดไม่ครบถ้วน -แบบฟอร์มการเงินใหถ้ ูกต้อง -ความล่าช้าของหลกั ฐาน -ช้ีแจง อธบิ ายให้ขัดเจน เข้าใจงา่ ย -ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง -ติดตาม ทวงถามลว่ งหนา้ ก่อนครบ กาหนด

๒๘ แนวทางการควบคุมภายใน กจิ กรรมการประชมุ (กลุม่ 3,4) กจิ กรรม ปจั จยั เสีย่ ง แนวทางการควบคุมภายใน 1.การสอ่ื สาร -การสื่อสารไม่ ทั่วถึงไปยังผเู้ ขา้ ร่วม -แจ้งกลุ่มเปา้ หมายลว่ งหนา้ 2.การจดั เตรียมวสั ดุ/อุปกรณ์ ประชุม -ทาหนงั สือตอบรบั /แจ้งเตือนใกลถ้ ึง 3.การจัดเตรียมอาหารวา่ งแล อาหาร -การสอ่ื สารไปชา้ (หนงั สือแจง้ ไปถงึ วนั ประชมุ 4.การเบิกจ่าย ชา้ ) -ไม่มสี ญั ญาณ เครือขา่ ยล่ม -เปล่ียนแปลงทอี่ ยู่/เบอรโ์ ทรศพั ท์ -วัสดุ /อุปกรณ์ไมค่ รบถ้วนและไม่ -สารวจ ตรวจสอบอปุ กรณ์ก่อน เพยี งพอ นาไปใช้ -อุปกรณช์ ารุด -ศึกษาโครงการวา่ เป็นการประชมุ -จัดสถานท่ีไมเ่ หมาะสมกับผู้เข้าร่วม ในลักษณะไหน ประชมุ และไม่เพยี งพอต่อผู้เข้ารว่ ม -จัดเตรยี มสถานท่ลี ่วงหน้าก่อนการ ประชุม ประชุม ะ -จัดเตรียมอาหารวา่ งและเครอ่ื งด่ืม -จัดเตรียมอาหารวา่ งและเครือ่ งด่ืม ไมเ่ พียงพอ (กรณีมีคนเข้ารว่ ม ให้เพยี งพอกับผ้เู ข้ารว่ มประชมุ มากกวา่ ท่กี าหนด) -สารวจจานวนผู้เข้าร่วมประชุม -จดั ทาเอกสารการเบิกจา่ ยไม่ -เจา้ หนา้ ทศ่ี กึ ษา ระเบียบ ในการ ครบถว้ น ไมถ่ กู ตอ้ ง จดั ทาเอกสารเบกิ จา่ ย -จัดเตรยี มเอกสารการเบิกจ่ายให้ ถกู ตอ้ ง -ตรวจสอบความถูกตอ้ ง กิจกรรม ปัจจัยเส่ยี ง แนวทางการควบคมุ ภายใน 1.การสอ่ื สาร -สารไม่ถึงผ้รู ับ -มีการรเี ชค็ ผู้เข้าประชมุ 2.การจัดเตรยี มวัสดุ/อปุ กรณ์ -กล่มุ เปา้ หมายติดภารกจิ อ่นื -มอบหมายให้ผู้แทนเข้าประชมุ 3.การจัดเตรียมอาหารว่างและ อาหาร -เทคโนโลยี (การส่ือสาร) -สง่ หนงั สอื /วาระการประชมุ /แบบ 4.การเบิกจา่ ย ตอบรับ -อปุ กรณ์ไม่พรอ้ ม (ชารุด) -ตรวจเชค็ อุปกรณก์ ่อน -ความชานาญในการใช้เคร่อื งมือ / -เจา้ หน้าโสต อุปกรณ์ -กาหนดเวลาชัดเจน -เวลาจากดั -กลุ่มเป้าหมายมาเกิน (มีผู้ติดตาม) -ระบุจานวนกลุม่ เปา้ หมายให้ชดั เจน -คุณภาพไม่เหมาะสมกบั ราคา -เปรียบเทียบ/หารา้ นท่เี ปน็ The best -เอกสารไมค่ รบ -ทา checklist -เอกสารผดิ /แก้ไขไม่ถูกตอ้ ง -ทาความเข้าใจ/เจา้ หน้าท่ปี ระจา -ความไม่เขา้ ใจในระเบยี บ/กฎหมายทใ่ี ช้ -สร้างความรู้ความเขา้ ใจ

๒๙ ๒.5 หัวขอ้ วชิ า “การออกแบบและการจดั ทาแผนบริหารความเส่ียงองคก์ ร” วิทยากร ๑. นางสาวเยาวรตั น์ สายศรีธิ ตาแหนง่ นักวชิ าการคลงั ชานาญการพเิ ศษ 2. นางสายสมร ทองอยู่ ตาแหน่ง นักวิชาการเงนิ และบัญชชี านาญการ วิทยากรกล่มุ 1. นางอัญชลี ปง่ แก้ว ตาแหน่ง นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ 2. นางกรรณกิ าร์ กา๋ วติ า ตาแหน่ง นักทรัพยากรบคุ คลชานาญการ 3. นางสาวณัฐกฤตา ชัยตมู ตาแหนง่ นกั ทรัพยากรบุคคลปฏิบตั กิ าร 4. นายณัฐนชิ รกั ขตวิ งศ์ ตาแหนง่ นกั วิชาการพัฒนาชุมชนชานาญการ 5. นายเกรยี งไกร สิงห์แก้ว ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบุคคลชานาญการ 6.นางสาวเมทินี น้อยเรอื น ตาแหน่ง นักทรพั ยากรบคุ คลปฏิบัตกิ าร 7.นางอรุณศรี เดชะเทศ ตาแหน่ง นักจัดการงานท่ัวไปชานาญการ 8. วา่ ท่ี ร.ต.ชัยณรงค์ บัวคา ตาแหน่ง นกั ทรพั ยากรบุคคล วตั ถุประสงค์ 1. สามารถประยุกต์ใชเ้ ทคนิคการบริหารความเสย่ี งในการขับเคลอื่ นงานพฒั นาชุมชน 2. ออกแบบและจัดทาแผนบรหิ ารความเสย่ี งในการปฏบิ ัติงานและองคก์ ร ระยะเวลา 3 ชว่ั โมง (180 นาท)ี เทคนคิ /วิธีการ/กระบวนการ วิทยากร ได้กล่าวถึงปัญหาท่ีเกิดขน้ึ ระหวา่ งการอบรมและการประชมุ คอื เขา้ ใจไม่ ถูกต้อง ถกู เรยี กคืนเงนิ ค่าวทิ ยากรและค่าใช้จา่ ยตา่ งๆ ถกู ทักทว้ งจากกลุ่มตรวจสอบภายใน สานกั งานตรวจเงินแผน่ ดนิ ตรวจสอบพบภายหลงั ฯลฯ ซึง่ ทงั้ การฝึกอบรมและการประชมุ จะใชร้ ะเบียบฯและหลักเกณฑท์ ีต่ ่างกัน วิทยากร จงึ ได้อธบิ าย และเน้นย้า ความแตกต่างระหวา่ ง การอบรมและก ารประชุมเพอื่ ให้เหน็ ถงึ ขอ้ แตกต่างทีช่ ดั เจน คอื “การฝกึ อบรม (ตามระเบยี บฝกึ อบร ม) หมายความว่า การอบรม การประชุมทาง วิชาการหรอื เชงิ ปฏบิ ตั ิการ การบรรยายพเิ ศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝกึ งาน หรอื เรียกชอ่ื อยา่ งอ่นื ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมี โครงการหรอื หลักสตู รและ ชว่ งเวลาที่แนน่ อน มวี ตั ถุประสงคเ์ พือ่ พฒั นาบุคลากรเพอื่ นา ความรทู้ ่ีไดไ้ ปพัฒนางาน ให้มีประสทิ ธิภาพมากขึ้น ไมม่ กี ารรับปริญญา หรอื ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ในเรอ่ื งก ารประชุม หมายความถงึ การประชุมในเนื้องานทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับสว่ นราชการ โดยมวี ัตถปุ ระสงค์เพอ่ื นาผลการประชุมไปใช้เป็นแนวทางในการ ปฏิบตั งิ านของทางราชการ รบั ทราบนโยบายในการดา เนินงาน ช้แี จงแนวทางการ ดาเนนิ งาน ตดิ ตาม ความกา้ วหน้าของการดา เนนิ งาน รับทราบและรับฟังปัญหา อปุ สรรค ร่วมกนั หาแนวทางแก้ไขปญั หา จัดทา รายงานการประชุมสง่ ใหผ้ ู้เขา้ ประชมุ ทุกคน ภายหลังจากเสรจ็ สน้ิ การประชุม วทิ ยากรเติมเตม็ และใหข้ ้อเสนอแนะใน ใบงานท่ี 1 เรอื่ งการ ออกแบบแนวทางการควบคุม ภายใน กจิ กรรมความเสย่ี งดา้ นการประชุม /อบรม จานวนทงั้ 4 กลุม่ จากการนาเสนอ และมอบหมายใบงานท่ี 2 ดังนี้ กลมุ่ ท่ี 1 และ 2 จดั ทาข้ันตอน/วิธีการ เพอื่ ควบคุมภายในเร่ืองก ารฝึกอบรมในรปู แบบของ Flow chart หรอื Check List กลุ่มท่ี 3 และ 4 จัดทาข้นั ตอน/วธิ ีการ เพื่อควบคมุ ภายในเรอื่ งการประชมุ ในรปู แบบของ Flow chart หรอื Check List กลุ่มละ 30 นาทพี รอ้ มการนาเสนอกลุม่ ละ 10 นาที ดังนี้

๓๐ ขน้ั ตอน/วิธปี ฏบิ ัติเพื่อควบคุมการฝกึ อบรม กอ่ นดาเนนิ การ ระหวา่ งดาเนนิ การ หลงั ดาเนินการ จัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ ลงทะเบยี น ทาแบบประเมินผล จดั ทาโครงการ แจกเอกสาร วสั ดุการฝกึ อบรม รวบรวมเอกสารการเงนิ (ใบสาคญั ต่างๆ) ขออนุมัติโครงการ อานวยความสะดวกแกว่ ทิ ยากรและ ตดิ ตามประเมินผล ผเู้ ข้ารว่ มอบรม ขออนมุ ตั ดิ าเนนิ การ ดาเนินการฝึกอบรม ส่งเอกสารการเงินชดใช้เงินยมื BPM ขอยมื เงนิ กอ่ นเลิกประชุม สรุปผลการอบรม ดาเนนิ การจดั ซอื้ /จดั จา้ ง มอบหมายภารกิจ ประสานกลมุ่ เป้าหมาย วทิ ยากร จ่ายคา่ อาหาร อาหารวา่ ง วทิ ยากร เชิญและแบบตอบรบั คา่ พาหนะ จดั เตรยี มวสั ดุ อุปกรณ์ สถานท่ี จัด ถ่ายรปู ทกุ กระบวนการ อบรม จดั เตรยี มเอกสารฝกึ อบรม (ใบสาคญั ใบลงทะเบียน ใบประเมนิ ฯลฯ) ประสานผรู้ บั จา้ งประกอบอาหาร ประชุมเจา้ หนา้ ที่พฒั นาชมุ ชนท่ี รบั ผดิ ชอบ ขั้นตอน/วธิ ปี ฏิบตั เิ พอ่ื ควบคุมการฝึกอบรม 1 .เขยี นโครงการ รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม 2.ขออนุมัตโิ ครงการฯ/จดั ทาหลกั สูตร/ตารางฝึกอบรม 3. ขออนมุ ัติดาเนินการโครงการฯ/ยืมเงิน 4. จัดหา/จดั ซอ้ื /จดั จ้าง วสั ดฝุ กึ อบรม 5. ทาหนงั สอื ประสานกลุ่มเป้าหมาย/วิทยากร/สถานท่ี/ใบตอบรับ 6. เตรียมเอกสารการเงนิ /ใบลงทะเบียน/ใบสาคญั รับเงนิ 7. จดั เตรียมผู้รบั จา้ งจัดทาอาหารและอาหารว่าง 8. ดาเนนิ การฝกึ อบรม 9. ประเมินผล สรปุ ผล 10. ส่งเอกสารล้างหนเี้ งินยมื (ใบสาคัญรับเงิน/ตรวจสอบเอกสารให้ถูกตอ้ ง)

๓๑ ขั้นตอน/วิธปี ฏิบตั เิ พ่อื ควบคมุ การประชมุ กอ่ นดาเนินการ ระหวา่ งดาเนนิ การ หลงั ดาเนินการ กาหนดกลมุ่ เปา้ หมาย(ใคร จานวน) ลงทะเบี ยน/แจกเอกสารและวาระ ทารายงานการประชมุ ทาวาระการประชมุ /ใบลงทะเบยี น ทาหนงั สอื เชญิ /แบบตอบรับ การประชุม เอกสารประกอบการประชุม ดาเนนิ การตามวาระ ติดตามความก้าวหน้าในประเด็น วัสดุ/อุปกรณ์ เตรยี มสถานท่ี บนั ทกึ การประชุม / รูปภาพ / รวบรวมเอกสารเบิกจ่าย ประสานอาหาร/อาหารว่าง บนั ทกึ ภาพ ก่อนดาเนินการ ระหว่างดาเนนิ การ หลังดาเนนิ การ วางแผน (กาหนดเร่อื ง วันเวลา ลงทะเบยี นผ้เู ขา้ ร่วมประชุม จัดทารายงานการประชมุ สถานที่ กลมุ่ เป้าหมาย แบ่งหน้าท่ี ความรบั ผดิ ชอบ) ดาเนินการประชุมตามระเบี ยบ รวบรวม/ตรจสอบหลกั ฐานเบกิ จา่ ย เตรียมวสั ดุ/อปุ กรณ์ในการประชมุ วาระ/ถ่ายภาพ/บนั ทึกการประชุม เตรียมอาหาร/อาหารวา่ ง(บริการ) เสนอผู้บังคบั บัญชาส่งเบกิ ทาหนังสือเชญิ ประชมุ /วาระการ ประชุม/หลักฐานเบิกจ่าย สรุปมตทิ ่ปี ระชุม ประสานกลุ่มเป้าหมาย/เตรียม สถานท่ี เตรยี มความพร้อม วทิ ยากรสรปุ การป ระชมุ การสอ่ื สารกับท่านประธานในทป่ี ระชุมเปน็ เรือ่ งที่สาคญั มาก ต้องนาเสนอขอ้ มูลใหท้ า่ นประธานทราบกอ่ น โดยเฉพาะเร่อื งเพ่อื พิจารณา เอกสารมีความสาคัญ สนับสนุนการ นาเสนอ กรณีมีเบ้ยี ประชมุ จะมแี บบตอบรับ กรณีไมม่ ีเบยี้ ประชุมจะไม่คอ่ ยเหน็ ในเรื่องแบบตอบรับ การ จัดประชมุ เนือ้ หาเยอะ เอาวาระแทรกเขา้ มา เชน่ เร่ืองอนื่ ๆ โดยมิได้อยู่ในเอกสาร จงึ ทาใหก้ ารประชมุ ยืดเยือ้ สง่ ผลต่ออาหาร ไมไ่ ดจ้ ดั อาหารรองรบั เอาไว้ ผลการเรยี นรู้ ผู้เขา้ อบรมส่วนใหญ่ มีความสนใจในเน้ือหาวิชาเปน็ อยา่ งมาก มคี วามตง้ั ใจในการเรยี นรใู้ นเรอื่ ง การบริหาร ความเสย่ี งดา้ นการเงนิ งบประมาณฯ รวมถึงการออกแบบและจัดทาแผนบริหารความเสยี่ งองคก์ รซ่งึ ทาง หนว่ ยงานของรัฐต้องดาเนนิ การเป็นประจาทุกปงี บประมาณเป็นจานวนมาก และทางวทิ ยากรมีการ ยกตวั อยา่ งเพม่ิ เติมนอกเหนอื จากเน้อื หาการบรรยาย เพอ่ื เปน็ ประโยชน์ตอ่ ผ้เู ขา้ อบรม พรอ้ มยังสาม ารถนาไปปรับ ใชโ้ ดยตรงและเป็นประโยชนต์ ่อการทางาน

๓๒ ๓. แนวคิด/ไอเดีย ทเ่ี ปน็ ขอ้ เสนอในการปรับปรุงพัฒนางาน/ยกระดับการทางาน 1. การสรรหาและคัดเลอื กวทิ ยากร จะต้องมแี บบประวัติ เน้นประสบการณ์ในการบรรยายและดูผลงาน ประกอบ (คณุ วฒุ ิ วยั วุฒิ ทรงคุณวุฒิ ) พรอ้ มจดั ทาฐานขอ้ มู ลทีอ่ พั เดตทกุ ๆปี โดยการสร้างเครอื ข่ายวิทยากร ภาครัฐ เอกชน 2. การกาหนดสภาพแวดลอ้ มท่เี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ จะต้องมกี ารประชุม กาหนดออกแบบกิจกรรมเสรมิ ให้ เออื้ กับสภาพแวดลอ้ มและตอ่ การเรียนรู้ มกี ารหากิจกรรมใหม่ๆเพอ่ื ใหเ้ กิดความแปลกใหม่ มกี ารตรวจสอบส่อื โสตทศั นปู ก รณ์ใหพ้ รอ้ มใชง้ านตลอด มกี ารถา่ ยทอดองค์ความรู้ดา้ นสอื่ โสตใหก้ ับเจ้าหนา้ ท่ีท่ีเกี่ยวขอ้ งโดยการ จดั ทาแผนปฏิบัติการ 3. การประเมินผลโครงการฝกึ อบรม เพ่ือประเมินความสาเรจ็ ของโครงการในภาพรวมและรายวชิ า โดย ตอ้ งให้เวลากับการทาแบบประเมิน มกี ารกระตุน้ /เอ้อื ตอ่ การประเมิน มีเครื่องกลาง/ระบบในการประเมนิ สามารถ โชว์ให้กับผู้เขา้ อบรม 4. การคัดเลอื กและกาหนดผเู้ ข้าอบรม เพ่อื ให้ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมคี ุณสมบตั ิเหมาะสมตรงกบั หลักสตู รโดย ให้กาหนดคณุ สมบตั ขิ องกลุ่มเป้าหมายในการฝกึ อบรม มฐี านข้อมลู /คลังข้อมลู ของกลุ่มองคก์ ร เจ้าหนา้ ทีพ่ ัฒนา ชุมชนในพน้ื ที่ 8 จังหวดั ภาคเหนอื ทถ่ี กู ตอ้ งและเป็นปจั จบุ นั 5. การกาหนดหลักสตู ร เพอ่ื ให้หลกั สตู รสอดคลอ้ งกับนโยบายและสถานการณ์ปจั จุบัน โดยมกี าร ออกแบบวธิ ีการ /กระบวนการ ใหส้ อดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร หา TN กลมุ่ เปา้ หมาย หลักสูตรต้อง สอดคลอ้ งกบั นโยบายและสถานการณย์ ุคปจั จุบนั 6. การกาหนดเทคนิควธิ กี ารฝึกอบรม เพอื่ ใหส้ อดคล้องวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร โดยมกี ารปรบั เปลย่ี น กระบวนการ/วธิ ีการฝึกอบรมภายในศูนย์ มีการใชส้ อ่ื เทคโนโลยีในการฝกึ อบรมทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้

๓๓ ๔. ผลการประเมนิ โครงการ การประเมนิ ผลโครงการฝกึ อบรมหลักสตู รพัฒนากรระหวา่ งประจาการ หลักสตู รการเงนิ การคลัง ประจาปงี บประมาณ พ .ศ. 2563 ผ่าน Google Form ผลการจดั เกบ็ ขอ้ มูล พบวา่ ผเู้ ข้าอบรมทัง้ หมด จานวน 225 คน ตอบแบบประเมิน จานวน 214 คน การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for Window เพือ่ หา ค่าความถี่ ร้อยละ และคา่ เฉลยี่ โดยเกณฑ์การประเมนิ ผล แบ่งออกเป็น ๕ ระดบั คือ มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สดุ โดยมีเกณฑก์ ารแปลค่าคะแนน ดงั น้ี คะแนนเฉลีย่ ๔.๕๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ระดบั ความคดิ เห็น/ความพึงพอใจมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย ๓.๕๑ – ๔.๕๐ หมายถึง ระดับความคิดเห็น/ความพงึ พอใจมาก คะแนนเฉลี่ย ๒.๕๑ – ๓.๕๐ หมายถงึ ระดบั ความคิดเห็น/ความพึงพอใจปานกลาง คะแนนเฉลย่ี ๑.๕๑ – ๒.๕๐ หมายถงึ ระดบั ความคดิ เห็น/ความพึงพอใจนอ้ ย คะแนนเฉลยี่ ๑.๐๐ – ๑.๕๐ หมายถึง ระดับความคิดเหน็ /ความพึงพอใจน้อยทีส่ ุด สว่ นที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป เพศ ชาย ๒๗.๕ % หญิง ชาย หญิง ๗๒.๔ % เพศชาย จานวน 59 คน (ร้อยละ 27.57) เพศหญงิ จานวน 155 คน (รอ้ ยละ 72.43) อายเุ ฉล่ีย 43 ปี การศกึ ษา ตา่ กวา่ ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 0.47 ปรญิ ญาโท ร้อยละ 57 ปรญิ ญาตรี รอ้ ยละ 42.05 ปริญญาเอก ร้อยละ 0.47 ผตู้ อบแบบประเมนิ แสดงความคดิ เห็นเกยี่ วกั บความรคู้ วามเข้าใจดา้ นวชิ าการ การนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ความพงึ พอใจตอ่ การบริหารโครงการ และใหข้ ้อเสนอแนะเพ่มิ เติมท่เี ปน็ ประโยชน์ต่อการปรับปรุง หลักสตู รดังน้ี

๓๔ ส่วนท่ี ๒ ความคดิ เห็นต่อโครงการ ๒.1 การบรรลวุ ัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ระดับการบรรลุวัตถุประสงค์ การแปร ผล 1. ให้ผเู้ ข้ารบั การฝกึ อบรมมีความรคู้ วาม มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด คา่ เฉลีย่ เขา้ ใจในระเบียบการจัดซอ้ื จัดจ้าง การ ๔.16 มาก ตรวจสอบฯ TOR ได้แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละ 65 120 28 1 0 เขา้ ใจในการบริหารความเส่ยี งดา้ นเงิน (30.4%) งบประมาณและองค์กร (56.1%) (13.1%) (0.5%) (0.0%) ภาพรวม 4.16 มาก จากตารางท่ี 2.1 พบวา่ ผ้เู ขา้ รบั การฝึกอบรม แสดงความคดิ เห็นตอ่ การบรรลุวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร จากผู้ตอบ แบบสอบถามจานวน 214 คน โดยประเดน็ ใหผ้ เู้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ความเข้าใจในระเบียบการจั ดซ้อื จดั จา้ ง การตรวจสอบฯ TOR ได้แลกเปลย่ี นเรียนรแู้ ละเข้าใจในการบรหิ ารความเสย่ี งด้านเงินงบประมาณและองค์กร มรี ะดับการบรรลวุ ัตถุประสงค์ในระดับมาก ค่าเฉลย่ี ๔.16 ๒.๒ ความรูค้ วามเขา้ ใจและทกั ษะทางวิชาการ ๒.๒.๑ ความรคู้ วามเข้าใจและทกั ษะ (ก่อนการฝกึ อบรม) หวั ขอ้ วิชา มากทส่ี ดุ ระดับความรู้ความเข้าใจ นอ้ ยท่ีสดุ ค่าเฉลีย่ การแปล 3.16 ผล ๑.ระเบยี บขอ้ บงั คับในการจัดซอ้ื จดั จา้ งภาครัฐฯ 20 มาก ปานกลาง น้อย 6 3.04 (9.3%) (2.8%) 3.13 ปานกลาง ๒.การตรวจสอบกลนั่ กรอง ขอบเขตของงานร่าง 45 105 38 3.09 TOR 17 (21.0%) (49.1%) (17.8%) 12 3.09 ปานกลาง 3.แลกเปลีย่ นเรียนรู้ รูปแบบการจดั ซ้ือจดั จ้าง (7.9%) (5.6%) ภาครัฐฯ 42 99 44 3.10 ปานกลาง 4.การบรหิ ารความเสีย่ งด้านเงนิ งบประมาณ 17 (19.6%) (46.3%) (20.6%) 6 (7.9%) (2.8%) ปานกลาง 5.ออกแบบการบริหารความเสยี่ งองค์กร 45 106 40 18 (21.0%) (49.5%) (18.7%) 5 ปานกลาง (8.4%) (2.3%) 41 102 48 ปานกลาง 15 (19.2%) (47.7%) (22.4%) 6 (7.0%) (2.8%) 46 101 45 (21.5%) (47.2%) (21.0%) ภาพรวม

๓๕ จากตารางที่ ๒.๒.๑ พบว่า กอ่ นเข้ารว่ มโครงการ ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมมคี วามร้คู วามเข้าใจดา้ นวชิ าการในภาพ รวมอยใู่ นระดบั ปานกลาง ค่าเฉล่ีย ๓.10 และเม่ือพิจารณารายวิชาพบว่า ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมมีความรูค้ วามเข้าใจในหัวข้อวชิ า ดงั นี้ ๑. ระเบยี บข้อบังคับในการจัดซอื้ จดั จา้ งภาครฐั ฯ ระดบั ปานกลาง ค่าเฉล่ยี 3.16 ๒. การตรวจสอบกล่ันกรอง ขอบเขตของงานร่าง TOR ระดับปานกลาง คา่ เฉลย่ี 3.04 3. แลกเปล่ียนเรียนรู้ รปู แบบการจัดซือ้ จัดจา้ งภาครัฐฯ ระดบั ปานกลาง ค่าเฉลย่ี 3.13 4. การบริหารความเส่ยี งด้านเงินงบประมาณ ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.09 5. ออกแบบการบรหิ ารความเสีย่ งองค์กร ระดบั ปานกลาง คา่ เฉลย่ี 3.09 ๒.๒.๒ ความรู้ความเข้าใจและทักษะ (หลงั การฝึกอบรม) หัวข้อวิชา มากทส่ี ดุ ระดบั ความร้คู วามเขา้ ใจ นอ้ ยท่สี ุด ค่าเฉลี่ย การ มาก ปานกลาง น้อย แปลผล ๑.ระเบียบข้อบังคับในการจัดซอื้ จัดจ้าง ภาครัฐฯ 53 137 23 1 0 4.13 มาก ๒.การตรวจสอบกล่ันกรอง ขอบเขตของงาน ร่าง TOR (24.8%) (64.0%) (10.7%) (0.5%) (0.00%) 3.แลกเปลีย่ นเรียนรู้ รูปแบบการจดั ซอ้ื จดั จา้ งภาครัฐฯ 51 132 29 1 1 4.08 มาก 4.การบริหารความเส่ยี งด้านเงนิ งบประมาณ (23.8%) (61.7%) (13.6%) (0.5%) (0.5%) 5.ออกแบบการบรหิ ารความเส่ยี งองค์กร 55 134 24 1 0 4.14 มาก (25.7%) (62.6%) (11.2%) (0.5%) (๐.00%) 67 126 21 0 0 4.21 มาก (31.3%) (58.5%) (9.8%) (0.00%) (0.00%) 62 133 19 0 0 4.20 มาก (29.0%) (62.1%) (8.9%) (0.00%) (0.00%) ภาพรวม 4.15 มาก จากตารางที่ ๒.๒.2 พบวา่ หลงั เข้าร่วมโครงการ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมคี วามรู้ความเขา้ ใ จด้านวิชาการในภาพรวมอยใู่ นระดับมาก คา่ เฉล่ีย ๔.15 และเมอื่ พจิ ารณารายวิชาพบว่า ผู้เขา้ รับการฝึกอบรมมคี วามรูค้ วามเข้าใจในหัวข้อวิชา ดงั นี้ ๑.ระเบียบขอ้ บงั คบั ในการจดั ซื้อ จัดจา้ งภาครัฐฯ ระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.13 ๒.การตรวจสอบกลน่ั กรอง ขอบเขตของงานรา่ ง TOR ระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.08 3.แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ รูปแบบการจดั ซ้ือจัดจ้างภาครฐั ฯ ระดับมาก คา่ เฉล่ยี 4.14 4.การบรหิ ารความเส่ยี งด้านเงินงบประมาณ ระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.21 5.ออกแบบการบรหิ ารความเสย่ี งองคก์ ร ระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.20

๓๖ 2.3 ประโยชน์ของหัวข้อวิชาต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัตงิ าน หวั ขอ้ วิชา ระดบั ความคดิ เห็น ค่าเฉล่ีย การแปล ผล ๑.ระเบียบขอ้ บังคับในการจัดซ้ือ จดั จ้างภาครัฐฯ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทส่ี ดุ 4.30 มาก 4.27 ๒.การตรวจสอบกลั่นกรอง ขอบเขตของงานรา่ ง 84 112 17 1 0 4.27 มาก TOR (39.3%) (0.00%) 4.36 3.แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปแบบการจดั ซอ้ื จัดจา้ ง (52.3%) (7.9%) (0.5%) 4.31 มาก ภาครัฐฯ 77 0 4.การบริหารความเสี่ยงด้านเงนิ งบประมาณ (36.0%) 118 18 1 (0.00%) 4.31 มาก 5.ออกแบบการบริหารความเสีย่ งองคก์ ร 79 (55.1%) (8.4%) (0.5%) 0 มาก (36.9%) (๐.00%) 116 18 1 มาก 94 0 (43.9%) (54.2%) (8.4%) (0.5%) (0.00%) 84 105 15 0 0 (39.3%) (0.00%) (49.1%) (7.0%) (0.00%) 110 18 0 (51.4%) (8.4%) (0.00%) ภาพรวม จากตารางที่ ๒.3 พบวา่ ผ้เู ข้ารบั การอบรมแสดงความคดิ เห็นต่อประโยชน์ของหัวข้อวชิ าต่อการนา ความรู้ไปปรบั ใช้ใน การปฏบิ ัติงานโดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก ค่าเฉลย่ี ๔.31 และเมอ่ื พจิ ารณารายวชิ าผู้เข้ารบั การอบรมแสดง ระดบั ความคิดเห็นต่อประโยชน์ของหัวข้อวชิ าตอ่ การนาความร้ไู ปปรับใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ในแตล่ ะหัวขอ้ วชิ า ดังนี้ ๑.ระเบยี บขอ้ บงั คบั ในการจดั ซ้อื จดั จ้างภาครัฐฯ ระดบั มาก คา่ เฉลยี่ 4.30 ๒.การตรวจสอบกล่นั กรอง ขอบเขตของงานร่าง TOR ระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.27 3.แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ รปู แบบการจดั ซือ้ จดั จา้ งภาครฐั ฯ ระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 4.27 4.การบริหารความเสยี่ งดา้ นเงินงบประมาณ ระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.36 5.ออกแบบการบรหิ ารความเสีย่ งองค์กร ระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.31 2.4 ความพึงพอใจตอ่ กจิ กรรมเสริมหลกั สูตร หัวขอ้ วิชา ระดับความคิดเหน็ ค่าเฉลย่ี การ แปลผล ๑.กจิ กรรมกฬี าสมั พันธ์พัฒนากร มากทีส่ ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทีส่ ดุ 4.20 ๒.กิจกรรมออกกาลงั กายสบายชวี ี 4.09 มาก 3.กจิ กรรมสานสมั พนั ธ์ 73 114 26 0 1 4.18 (34.1%) (0.5%) มาก (53.3%) (12.1%) (0.0%) 4.16 60 0 มาก (28.0%) 117 35 2 (0.00%) มาก 67 (54.7%) (16.4%) (0.9%) 0 (31.3%) (๐.00%) 119 25 2 (55.6%) (11.7%) (0.9%) ภาพรวม

๓๗ จากตารางท่ี ๒.4 พบว่า ผู้เข้ารบั กา รอบรมแสดงความคดิ เห็นตอ่ กิจกรรมเสรมิ หลักสูตร โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก คา่ เฉล่ยี ๔.16 และเมื่อพจิ ารณารายวชิ าผเู้ ขา้ รับการอบรมแสดงระดบั ความคดิ เหน็ ตอ่ ความพึงพอใจในกิจกรรม เสริมหลักสตู ร ในแตล่ ะหัวข้อวิชา ดงั นี้ ๑.กิจกรรมกีฬาสัมพันธพ์ ัฒนากร ระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 4.20 ๒.กจิ กรรมออกกาลงั กายสบายชวี ี ระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.09 3.กิจกรรมสานสัมพนั ธ์ ระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.18 ๒.5 ความพงึ พอใจต่อภาพรวมของโครงการ หวั ขอ้ มากที่สดุ ระดับความพงึ พอใจ ค่าเฉลยี่ การแปล มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทีส่ ุด 4.40 ผล 4.34 มาก ๑.ดา้ นวิทยากร 96 108 10 0 0 4.42 ๑.๑ ความรู้ ความสามารถในการ (44.9%) (50.5%) (4.7%) (๐.0๐%) (๐.00%) 4.31 มาก ถา่ ยทอด/บรรยาย 4.53 มาก 4.52 มาก ๑.๒ เทคนคิ และวิธีการที่ใช้ใน 88 112 13 10 4.38 (52.3%) (6.1%) (๐.5%) (๐.00%) 4.21 มากทส่ี ดุ การถา่ ยทอดความรู้ (41.1%) 4.46 มากทส่ี ุด 104 10 00 4.46 ๑.๓ การเปดิ โอกาสใหซ้ ักถาม 100 (48.6%) (4.7%) (๐.0๐%) (๐.๐๐%) 4.14 มาก แสดงความคิดเห็น (46.7%) มาก 115 15 10 มาก 1.4 การสรา้ งบรรยากาศการ 83 (53.7%) (7.0%) (๐.5%) (๐.๐๐%) มาก เรียนรู้ (38.8%) มาก ๒.ด้านเจ้าหนา้ ท่ี ที่ให้บริการ 123 82 9 00 ๒.๑ กริ ิยามารยาท การแต่งกาย (57.5%) เหมาะสม (38.3%) (4.2%) (๐.0๐%) (๐.0๐%) ๒.๒ เจ้าหนา้ ทก่ี ระตือรอื รน้ เตม็ ใจ 122 82 10 0 0 (38.3%) (4.7%) (๐.0๐%) (๐.๐๐%) ใหบ้ รกิ าร (57.0%) ๓.ด้านสถานท่ีและสิ่งอานวยความ 102 92 18 1 0 สะดวก (47.7%) (43.0%) (8.4%) (0.5%) (๐.0๐%) ๓.๑ สญั ญาณ wifi ในหอ้ งอบรม ๓.๒ สัญญาณ wifi ในห้องพกั 88 85 34 5๐ (39.7%) (15.9%) (2.3%) (๐.๐๐%) (41.1%) 90 12 00 ๓.๓ โสตทัศนูปกรณ์เหมาะสม 112 (42.1%) (5.6%) (๐.00%) (0.0๐%) (52.3%) 3.4 หอ้ งฝกึ อบรม หอ้ งพกั 109 93 11 0 0 ห้องนา้ โรงอาหารและโดยรอบ (50.9%) (43.5%) (5.1%) (0.0%) (0.0%) มคี วามสะอาด 3.5 อาหาร อาหารว่าง เครื่องด่ืม 78 96 35 3 2 (44.9%) (16.4%) (1.4%) (0.9%) มีคณุ ภาพเหมาะสม (36.4%)

๓๘ ๓.6 ขนาดห้องอบรม มีความ 109 87 18 0 0 4.42 มาก เหมาะสมกับจานวนผูเ้ ขา้ อบรม (50.9%) (40.7%) (8.4%) (0.0%) (0.0%) ๓.7 หอ้ งอาหารมคี วามเหมาะสม 108 92 13 0 0 4.44 มาก ถูกสุขลักษณะ (50.5%) (43.0%) (6.1%) (0.0%) (0.0%) 3.8 ห้องพกั มคี วามเหมาะสม 104 88 19 3 0 4.37 มาก (48.6%) (41.1%) (8.9%) (1.4%) (0.0%) 3.9 หอ้ งน้าอาคารฝกึ อบรมมคี วาม 107 91 15 1 0 4.42 มาก สะอาด (50.0%) (42.5%) (7.0%) (0.5%) (๐.0%) ภาพรวม 4.39 มาก จากตารางที่ ๒.5 พบวา่ ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมมีความพึงพอใจภาพรวมของโครงการอย่ใู นระดับมาก คา่ เฉล่ีย ๔.39 โดย สามารถจาแนกเป็นรายประเด็นได้ดงั นี้ ๑. ดา้ นวิทยากร โดยเรียงลาดบั ตามระดับความพงึ พอใจไดด้ ังน้ี 1.1 ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย พึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉล่ยี ๔.40 ๑.2 เทคนคิ และวธิ ีการท่ีใช้ในการถ่ายทอดความรู้ พงึ พอใจในระดับมาก คา่ เฉลี่ย ๔.34 ๑.3 การเปดิ โอกาสให้ซักถามแสดงความคดิ เหน็ พึงพอใจในระดับมาก คา่ เฉล่ีย ๔.42 ๑.4 การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ พงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย ๔.31 ๒. ด้านเจา้ หน้าท่ี ที่ใหบ้ ริการ โดยเรียงลาดับตามระดบั ความพงึ พอใจไดด้ งั น้ี ๒.1 กิรยิ ามารยาท การแต่งกายเหมาะสม พงึ พอใจในระดบั มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ยี ๔.53 ๒.2 เจา้ หนา้ ทก่ี ระตอื รอื ร้นเตม็ ใจใหบ้ รกิ าร พึงพอใจในระดบั มากทีส่ ุด คา่ เฉลี่ย ๔.52 ๓. ดา้ นสถานที่และสิ่งอานวยความสะดวก โดยเรียงลาดับตามระดบั ความพึงพอใจไดด้ ังนี้ ๓.1 สัญญาณ wifi ในห้องอบรม พึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉล่ยี ๔.38 ๓.2 สญั ญาณ wifi ในหอ้ งพกั พึงพอใจในระดบั มาก คา่ เฉล่ีย ๔.21 ๓.3 โสตทศั นูปกรณ์เหมาะสม พึงพอใจในระดับมาก คา่ เฉลีย่ ๔.46 ๓.4 ห้องฝกึ อบรม หอ้ งพกั หอ้ งน้า โรงอาหารและโดยรอบ มีความสะอาด พงึ พอใจในระดบั มาก คา่ เฉลยี่ 4.46 ๓.5 อาหาร อาหารว่าง เคร่อื งด่ืม มคี ณุ ภาพเหมาะสม พึงพอใจในระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.14 3.6 ขนาดหอ้ งอบรม มคี วามเหมาะสมกบั จานวนผ้เู ข้าอบรม พงึ พอใจในระดับมาก คา่ เฉลี่ย 4.42 3.7 หอ้ งอาหารมคี วามเหมาะสม ถูกสุขลกั ษณะ พงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.44 3.8 หอ้ งพัก มคี วามเหมาะสม พงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.37 3.9 หอ้ งนา้ อาคารฝึกอบรมมคี วามสะอาด พงึ พอใจในระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 4.42

๓๙ 2.6 ด้านคณุ ภาพ หวั ขอ้ ระดบั ความคดิ เห็น ค่าเฉลย่ี การแปล 4.32 ผล ๑.ความสอดคล้องของเน้อื หา มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด 4.41 มาก หลักสูตรกบั ความตอ้ งการ 4.40 ๒.เนอ้ื หาหลกั สูตรเป็นปัจจุบันทัน 70 109 10 0 0 4.44 มาก ตอ่ การเปล่ียนแปลง (37.00%) (0.00%) 3.ความรูท้ ่ไี ดร้ ับสามารถนาไปปรบั (57.70%) (5.30%) (0.00%) มาก ใชใ้ นการปฏบิ ัตงิ านได้ 76 0 4.ความคมุ้ คา่ ของการฝึกอบรม (40.20%) 101 12 0 (0.00%) มาก 76 (53.40%) (6.30%) (0.00%) 1 (40.20%) (0.50%) 100 12 0 78 1 (41.30%) (52.90%) (6.30%) (0.00%) (0.50%) 100 10 0 (52.90%) (5.30%) (0.00%) ภาพรวม 4.39 มาก จากตารางท่ี ๒.6 พบว่า ผเู้ ข้ารบั การฝึกอบรมแสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั คณุ ภาพของการฝกึ อบรม โดยในภาพรวมอย่ใู น ระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 4.39 และเมอ่ื พจิ ารณารายประเด็น ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรมมีระดับความคดิ เหน็ ในแตล่ ะหัวขอ้ ตามลาดับ ดังนี้ 1. ความสอดคลอ้ งของเนือ้ หาหลกั สูตรกบั ความต้องการ ในระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.32 2. เนือ้ หาหลกั สตู รเป็นปจั จบุ นั ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง ในระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 4.41 3. ความรู้ทีไ่ ด้รบั สามารถนาไปปรบั ใช้ในการปฏิบตั ิงานได้ ในระดับมาก ค่าเฉลย่ี 4.40 4. ความคุ้มค่าของการฝึกอบรม ในระดับมาก ค่าเฉล่ยี 4.44 7. ขอคิดเหน็ /ขอเสนอแนะของผู้ฝกอบรม 7.1 ควรให้พฒั นากรทุกคนได้มาอบรมหลักสตู รการเงิน การคลัง 7..2 เล่มคูม่ ือเอกสารอบรมหลกั สูตรการเงิน การคลงั ควเรนมื้อี หาพรบ. และระเบยี บท่ีตรงกับเนอ้ื หาวิทยากรบรรยาย 7.3 ลดระยะเวลาการระดมสมอง การแบง่ กลมุ่ การนาเสนอ และเพิ่มการบรรยายจากวิทยากรท่ีมีความรู้ ความสามารถ/เชี่ยวชาญในเรือ่ งน้นั ๆ เนน้ การถา่ ยทอดความรทู้ จ่ี ะนาไปปรบั ใช้ในพน้ื ท่ี 7.4 ควรเพ่มิ การลงมือปฏิบตั เิ พอื่ ใหด้เกคิ วามเข้าใจและชดั เจนมากยิ่งขนึ้ เกชา่นรร่าง TOR ขนั้ ตอนการบนั ทกึ ระบบ การจดั ซอ้ื จัดจ้างภาครัฐ ฯลฯ 7.5 ควรมีการพาไปศกึ ษาดูงานนอกสถานที่เพอ่ื เปน็ การเรยี นรจู้ ากตัวอยา่ งและสามารถถอดบทเรียนนามา ประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสมกับพ้ืนท่ี

๔๐ สรุปประเมินรายวิชา/วทิ ยากร โครงการฝึกอบรมหลกั สูตรพัฒนากรระหว่างประจาการ หลกั สตู รการเงิน การคลัง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศูนยศ์ กึ ษาและพัฒนาชุมชนลาปาง ดาเนินการ ฝึกอบรม โครงการ ฝกึ อบรมหลักสตู รพฒั นากร ระหวา่ งประจาการ หลกั สูตรการเงนิ การคลัง ประจาปงี บประมาณ พ .ศ. 2563 วัตถปุ ระสงค์ เสริมสร้างองค์ ความรู้ และเพ่มิ พนู ทักษะสาหรับพัฒนากร ใหส้ ามารถดาเนินการจดั ซ้อื จดั จ้างภาครฐั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รวมถึงข้อพงึ ระวงั ทีเ่ กย่ี วข้องในการปฏิบตั งิ าน จานวน 3 รุน่ ระหวา่ งวนั ท่ี ระหวา่ งวนั ท่ี 12-13, 19-20 และ วันท่ี 26-27 ธนั วาคม 2562 กลุ่มเปา้ หมายไดแ้ ก่ พัฒนากรระหวา่ งประจาการ ในพนื้ ที่ ๘ จงั หวัดภาคเหนอื ตอนบน จานวน 225 คน วิชา 1. วิชาระเบียบ ข้อบังคับ ในการจดั ซื้อ จัดจา้ งภาครัฐ ท่พี ัฒนากรควรรู้ วิทยากร นายวีรพล เทพานนท์ ตาแหนง่ นกั วิชาการคลังชานาญการ สว่ นท่ี ๑ ความคิดเห็นเกย่ี วกบั เนื้อหาวชิ า หวั ข้อวชิ า ระดบั ความคดิ เห็น ค่าเฉลีย่ การแปล 4.22 ผล ๑.การบรรลุวัตถุประสงค์ของรายวชิ า มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ุด 4.35 มาก ๒.ความชัดเจนของเน้อื หาวชิ า 4.28 ๓.ความรู้ ทกั ษะ ทไ่ี ดร้ บั เพมิ่ เตมิ จากวชิ าน้ี 54 98 17 0 0 4.25 มาก ๔.ความสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ (32.0%) (58.0%) (10.1%) (0.00%) (0.00%) 4.27 มาก 73 82 14 0 0 (43.2%) (48.5%) (8.3%) (0.00%) (0.00%) มาก มาก 63 90 16 0 0 (37.3%) (53.3%) (9.5%) (0.00%) (0.00%) 61 89 19 0 0 (36.1%) (52.7%) (11.2%) (0.00%) (0.00%) ภาพรวม จากตารางที่ ๑ ผูต้ อบแบบประเมนิ จานวน 169 คน แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกบั เนอื้ หา วิชา ระเบยี บข้อบงั คับในการ จัดซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครัฐฯ โดยภาพรวมอย่ใู นระดบั มาก คา่ เฉล่ยี 4.27 แยกเปน็ รายประเด็น ดงั น้ี ๑. การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องรายวิชา ระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 4.22 ๒. ความชดั เจนของเนอ้ื หาวชิ า ระดับมาก คา่ เฉล่ีย 4.35 ๓. ความรู้ ทกั ษะ ทีไ่ ด้รบั เพิม่ เติมจากวชิ านี้ ระดับมาก คา่ เฉลยี่ 4.28 ๔. ความสามารถนาไปประยุกตใ์ ช้ ระดับมาก คา่ เฉล่ยี 4.25

๔๑ สว่ นท่ี ๒ ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร หัวขอ้ วิชา ระดับความพงึ พอใจ ค่าเฉล่ยี การ 4.48 แปลผล ๑.ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทส่ี ุด 4.34 มาก ๒.เทคนคิ และวิธีการท่ีใช้ในการถ่ายทอดความรู้ 4.44 89 72 8 0 0 4.21 มาก ๓.การเปิดโอกาสให้ซักถาม แสดงความคดิ เห็น (52.7%) (42.6%) (4.7%) (0.00%) (0.00%) 4.47 ๔.การสรา้ งบรรยากาศในการเรยี นรู้ มาก ๕.บุคลิกภาพ (การแตง่ กาย ทา่ ทาง น้าเสยี ง ฯลฯ) 73 82 13 1 0 4.39 (43.2%) (48.5%) (7.7%) (0.6%) (0.0%) มาก มาก 85 74 9 1 0 (50.3%) (43.8%) (5.3%) (0.6%) (0.0%) มาก 60 86 22 1 0 (35.5%) (50.9%) (13.0%) (0.6%) (0.0%) 91 67 10 1 0 (53.8%) (39.6%) (5.9%) (0.6%) (0.0%) ภาพรวม จากตารางที่ 2 ผ้ตู อบแบบประเมิน จานวน 169 คน แสดงความพึงพอใจในวชิ า ระเบยี บข้อบังคับในการจดั ซอื้ จัดจ้าง และการบรหิ ารพสั ดุภาครฐั ฯ โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ีย 4.39 แยกเป็นรายประเด็น ดงั น้ี ๑. ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย ระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.48 ๒. เทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในการถา่ ยทอดความรู้ ระดบั มาก ค่าเฉลย่ี 4.34 ๓. การเปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม แสดงความคดิ เห็น ระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.44 ๔. การสรา้ งบรรยากาศในการเรียนรู้ ระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.21 ๕. บุคลกิ ภาพ (การแตง่ กาย ท่าทาง น้าเสยี ง ฯลฯ) ระดบั มาก ค่าเฉลี่ย 4.47 สิ่งที่ผเู้ ขา้ อบรมประทบั ใจในวทิ ยากรทา่ นน้ี คอื - ความรคู้ วามสามารถดมี าก ความรแู้ นน่ ให้ข้อมูลไดล้ ะเอยี ด - การถา่ ยทอดความรชู้ ัดเจน ตอบคาถามไดด้ ี มีความเช่ียวชาญในเร่อื งที่เป็นวทิ ยากร - นาเรื่องจดั ซ้ือจดั จา้ งที่พัฒนากรไดป้ ฏิบตั จิ ริงมาถ่ายทอด ทาใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยขึน้ - วทิ ยากรความรูด้ เี หมาะเป็นท่ปี รกึ ษาใหพ้ ัฒนาชุมชน แมน่ ในเรื่องระเบียบ กฎหมาย และแนวปฏิบตั ิที่ชดั เจน - มคี วามรู้ มีประสบการณ์ มคี วามร้คู วามเชี่ยวชาญ - เนื้อหา เขา้ ใจ ชดั เจน อธิบายเห็นภาพไดด้ ี สง่ิ ท่ีวทิ ยากรควรปรบั ปรุง คือ - น้าเสียงราบเรียบ นม่ิ เกนิ - เอกสารประกอบยังดสู ับสน - ควรมกี ารเพิ่มโจทย์ใหฝ้ กึ ปฏบิ ัติแลว้ นาเสนอแต่ละกล่มุ สรุปจบท้ายวทิ ยากรมาสรปุ ว่าแตล่ ะกลุ่มทาผิด หรือถูกอยา่ งไร

๔๒ ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ อ่นื ๆ - ควรขยายเวลาอบรมมากกวา่ นเ้ี พราะเน้ือหาเยอะ - ครงั้ ต่อไปขอให้วิทยากรมาใหข้ อ้ มูลอีก วิชา 2. การตรวจสอบ กลัน่ กรอง ขอบเขตของงานรา่ ง TOR วิทยากร นายวีรพล เทพานนท์ ตาแหนง่ นกั วิชาการคลังชานาญการ สว่ นท่ี ๑ ความคิดเห็นเก่ยี วกับเนื้อหาวิชา หัวขอ้ วชิ า ระดับความคิดเห็น คา่ เฉลีย่ การแปล 4.18 ผล ๑.การบรรลุวัตถุประสงค์ของรายวชิ า มากทสี่ ดุ มาก ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ุด 4.23 มาก ๒.ความชดั เจนของเนอื้ หาวชิ า 4.25 ๓.ความรู้ ทักษะ ที่ได้รับเพ่มิ เตมิ จากวชิ านี้ 51 98 20 0 0 4.20 มาก ๔.ความสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ (30.2%) (58.0%) (11.8%) (0.00%) (0.00%) มาก 56 96 17 0 0 (33.1%) (56.8%) (10.1%) (0.00%) (0.00%) มาก 60 91 18 0 0 (35.5%) (53.8%) (10.7%) (0.00%) (0.00%) 52 101 14 2 0 (30.8%) (0.00%) (59.8%) (8.3%) (1.2%) ภาพรวม 4.22 มาก จากตารางท่ี ๑ ผ้ตู อบแบบประเมิน จานวน 169 คน แสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกับเน้อื หา วชิ า การตรวจสอบ กลน่ั กรอง ขอบเขตของงานรา่ ง TOR โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.22 แยกเป็นรายประเด็น ดังนี้ ๑.การบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ของรายวิชา ระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 4.18 ๒.ความชดั เจนของเน้ือหาวชิ า ระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.23 ๓.ความรู้ ทักษะ ท่ีได้รบั เพ่ิมเติมจากวิชานี้ ระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 4.25 ๔.ความสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ ระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.20 สว่ นที่ ๒ ความพงึ พอใจต่อวิทยากร หัวข้อวชิ า ระดบั ความพงึ พอใจ คา่ เฉลย่ี การแปล ผล มากที่สุด มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยทสี่ ดุ ๑.ความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย 78 83 8 0 0 4.41 มาก (46.2%) (49.1%) (4.7%) (0.00%) (0.00%) ๒.เทคนคิ และวธิ กี ารท่ีใชใ้ นการถา่ ยทอดความรู้ 72 85 12 0 0 4.36 มาก (42.6%) (50.3%) (7.1%) (0.00%) (0.00%)

๔๓ ๓.การเปิดโอกาสให้ซกั ถาม แสดงความคดิ เห็น 80 77 11 1 0 4.40 มาก ๔.การสร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ (47.3%) (45.6%) (6.5%) (0.6%) (0.00%) 4.27 มาก ๕.บุคลกิ ภาพ (การแตง่ กาย ท่าทาง น้าเสียง ฯลฯ) 4.44 มาก 65 85 18 1 0 มาก (38.5%) (50.3%) (10.7%) (0.6%) (0.0%) 83 79 6 1 0 (49.1%) (46.7%) (3.6%) (0.6%) (0.0%) ภาพรวม 4.38 จากตารางที่ 2 ผตู้ อบแบบประเมนิ จานวน 169 คน แสดงความพึงพอใจในวชิ า การตรวจสอบ กล่นั กรอง ขอบเขตของ งานรา่ ง TOR โดยภาพรวมอยใู่ นระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.38 แยกเปน็ รายประเดน็ ดงั นี้ ๑.ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย ระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.41 ๒.เทคนิคและวิธีการทีใ่ ชใ้ นการถา่ ยทอดความรู้ ระดบั มาก ค่าเฉลีย่ 4.36 ๓.การเปิดโอกาสให้ซกั ถาม แสดงความคดิ เหน็ ระดบั มาก คา่ เฉลี่ย 4.40 ๔.การสร้างบรรยากาศในการเรยี นรู้ ระดับมาก ค่าเฉลยี่ 4.27 ๕.บคุ ลกิ ภาพ (การแต่งกาย ทา่ ทาง น้าเสยี ง ฯลฯ) ระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.44 สง่ิ ท่ีผเู้ ขา้ อบรมประทับใจในวิทยากรท่านนี้ คือ -การถ่ายทอดความรชู้ ัดเจนมาก รายละเอียดดี -นาเสนอไดด้ ีมาก บรรยายเขา้ ใจงา่ ย -มปี ระสบการณ์ -น้าเสยี งนา่ ฟัง -มีความรู้ ความตงั้ ใจบรรยาย สงิ่ ทว่ี ิทยากรควรปรบั ปรงุ คอื -ควรยกกรณศี กึ ษามาเลา่ -ให้ยกตัวอยา่ งการปฏบิ ัติงานจรงิ ของพฒั นาชมุ ชน ขอ้ เสนอแนะเพ่ิมเตมิ อน่ื ๆ - ควรขยายเวลาอบรม เนอ้ื หาเยอะ - ควรเชญิ ทา่ นมาใหค้ วามรู้อกี - พฒั นากรบางท่านยังไม่เคยสัมผสั TORเปน็ การยากทีจ่ ะฟงั แลว้ เขา้ ใจ

๔๔ วชิ า 3. แลกเปลย่ี นเรียนรรู้ ปู แบบการจัดซ้อื จัดจา้ งภาครัฐ (แบบวิธีเฉพาะเจาะจง/คดั เลือก/ วิธปี ระกวดราคาอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Bidding) วทิ ยากร นายวีรพล เทพานนท์ ตาแหน่ง นักวชิ าการคลังชานาญการ ส่วนที่ ๑ ความคดิ เห็นเกี่ยวกับเนอื้ หาวิชา หัวขอ้ วชิ า มากทีส่ ุด ระดับความคดิ เหน็ น้อยที่สดุ ค่าเฉลีย่ การแปล 4.25 ผล ๑.การบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของรายวิชา 56 มาก ปานกลาง นอ้ ย 0 4.30 มาก ๒.ความชดั เจนของเนือ้ หาวิชา (33.1%) (0.00%) 4.31 ๓.ความรู้ ทักษะ ท่ไี ดร้ บั เพมิ่ เตมิ จากวิชานี้ 99 14 0 4.27 มาก ๔.ความสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ 64 (58.6%) (8.3%) (0.00%) 0 (37.9%) (0.00%) มาก 91 14 0 65 (53.8%) (8.3%) (0.00%) 0 มาก (38.5%) (0.00%) 92 12 0 61 (54.4%) (7.1%) (0.00%) 0 (36.1%) (0.00%) 94 12 2 (55.6%) (7.1%) (1.2%) ภาพรวม 4.28 มาก จากตารางท่ี ๑ ผตู้ อบแบบประเมิน จานวน 169 คน แสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับเนื้อหา วชิ า แลกเปล่ยี นเรียนรูร้ ูปแบบ การจัดซ้ือจดั จา้ ง ภาครัฐ (แบบวิธีเฉพาะเจาะจง /คัดเลือก /วธิ ีประกวดราคาอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Bidding) โดย ภาพรวมอยใู่ นระดับ มาก คา่ เฉลี่ย 4.28 แยกเปน็ รายประเดน็ ดังนี้ ๑.การบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของรายวชิ า ระดบั มาก คา่ เฉล่ยี 4.25 ๒.ความชัดเจนของเน้อื หาวิชา ระดบั มาก คา่ เฉล่ยี 4.30 ๓.ความรู้ ทักษะ ทีไ่ ดร้ ับเพม่ิ เตมิ จากวชิ านี้ ระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.31 ๔.ความสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ระดบั มาก ค่าเฉลยี่ 4.27 สว่ นที่ ๒ ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร หัวข้อวชิ า ระดบั ความพึงพอใจ คา่ เฉล่ีย การ 4.50 แปลผล ๑.ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย มากทส่ี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีส่ ุด 4.38 มาก ๒.เทคนิคและวิธกี ารทใ่ี ช้ในการถา่ ยทอดความรู้ 4.43 ๓.การเปิดโอกาสใหซ้ ักถาม แสดงความคิดเห็น 90 73 6 0 0 4.27 มาก ๔.การสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ (53.3%) (43.2%) (3.6%) (0.0%) (0.00%) มาก 77 80 12 0 0 (45.6%) (47.3%) (7.1%) (0.0%) (0.00%) มาก 84 74 10 1 0 (49.7%) (43.8%) (5.9%) (0.6%) (0.00%) 65 85 18 1 0 (38.5%) (50.3%) (10.7%) (0.6%) (0.0%)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook