Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Safety Manual S.W.P.

Safety Manual S.W.P.

Published by SWP Intertrade, 2021-03-16 07:24:35

Description: Safety Manual S.W.P. Rev.04 Date 12 Mar 2021

Keywords: safety Manual,health

Search

Read the Text Version

คำนำ หา้ งหุน้ ส่วนจากดั เอสดบั เบลิ้ ยูพี อนิ เตอรเ์ ทรด ไดต้ ระหนักถงึ ความสาคญั ของ ความปลอดภยั ในการทางานของพนักงานเป็ นอย่างยงิ่ เนื่องจากความปลอดภยั เป็ นปัจจยั สาคญั ประการหน่ึงในการกา้ วสู่ความสาเรจ็ สูงสุดของหา้ งฯ ดงั น้ันหา้ งฯ จงึ สนับสนุนใหม้ ี กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ควบคู่กบั กจิ กรรม การเพมิ่ ผลผลติ ทงั้ นีเ้ พราะความปลอดภยั ชว่ ยลดความสูญเสยี ลดตน้ ทุนการผลติ และยงั เสรมิ สรา้ ง สวสั ดภิ าพอนั ดแี ก่พนักงานทุก คน เพอื่ พฒั นาใหเ้ ป็ นทรพั ยากรทมี่ คี ุณภาพและสามารถตอบสนองนโยบายดา้ นการผลติ ไดอ้ ยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ ดว้ ยเหตุนี้หา้ งฯ จึงจดั ทาคู่มือความปลอดภยั ในการทางานขึน้ เพ่ือเผยแพร่ ความรูแ้ ละแนะนาแนวทางในการปฏบิ ตั งิ านอย่างปลอดภยั หา้ งฯ หวงั เป็ นอย่างยงิ่ ว่าคู่มอื ความปลอดภยั ในการทางานเล่มนีจ้ ะมสี ่วนเสรมิ สรา้ งจติ สานึกดา้ นความปลอดภยั ใหเ้ กดิ ขนึ้ กบั พนักงานทุกคน ดว้ ยความปรารถนาดจี าก นางสดุ ชวี ี โพธทิ ์ อง หุน้ ส่วนผูจ้ ดั การ หจก. เอสดบั เบลิ้ ยูพี อนิ เตอรเ์ทรด

สำสน์ จำกนำยจำ้ ง “ความปลอดภยั ” ไม่ใชเ่ ป็ นการทาให ้ “เรอื่ งมาก” แต่เป็ นการกระทาอย่าง รอบคอบไม่ประมาท ซง่ึ มผี ลตอ่ ทง้ั ชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของพวกเราทกุ คน โดยเฉพาะอย่างยงิ่ ในระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ านประจาวนั ในพนื้ ทที่ างาน เพื่อเป็ นการส่งเสรมิ และสนับสนุนการบรหิ ารงานและกจิ กรรมความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสิง่ แวดลอ้ มในการทางานทีด่ ี และสอดคลอ้ งกบั นโยบายทางดา้ นความ ปลอดภยั คณะทางานดา้ น ความปลอดภยั จงึ ไดจ้ ดั ทา “คู่มอื ความปลอดภยั ในการทางาน สาหรบั พนักงาน” ขนึ้ ดว้ ยมุ่งหวงั ทจี่ ะใหพ้ นักงานทุกคนตระหนักว่า หากทุกคนเพม่ิ ความ เอาใจใส่ ระมัดระวงั รอบคอบ และ ไม่ประมาท ในการกระทาต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็ นขณะ ปฏบิ ตั งิ านก็ดี หรอื การดารงชวี ติ ประจาวนั ก็ดี เชอ่ื ว่าอุบตั เิ หตุ อุบตั ภิ ยั รวมถงึ การสูญเสยี ตา่ ง ๆ ย่อมหา่ งไกลจากพนักงานและครอบครวั ของท่านทุกคน สงิ่ ทอี่ ยากจะขอความรว่ มมอื และรว่ มใจจากพนักงานทุกคน คอื ขอใหพ้ นักงาน ไดอ้ ่านคู่มอื เล่มนี้ เพราะเชอื่ ว่าขอ้ ความต่าง ๆ จะเป็ นประโยชนต์ ่อตวั ท่านเอง และหวงั เป็ น อย่างยิ่งว่าพนักงานทุกคนจะปฏิบตั ิงานอย่างรอบคอบ ไม่ประมาท พยายามช่วยกนั ปรบั ปรุงสถานทีก่ ารทางานใหป้ ลอดภยั และมีสภาพแวดลอ้ มทดี่ ีในการทางานยิ่ง ๆ ขนึ้ ตลอดไป ดว้ ยความจริงใจ ห่วงใย และปรารถนาดีถึงพนั กงาน เอสดับเบิล้ ยูพี อนิ เตอรเ์ทรด ทุกๆ ท่าน นำงสดุ ชวี ี โพธทิ์ อง

สารบัญ 2 คำนำ 4 สำสนจ์ ำกนำยจำ้ ง 10 นโยบำยควำมปลอดภยั อำชีวอนำมยั และสภำพแวดลอ้ มในกำรทำงำน1 11 ประกำศ เรื่องสิทธิและหนำ้ ท่ขี องนำยจำ้ งและลกู จำ้ ง 12 หนำ้ ท่รี บั ผดิ ชอบของผมู้ หี นำ้ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำน คำศพั ทเ์ กี่ยวกบั เรอื่ งควำมปลอดภยั 13 สำเหตขุ องกำรเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 14 กำรสญู เสยี เน่ืองจำกกำรเกดิ อบุ ตั เิ หตุ 15 19 หลกั 3E ในกำรปอ้ งกนั อบุ ตั ิเหตุ 21 อปุ กรณค์ มุ้ ครองควำมปลอดภยั สว่ นบคุ คล 23 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั ไฟฟ้ำ 25 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั งำนเช่อื ม 27 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั เครื่องเจำะ 28 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั หนิ เจียร 29 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั เคร่อื งตดั ไฟเบอร์ 31 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนบนท่สี งู 33 ควำมปลอดภยั ในกำรใชน้ ่งั รำ้ น (Scaffolding) 34 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั ปั้นจ่นั 34 ควำมปลอดภยั ในกำรใชง้ ำน เชือก ลวดสลิง และรอก 35 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนสำนกั งำน 37 ควำมปลอดภยั ในกำรใชเ้ ครื่องมือช่ำง 38 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั สำรเคมี 44 ควำมปลอดภยั ในกำรเคลือ่ นยำ้ ยวสั ดสุ ่งิ ของ 46 ปำ้ ยสญั ลกั ษณค์ วำมปลอดภยั 47 กำรปอ้ งกนั และระงบั อคั คีภยั 48 กำรปฐมพยำบำลเบอื้ งตน 49 กำรช่วยเหลอื ผปู้ ระสบอนั ตรำยจำกไฟฟ้ำ 50 กิจกรรม 5 ส กำรคดั แยกขยะ ขนั้ ตอนกำรรำยงำนอบุ ตั เิ หตจุ ำกกำรทำงำน หมำยเลขโทรศพั ทฉ์ กุ เฉิน

1 นโยบายความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน การดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน ถือเป็น ส่วนหน่ึงของการดาเนินธุรกิจของหา้ งหนุ้ ส่วนจากดั เอสดบั เบิล้ ยูพี อินเตอรเ์ ทรด และกาหนดให้ ดาเนนิ การควบค่ไู ปกบั หนา้ ท่ปี ระจาของพนกั งานทกุ คน ครอบคลมุ ถึงผมู้ าเยือนและผรู้ บั เหมา โดย ไดก้ าหนดนโยบายไว้ ดงั นี้ 1. ความปลอดภัยในการทางานถือเป็นหน้าท่ีรับผิดชอบอันดับแรก ในการปฏิบัติงานของ พนกั งานทกุ คน พนกั งานตอ้ งใหค้ วามรว่ มมอื ในโครงการความปลอดภยั ต่างๆ ของหา้ งฯ 2. หา้ งฯ จะสนับสนุนส่งเสริมใหม้ ีกิจกรรมความปลอดภัยต่างๆ ท่ีช่วยกระตุน้ จิตสานึกของ พนกั งาน 3. พนกั งานทกุ ระดบั มหี นา้ ท่รี กั ษาสะอาด และความเป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ยในพืน้ ท่ปี ฏิบตั ิงาน ดแู ล แนะนา ฝึกสอนและทาตนเป็นตวั อยา่ งแกพ่ นกั งานในการทางานดว้ ยความปลอดภยั 4. หา้ งฯ จดั ใหม้ ีตดิ ตาม ทบทวนและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ติ ามนโยบายความปลอดภยั ฯ เป็น ประจา ประกาศ ณ วนั ท่ี 16 เดอื นกรกฎาคม พ.ศ.2561

2 เรื่อง สทิ ธิและหน้าทข่ี องนายจา้ งและลูกจา้ ง พระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๑๗ กาหนดใหน้ ายจา้ งติดประกาศขอ้ ความแสดงสิทธิและหนา้ ท่ีของนายจา้ งและลกู จา้ งตามท่ีอธิบดีกรมสวสั ดิการ และคมุ้ ครองแรงงานประกาศกาหนด หา้ งหนุ้ สว่ นจากัด เอสดบั เบิล้ ยูพี อินเตอรเ์ ทรด จึงขอประกาศสิทธิและหนา้ ท่ีของนายจา้ งและลกู จา้ งตาม พระราชบญั ญตั ิความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ดงั ต่อไปนี้ (๑) นายจา้ งและลกู จา้ งมีหนา้ ท่ีในการปฏิบตั ิตามพระราชบญั ญัติความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ. ๒๕๕๔ (๒) นายจ้างมีหน้าท่ีจัดและดูแลสถานประกอบกิจการและลูกจ้างให้มีสภาพการทางาน และ สภาพแวดลอ้ มในการทางานท่ีปลอดภยั และถูกสุขลกั ษณะ รวมทงั้ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การปฏิบตั ิงาน ของ ลกู จา้ ง มิใหล้ กู จา้ งไดร้ บั อนั ตรายตอ่ ชีวติ รา่ งกาย จิตใจ และสขุ ภาพอนามยั (๓) นายจา้ งมีหนา้ ท่ีจดั และดแู ลใหล้ กู จา้ งสวมใส่อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคลท่ีได้ มาตรฐาน ถา้ ลกู จา้ งไม่สวมใส่อปุ กรณด์ งั กลา่ ว ใหน้ ายจา้ งส่งั ใหห้ ยุดการทางานจนกว่าลกู จา้ งจะสวมใส่อุปกรณ์ นนั้ (๔) นายจา้ งมีหนา้ ท่จี ดั ใหผ้ บู้ รหิ าร หวั หนา้ งาน และลกู จา้ งทุกคนไดร้ บั การฝึกอบรมใหส้ ามารถบรหิ าร จดั การและดาเนินการดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางานไดอ้ ย่างปลอดภยั ก่อน การเขา้ ทางาน เปลี่ยนงาน เปลยี่ นสถานท่ที างาน หรอื เปลย่ี นแปลงเครื่องจกั รหรอื อปุ กรณ์ (๕) นายจา้ งมีหน้าท่ีแจง้ ใหล้ ูกจา้ งทราบถึงอันตรายท่ีอาจเกิดขึน้ จากการทางานและแจกคู่มือ ปฏิบตั งิ านใหล้ กู จา้ งทกุ คนกอ่ นท่ลี กู จา้ งจะเขา้ ทางาน เปลยี่ นงาน หรอื เปลี่ยนสถานท่ที างาน (๖) นายจ้างมีหน้าท่ีติดประกาศ คาเตือน คาส่ัง หรือคาวินิจฉัยของอธิบดีกรมสวสั ดิการและ คุ้มครองแรงงาน พนักงานตรวจความปลอดภัย หรือคณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน แลว้ แต่กรณี (๗) นายจา้ งเป็นผอู้ อกค่าใชจ้ า่ ยในการดาเนินงานดา้ นความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการทางาน

3 (๘) ลูกจา้ งมีหนา้ ที่ใหค้ วามร่วมมือกับนายจา้ งในการดาเนินการและส่งเสริม ด้านความ ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน โดยคานึงถึงสภาพของงานและหนา้ ท่ีรบั ผิดชอบ (๙) ลูกจ้างมีหน้าท่ีแจ้งข้อบกพร่องของสภาพการทางานหรือการชารุดเสียหาย ของอาคาร สถานท่ี เครื่องมือ เครื่องจักร หรืออุปกรณ์ ที่ไม่สามารถแก้ไขไดด้ ว้ ยตนเองต่อเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ใน การทางาน หวั หนา้ งาน หรือผบู้ รหิ าร (๑๐) ลูกจา้ งมีหนา้ ท่ีสวมใส่อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ส่วนบุคคลท่ีนายจา้ งจัดใหแ้ ละดแู ล ใหส้ ามารถใชง้ านไดต้ ามสภาพและลกั ษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน (๑๑) ในสถานที่ท่ีมีสถานประกอบกิจการหลายแห่ง ลูกจ้างมีหน้าท่ีปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางานของนายจา้ ง และสถานประกอบ กิจการอ่นื ท่ไี ม่ใชข่ องนายจา้ งดว้ ย (๑๒)ลกู จา้ งมสี ิทธิไดร้ บั ความคมุ้ ครองจากการเลิกจา้ ง หรือถกู โยกยา้ ยหนา้ ท่ีการงานเพราะเหตทุ ่ฟี ้องรอ้ ง เป็นพยาน ใหห้ ลกั ฐาน หรือใหข้ อ้ มูลเก่ียวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทา งานต่อ พนกั งานตรวจความปลอดภยั คณะกรรมการความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน หรือ ศาล (๑๓) ลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าจ้างหรือสิทธิประโยชน์อ่ืนใด ในระหว่างหยุดการทางานหรือหยุด กระบวนการผลิตตามคาส่งั ของพนกั งานตรวจความปลอดภยั เวน้ แต่ลกู จา้ งท่ีจงใจกระทาการอนั เป็นเหตใุ หม้ ี การหยดุ การทางานหรอื หยดุ กระบวนการผลิต ทงั้ นี้ ตงั้ แต่บดั นเี้ ป็นตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๒ เดือนพฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑ (นางสดุ ชีวี โพธิ์ทอง) หนุ้ สว่ นผจู้ ดั การ

4 หน้าท่รี ับผิดชอบของผ้มู หี น้าทเ่ี กี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทางาน เพ่ือใหพ้ นกั งานทุกระดับไดเ้ ขา้ ใจขอบเขตหน้าท่ีรบั ผิดชอบดา้ นความปลอดภัยอาชีวอนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทางาน ตามท่ีกาหนดไว้ในนโยบายความปลอดภัยฯ ของห้างหุ้นส่วนจากัด เอสดบั เบลิ้ ยพู ี อนิ เตอรเ์ ทรด จึงกาหนดหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบไวด้ งั ต่อไปนี้ 1. เจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภยั ในการทางานระดับบริหาร มีหน้าท่ี ดังตอ่ ไปนี้ (1) กากบั ดแู ล เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานทกุ ระดบั ซ่งึ อย่ใู นบงั คับบญั ชาของเจา้ หนา้ ท่ี ความปลอดภยั ในการทางานระดบั บรหิ าร (2) เสนอแผนงานโครงการดา้ นความปลอดภยั ในการทางานในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบต่อนายจา้ ง (3) ส่งเสริม สนับสนุน และติดตามการดาเนินงานเก่ียวกับความปลอดภยั ในการทางานใหเ้ ป็นไป ตามแผนงานโครงการเพ่ือใหม้ ีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทางานท่ีเหมาะสมกับสถานประกอบ กิจการ (4) กากับ ดูแล และติดตามใหม้ ีการแก้ไขขอ้ บกพร่องเพ่ือความปลอดภัยของลูกจา้ งตามท่ีไดร้ บั รายงานหรือตามขอ้ เสนอแนะเจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยในการทางานคณะกรรมการ หรือหน่วยงานความ ปลอดภยั

5 2. เจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัยในการทางานระดับหัวหน้างาน มีหน้าทด่ี ังตอ่ ไปนี้ (1) กากบั ดแู ล ใหล้ กู จา้ งในหนว่ ยงานท่รี บั ผดิ ชอบปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั และคมู่ อื ตามขอ้ 3 (2) วิเคราะหง์ านในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบเพ่ือคน้ หาความเส่ียงหรืออันตรายเบือ้ งตน้ โดยอาจร่วม ดาเนนิ การกบั เจา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิค ระดบั เทคนิคขนั้ สงู หรือระดบั วชิ าชีพ (3) สอนวิธีการปฏิบตั ิงานท่ีถูกตอ้ งแก่ลกู จา้ งในหน่วยงานท่ีรบั ผิดชอบเพ่ือใหเ้ กิดความปลอดภยั ใน การปฏบิ ตั งิ าน (4) ตรวจสอบสภาพการทางาน เครื่องจกั ร เครื่องมือ และอปุ กรณใ์ หอ้ ย่ใู นสภาพท่ีปลอดภยั ก่อนลง มือปฏิบตั งิ านประจาวนั (5) กากับ ดูแล การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลของลูกจ้างในหน่วยงานท่ี รบั ผดิ ชอบ (6) รายงานการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอันเน่ืองจากการ ทางานของลกู จา้ งต่อนายจา้ ง และแจง้ ต่อเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิค ระดบั เทคนิคขนั้ สูง หรือระดับวิชาชีพ สาหรบั สถานประกอบกิจการท่ีมีหน่วยงานความปลอดภัยใหแ้ จง้ ต่อหน่วยงานความ ปลอดภยั ทนั ทที ่เี กดิ เหตุ (7) ตรวจสอบหาสาเหตุการประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดรอ้ นราคาญอัน เน่อื งจากการทางานของลกู จา้ งรว่ มกบั เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางานระดบั เทคนิค ระดบั เทคนิคขนั้ สงู หรือระดบั วชิ าชีพ และรายงานผล รวมทงั้ เสนอแนะแนวทางแกไ้ ขปัญหาตอ่ นายจา้ งโดยไม่ชกั ชา้ (8) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ กิจกรรมความปลอดภยั ในการทางาน (9) ปฏิบตั ิงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่ืนตามท่ีเจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ในการทางาน ระดบั บรหิ ารมอบหมาย

6 3. เจา้ หน้าทค่ี วามปลอดภยั ในการทางานระดับเทคนิค มีหน้าทด่ี งั ตอ่ ไปนี้ (1) ตรวจสอบและเสนอแนะใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายเก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และ สภาพแวดลอ้ มในการทางาน (2) วิเคราะห์งานเพ่ือชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้องกันและขั้นตอนการทางานอย่าง ปลอดภยั เสนอตอ่ นายจา้ ง (3) แนะนาใหล้ กู จา้ งปฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั และค่มู อื ตามขอ้ 3 (4) ตรวจสอบหาสาเหตกุ ารประสบอนั ตราย การเจบ็ ป่วย หรอื การเกิดเหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอนั เน่ืองจาก การทางาน และรายงานผล รวมทงั้ เสนอแนะตอ่ นายจา้ งเพ่อื ปอ้ งกนั การเกิดเหตโุ ดยไมช่ กั ชา้ (5) รวบรวมสถิติ จดั ทารายงาน และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การประสบอนั ตราย การเจบ็ ป่วย หรือการเกิด เหตเุ ดือดรอ้ นราคาญอนั เน่ืองจากการทางานของลกู จา้ ง (6) ปฏิบตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่นื ตามท่นี ายจา้ งมอบหมาย

7 4. เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัยในการทางานระดบั วิชาชีพ มีหน้าทด่ี ังต่อไปนี้ (1) ตรวจสอบและเสนอแนะใหน้ ายจา้ งปฏิบตั ิตามกฎหมายเก่ียวกบั ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน (2) วิเคราะหง์ านเพ่ือชีบ้ ่งอันตราย รวมทั้งกาหนดมาตรการป้องกันหรือขั้นตอนการทางานอย่าง ปลอดภยั เสนอตอ่ นายจา้ ง (3) ประเมินความเสย่ี งดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน (4) วิเคราะหแ์ ผนงานโครงการ รวมทงั้ ขอ้ เสนอแนะของหน่วยงานต่าง ๆ และเสนอแนะมาตรการ ความปลอดภยั ในการทางานตอ่ นายจา้ ง (5) ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการใหเ้ ป็นไปตามแผนงานโครงการหรือ มาตรการความปลอดภยั ในการทางาน (6) แนะนาใหล้ กู จา้ งปฏิบตั ติ ามขอ้ บงั คบั และคมู่ ือตามขอ้ 3 (7) แนะนา ฝึกสอน อบรมลูกจา้ งเพ่ือใหก้ ารปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทาให้เกิดความไม่ ปลอดภยั ในการทางาน (8) ตรวจวดั และประเมินสภาพแวดลอ้ มในการทางาน หรอื ดาเนินการรว่ มกบั บุคคลหรือหนว่ ยงานท่ี ขึน้ ทะเบียนกบั กรมสวสั ดิการและคมุ้ ครองแรงงานเป็ นผรู้ บั รองหรือตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานรายงานในการ ตรวจสอบสภาพแวดลอ้ มในการทางานภายในสถานประกอบกจิ การ (9) เสนอแนะต่อนายจา้ งเพ่ือใหม้ ีการจดั การดา้ นความปลอดภยั ในการทางานท่ีเหมาะสมกบั สถาน ประกอบกิจการ และพฒั นาใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพอย่างตอ่ เน่อื ง (10) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะหก์ ารประสบอนั ตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตเุ ดือดรอ้ น ราคาญอันเน่ืองจากการทางาน และรายงานผล รวมทงั้ เสนอแนะต่อนายจา้ งเพ่ือป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ ชกั ชา้ (11) รวบรวมสถิติ วิเคราะหข์ อ้ มลู จดั ทารายงาน และขอ้ เสนอแนะเกี่ยวกบั การประสบอนั ตราย การ เจ็บป่วย หรอื การเกดิ เหตเุ ดอื ดรอ้ นราคาญอนั เน่ืองจากการทางานของลกู จา้ ง (12) ปฏิบตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่นื ตามท่นี ายจา้ งมอบหมาย

8 5. คณะกรรมการความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน มีหน้าทดี่ ังตอ่ ไปนี้ (1) พิจารณานโยบายและแผนงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน รวมทงั้ ความปลอดภยั นอกงาน เพ่ือป้องกนั และลดการเกิดอบุ ตั ิเหตุ การประสบอันตราย การเจ็บป่ วย หรือการเกิดเหตุเดือดรอ้ นราคาญอัน เน่อื งจากการทางาน หรือความไมป่ ลอดภยั ในการทางานเสนอต่อนายจา้ ง (2) รายงานและเสนอแนะมาตรการหรือแนวทางปรบั ปรุงแกไ้ ขใหถ้ ูกตอ้ งตามกฎหมายเก่ียวกบั ความ ปลอดภัยในการทางานและมาตรฐานความปลอดภัยในการทางานต่อนายจา้ ง เพ่ือความปลอดภัยในการ ทางานของลูกจา้ ง ผูร้ บั เหมา และบุคคลภายนอกท่ีเขา้ มาปฏิบตั ิงานหรือเขา้ มาใชบ้ ริการในสถานประกอบ กจิ การ (3) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถาประกอบกจิ การ (4) พิจารณาขอ้ บงั คบั และค่มู ือตามขอ้ 3 รวมทงั้ มาตรฐานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถา ประกอบกิจการเสนอต่อนายจา้ ง (5) สารวจการปฏิบตั ิการดา้ นความปลอดภยั ในการทางาน และตรวจสอบสถิติการประสบอนั ตรายท่ี เกดิ ขนึ้ ในสถานประกอบกจิ การนนั้ อย่างนอ้ ยเดือนละหนึง่ ครง้ั (6) พิจารณาโครงการหรือแผนการฝึกอบรมเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการทางานรวมถึงโครงการหรือ แผนการอบรมเกี่ยวกบั บทบาทหนา้ ท่ีความรบั ผิดชอบในดา้ นความปลอดภยั ของลกู จา้ ง หวั หนา้ งาน ผบู้ รหิ าร นายจา้ ง และบคุ ลากรทกุ ระดบั เพ่ือเสนอความเห็นต่อนายจา้ ง (7) วางระบบการรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภยั ใหเ้ ป็นหนา้ ท่ีของลูกจา้ งทุกคนทุกระดับตอ้ ง ปฏิบตั ิ (8) ตดิ ตามผลความคบื หนา้ เรื่องท่ีเสนอนายจา้ ง (9) รายงานผลการปฏิบตั ิงานประจาปี รวมทัง้ ระบุปัญหา อุปสรรค และขอ้ เสนอแนะในการปฏิบตั ิ หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการเม่ือปฏิบตั หิ นา้ ท่ีครบหน่ึงปี เพ่อื เสนอตอ่ นายจา้ ง (10) ประเมิณผลการดาเนนิ งานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานของสถานประกอบกจิ การ (11) ปฏบิ ตั ิงานดา้ นความปลอดภยั ในการทางานอ่นื ตามท่นี ายจา้ งมอบหมาย

9 6. พนักงานทกุ คน มหี น้าทดี่ งั ตอ่ ไปนี้ (1) พนักงานทุกคนมีหนา้ ที่ให้ความร่วมมือในการดาเนินการกิจกรรมต่างๆ ดา้ นความปลอดภัยในการ ทางาน (2) พนกั งานทุกคนมีหนา้ ท่ีรายงานสภาพการทางานท่ีไม่ปลอดภัย/การกระทาท่ีไม่ปลอดภยั ใหห้ วั หนา้ ทราบ เพ่อื ดาเนนิ การแกไ้ ขทนั ที (3) พนักงานทุกคนมีหนา้ ท่ีสวมใส่อุปกรณ์คุม้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีนายจา้ งจัดใหแ้ ละดูแล ให้ สามารถใชง้ านไดต้ ามสภาพและลกั ษณะของงานตลอดระยะเวลาทางาน (4) พนกั งานทกุ คนตอ้ งทางานดว้ ยความสานึกถึงความปลอดภยั ตลอดขนั้ ตอนการทางาน ก่อนท่จี ะเร่มิ ทางาน อย่เู สมอ ทงั้ ของตนเองและผอู้ ่นื (5) พนกั งานทกุ คนตอ้ งเอาใจใสแ่ ละปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั ในการทางานอย่างเครง่ ครดั (6) ใชเ้ ครือ่ งมือ หรืออปุ กรณท์ ่มี คี วามปลอดภยั และเหมาะสมเท่านัน้ (7) ตอ้ งตรวจเช็คสภาพเครื่องจกั ร เคร่ืองมือ อปุ กรณ์ ก่อนและหลงั เร่มิ งานทกุ วนั หากพบว่าชารุด เสียหายให้ แจง้ หวั หนา้ งานทนั ที เพ่อื ดาเนนิ การแกไ้ ขใหป้ ลอดภยั ถงึ จะปฏบิ ตั ิงานไดป้ กติ (8) ตอ้ งศกึ ษางานท่ปี ฏบิ ตั ิวา่ อาจเกิดเหตหุ รืออนั ตรายใดท่ีอาจเกดิ ขึน้ กบั ตนเองหรือผอู้ ่นื (9) เม่อื เกดิ เหตกุ ารณฉ์ กุ เฉินพนกั งานตอ้ งปฏิบตั ติ ามขนั้ ตอนตามท่ีหา้ งฯ กาหนดไว้ (10) สบู บหุ ร่ีในพืน้ ท่ที ่กี าหนดไวใ้ หเ้ ทา่ นนั้ (11) ผรู้ บั เหมาท่ีเขา้ มาทางานภายในบริษัทฯ จะตอ้ งไดร้ บั การอบรมตามท่ีบริษัทฯกาหนดก่อนทกุ ครง้ั จึง จะ สามารถปฏิบตั ิงานได้ รวมทงั้ ตอ้ งปฏิบตั ิตามกฎระเบียบดา้ นความปลอดภัยของบริษัทฯ ตลอด ระยะเวลาท่ี ปฏิบตั งิ าน (12)พนักงานทุกคน ตอ้ งร่วมมือกันทาความสะอาดพืน้ ท่ีทางาน และจัดเก็บเครื่องมือ อุปกรณ์ใหเ้ รียบรอ้ ย ปลอดภยั (Housekeeping) ทกุ ครงั้ หลงั เลิกงานหรือตามท่ีบรษิ ทั ฯ กาหนด

10 คำศพั ทเ์ กี่ยวกบั เรื่อง ควำมปลอดภยั >>Accident อุบตั เิหตุ เหตุการณ์ท่ีไม่พึงประสงค์ ท่ีเกิดจากการท่ี ไมไ่ ดค้ าดคดิ หรอื ขาดการควบคุมแต่เมอ่ื เกดิ ขน้ึ แลว้ มผี ลทาให้เกดิ การบาดเจ็บ พกิ าร สุญเสยี ชวี ติ หรอื ทรพั ยส์ นิ เสยี หาย >>Incident อุบตั กิ ารณ์ เหตกุ ารณ์ทไ่ี มพ่ งึ ประสงคท์ เ่ี กดิ ขน้ึ แลว้ มผี ลให้ เกดิ อุบตั เิ หตุ หรอื เหตกุ ารณ์เกอื บเกดิ อุบตั เิ หตุ >>Near miss เหตุการณ์เกอื บเกดิ อุบตั เิหตุ เหตุการณ์ทไ่ี มพ่ งึ ประสงค์ แตเ่ มอ่ื เกดิ ขน้ึ แลว้ มแี นวโน้มทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ อุบตั เิ หตุ

11 สาเหตุของการเกดิ อุบตั เิหตุ Unsafe Acts Unsafe Conditions การกระทาทไี่ ม่ปลอดภยั สภาพการทางานทไี่ ม่ปลอดภยั การทางานไม่ถกู วธิ ี เครอ่ื งจกั รกล เครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์ หรอื ไม่ถกู ขนั้ ตอน ชารดุ บกพรอ่ ง ขาดการซอ่ มแซมหรอื ใชเ้ ครอ่ื งมอื ไม่ บารงุ รกั ษาอยา่ งเหมาะสม เหมาะสมกบั งาน สภาพแวดลอ้ มในการทางานไม่เหมาะสม เชน่ แสงสวา่ งไม่เพยี งพอ เป็ นตน้ การทางานโดยทรี่ า่ งกายและ จติ ใจไม่พรอ้ มเชน่ ไม่สบาย ระบบความปลอดภยั ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพ เมาคา้ ง มปี ัญหาครอบครวั การไม่ปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ ครอื่ งจกั รไม่มเี ครอ่ื งกาบงั หรอื อปุ กรณ์ ป้ องกนั อนั ตราย ความประมาท พลงั้ เผลอ เหม่อลอย ไม่สวมใสอ่ ปุ กรณ์ PPE

12 การสูญเสยี เนอ่ื งจาก การเกดิ อุบตั เิหตุ ➢ ความสูญเสยี ทางตรง (Direct Loss) • คา่ รกั ษาพยาบาล • คา่ ทดแทนจากการไดร้ บั บาดเจ็บ • คา่ ทาขวญั • คา่ ทาศพ • คา่ ประกนั ชวี ติ ➢ ความสูญเสยี ทางอ้อม (Indirect Loss) • การสญู เสยี เวลาในการทางานของ • คา่ ใชจ้ า่ ยในการซอ่ มแซมเครอื่ งจกั ร เครอื่ งมอื อปุ กรณ์ ทไี่ ดร้ บั ความเสยี หาย • ผลผลติ ลดลง เนื่องจากกระบวน การผลติ ขดั ขอ้ ง ตอ้ งหยดุ ชะงกั • คา่ สวสั ดกิ ารตา่ งๆของผูบ้ าดเจ็บ • เสยี ชอื่ เสยี ง • เสยี ความน่าเชอื่ ถอื

13 >>หลกั 3E ในการป้องกนั อุบตั เิหตุ>>> E ตวั แรก คอื Engineering คอื การใชค้ วามรดู้ า้ นวิศวกรรมศาสตรใ์ นการ คานวณตา่ งๆ อาทิ การติดต้งั เครื่องจกั รในสถานท่ีที่ เหมาะสมใหส้ ามารถใชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั รวมถึง การวางผงั โรงงาน ระบบไฟฟ้า การระบายอากาศ E ตัวทส่ี อง คอื Education คอื การใหค้ วามรู้ การฝึกอบรม เกย่ี วกบั การป้องกนั อบุ ตั ิเหตุ การเสรมิ สรา้ งความปลอดภยั รวมถึง กฎระเบียบตา่ งๆดา้ นความปลอดภยั ท่ีผูป้ ฏิบตั ิงานตอ้ ง ปฏบิ ตั ิตาม เพอ่ื ใหส้ ามารถทางานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั E ตัวทสี่ าม คอื Enforcement คอื การออกกฎระเบียบในการทางานอยา่ งปลอดภยั มี มาตรการควบคุมใหพ้ นักงานทุกคนปฏิบตั ิตาม ซึ่ง ระเบยี บมาตรการเหลา่ น้ ี ตอ้ งประกาศใหท้ ุกคนไดท้ ราบ

หมวกนริ ภัย 14 (Safety Helmet) อุปกรณค์ ุ้มครอง ใชส้ าหรบั ป้องกนั ศรษี ะทเ่ีกดิ จากการกระแทก ควำมปลอดภยั หรอื มสี ง่ิ ของตกหล่นในขณะปฏบิ ตั งิ าน ส่วนบุคคล ปล๊ักลดเสียง แว่นตานิรภัย (Ear Plugs) (Safety Glasses) ใช้สาหรบั ป้องกนั หูจากการรบั ใชส้ าหรบั ป้องกนั ป้องกนั ดวงตา สมั ผสั เสยี งทด่ี งั มากกว่าปกตใิน จากเศษฝุ่น เศษโลหะ สารเคมที ่ี พน้ื ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน เป็นเวลานาน อาจโดนดวงตาขณะปฏบิ ตั งิ าน เข็มขัดนิรภัย ถงุ มือนิรภัย (Safety Harness) (Safety Gloves) ใชส้ าหรบั การทางานบนทส่ี ูงเพอ่ื ใช้สาหรบั ป้องกนั ป้องกนั มอื จาก ป้องกนั ไม่ให้ผูป้ ฏบิ ตั งิ านตกลงมา ของมคี ม ความร้อน การสมั ภสั ด้านลา่ ง หากเกดิ อุบตั เิหตุ สารเคมที อี่ าจระคายเคอื งหรอื บาดเจบ็ ได้ รองเท้านิรภัย (Safety Shoes) ใช้สาหรบั ป้องกนั ป้องกนั อนั ตรายจาก การทางานในพน้ื ทเี่สยี่ งต่อการกระแทก หรอื สงิ่ ของทม่ี นี ้าหนกั มากตกใสเ่ ทา้

15 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั ไฟฟ้ ำ กอ่ นการปฏบิ ตั งิ านหรอื ตดิ ตงั้ เกยี่ วกบั อปุ กรณไ์ ฟฟ้ า ผ้ปู ฏิบัตงิ าน จะตอ้ งผา่ นการฝึกอบรม วศิ วกรหรอื หรอื ผทู้ ผี่ ่านการอบรมตอ้ งควบคุมการปฏบิ ตั ิ งานเพอ่ื ใหเ้ ป็ นไปตามมารตฐานความปลอดภยั ตาม ความปลอดภยั ในการทางานเกยี่ วกบั ไฟฟ้า ทกี่ ฎกระทรวงเกยี่ วกบั ไฟฟ้ ากาหนดไวด้ งั นี้ ตามทกี่ ฎหมายกาหนด ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเกยี่ วกบั สาขาชา่ งไฟฟา้ ภายใน อาคาร ตอ้ งไดร้ บั หนงั สอื รบั รองความรู้ ความสามารถ ตาม พ.ร.บ.สง่ เสริมการพฒั นา ฝีมือแรงงาน ตามทกี่ ฎหมายกาหนด • ผทู้ ตี่ ดิ ตงั้ ระบบไฟฟ้ าหรอื ทมี งาน ตอ้ งต่อสายดนิ ทบี่ รเิ วณ สายไฟและอุปกรณไ์ ฟฟ้ าทกุ ครงั้ ตามทวี่ ศิ วกรหรอื ผคู้ วบคมุ งานกาหนด • การตอ่ สายไฟและอปุ กรณ์ หรอื การตอ่ ฝากตอ้ งตอ่ อยา่ งหนาแน่นและม่นั คงดว้ ยอุปกรณต์ ่อสาย • อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าซงึ่ ไมส่ ามารถป้ องกนั หรอื คลมุ ดว้ ยฉนวนไดอ้ ย่างมดิ ชดิ จะตอ้ งมรี วิ้ (ธงหรอื เทปขาว-แดง กอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน 1) ตอ้ งขอใบอนุญาตในการปฎบิ ตั งิ าน Work Permit จากเจา้ ของพนื้ ที่ โดยระบุลกั ษณะงาน, รายละเอยี ดของงาน และแนบเอกสารขนั้ ตอนหรอื วธิ กี ารปฏบิ ตั งิ านใหช้ ดั เจน 2) ผขู้ ออนุญาตหรอื ผูค้ วบคุมงาน ตอ้ งประเมนิ อนั ตราย ใหค้ รอบคลุมและสอดคลอ้ งกบั การทางานในทกุ ขนั้ ตอน (JSA) และสอื่ สารมาตรการป้ องกนั อนั ตรายใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านทกุ คนเขา้ ใจ (JSA Talk) 3) ทาการตรวจสอบอปุ กรณแ์ ละเครอื่ งมอื ทตี่ อ้ งใชใ้ นการทางานเกยี่ วกบั ไฟฟ้ าทุกครง้ั เครอื่ งมอื เครอื่ งใชท้ ที่ างานกบั อุปกรณไ์ ฟฟ้ า เชน่ คมี ไขควง ตอ้ งเป็ นชนิดทมี่ ฉี นวนหุม้ สอง ชน้ั อย่างดี

16 4) ผขู้ ออนุญาตหรอื ผูค้ วบคุมงาน ตอ้ งทาการตดั แยกแหล่งจา่ ย ไฟฟ้ าหลกั ดว้ ยการลอ๊ คกญุ แจและแขวนป้ าย ใหถ้ ูกตอ้ งตาม ระบบ LOTO และตอ้ งนาผูป้ ฏบิ ตั งิ านทเี่ กยี่ วขอ้ งไปรว่ มทา การลอ๊ คกุญแจดว้ ยทกุ ครง้ั กอ่ นเรมิ่ งาน พรอ้ มทง้ั ตดิ ป้ ายเตอื น กาลงั ซอ่ ม/ตดิ ตง้ั ระบบไฟฟ้ าใหผ้ เู้ กยี่ วขอ้ งไดท้ ราบ 5) ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ตอ้ งตรวจสอบ และทดสอบ เครอื่ งจกั รหรอื อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าทจี่ ะมกี ารปฏบิ ตั งิ าน (Try Out) เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจว่าเครอื่ งจกั ร หรอื อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าดงั กลา่ วไมส่ ามารภทางานได ้ และไม่มแี รงดนั ไฟฟ้ าหลงเหลอื อยู่ ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน 1) สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ใหเ้ หมาะสมกบั งานไฟฟ้ า เชน่ หมวกนิรภยั ถุงมอื กนั ไฟฟ้ า รองเทา้ นิรภยั ป้ องกนั ไฟฟ้ า แว่นตานิรภยั เสอื้ เป็ นตน้ 2) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งปฎบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนของระบบ LOTOTO ทกี่ าหนดไวอ้ ย่าง เครง่ ครดั 3) กรณีทไี่ มส่ ามารถตดั แหล่งจา่ ยไฟฟ้ าได้ และมโี อกาสสมั ผสั กระแสไฟฟ้ า ผขู้ ออนุญาตหรอื ผคู้ วบคมุ งาน ตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามมาตรการป้ องกนั อนั ตราย ดงั ต่อไปนี้ (3.1) ตอ้ งกาหนดขนั้ ตอนการทางานอยา่ งปลอดภยั (3.2) ตอ้ งขออนุญาต และไดร้ บั การอนุญาตตามระบบ Permit to Work (3.3) ตอ้ งปิ ดกนั้ สว่ นทมี่ แี รงดนั และกระแสไฟฟ้ า ดว้ ยวสั ดทุ มี่ คี ณุ สมบตั เิ ป็ นฉนวนไฟฟ้ า เพอ่ื ป้ องกนั อนั ตรายจากการสมั ผสั ตวั นาไฟฟ้ า (3.4) ตอ้ งปิ ดกน้ั บรเิ วณพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน และตดิ ป้ ายเตอื นอนั ตราย ป้ องกนั ผไู้ มเ่ กย่ี วขอ้ ง

17 4. กรณีทตี่ อ้ งใชบ้ นั ไดทรงเอในการตดิ ตงั้ ระบบแสงสวา่ ง จดั ใหม้ พี นักงานจบั บนั ไดดว้ ยทุกครงั้ ***ถา้ หากตอ้ งตดิ ตงั้ ในระดบั ความสูงตงั้ แต่ 2 เมตรขนั้ ไป ตอ้ งตงั้ นัง่ รา้ นใหเ้ ป็ นไปตามมาตรฐานกาหนด ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งสวมใสเ่ ข็มขดั นิรภยั ชนิดเต็มตวั หรอื สายชว่ ยชวี ติ คลอ้ งไวก้ บั สว่ นใดสว่ นหนึง่ ของอาคาร 5. กรณีตอ้ งใชร้ ถเฮยี๊ บตดิ กระเชา้ สามารถปฏบิ ตั ไิ ดด้ งั นี้ (5.1) สวมเข็มขดั นิรภยั ชนิดเต็มตวั และคลอ้ งเกยี่ ว ตะขอไวก้ บั ราวของกระเชา้ ตลอดเวลา (5.2) ผปู้ ฏบิ ตั งิ านบนรถกระเชา้ ตอ้ งเป็ นผูท้ สี่ ามารถ บงั คบั รถกระเชา้ ไดแ้ ละตอ้ งมผี เู้ ฝ้ าระวงั ชว่ ยเหลอื อย่าง นอ้ ย 1 คน (5.3) กน้ั บรเิ วณ ตดิ ตงั้ ป้ ายสญั ญาณเตอื นอนั ตราย รอบๆบรเิ วณทางานเพอื่ แจง้ เตอื น และป้ องกนั บคุ คลอนื่ ที่ ไม่เกยี่ วขอ้ ง (5.4) ผใู้ หส้ ญั ญาณเครนตอ้ งตดิ ตอ่ กบั ผคู้ วบคุม เครนไดต้ ลอดเวลา (5.5) หา้ มยนื่ สว่ นใดของรา่ งกายออกนอกกระเชา้ ขณะกระเชา้ เคลอื่ นที่ (5.6) เมอื่ กระเชา้ เคลอื่ นทถี่ งึ จดุ ทางานใหย้ ดึ กระเชา้ ใหอ้ ยู่กบั ที่ (5.7) หยุดการทางาน เมอ่ื สภาพดนิ ฟ้ า อากาศแปรปรวน

18 (5.8) ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ผใู้ หส้ ญั ญาณ ผคู้ วบคมุ และผรู้ บั ผดิ ชอบ ตอ้ งประชมุ เพอ่ื ทาความเขา้ ใจ (5.9) หา้ มเหยยี บขอบ หรอื โครงสรา้ งกระเชา้ เพอ่ื ยนื ทางาน (5.10) ตอ้ งมเี ชอื กผกู เพอื่ ควบคมุ การแกวง่ ตวั ของ กระเชา้ (5.11) หา้ มเฮยี๊ บเคลอื่ นที่ ขณะมผี ปู้ ฏบิ ตั งิ านอยู่บน กระเชา้ (5.12) ระบบควบคมุ ความเรว็ ในการยกกระเชา้ ขนึ้ -ลงไมเ่ กนิ 100 ฟุตต่อนาที (5.13) ปฏบิ ตั งิ านบนรถกระเชา้ ตอ้ งเป็ นผูท้ มี่ สี ขุ ภาพรา่ งกายสมบรู ณ์ ไมเ่ ป็ นโรคประจาตวั เชน่ โรคลมชกั ,โรคความดนั สูง เป็ นตน้ 6. จดั ใหม้ อี ปุ กรณด์ บั เพลงิ ชนิดทใี่ ชด้ บั เพลงิ ทเี่ กดิ จากไฟฟ้ า เมอื่ ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สนิ้ 1. แจง้ ผูค้ วบคุมงานตรวจสอบความปลอดภยั และแจง้ จป.วชิ าชพี เพอ่ื ปิ ดงาน 2. เกบ็ ทาความสะอาดพนื้ ที่ 3. ปลด LOTO ออก 4. นาป้ ายและกนั้ พนื้ ทอี่ อก พรอ้ มทง้ั แจง้ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านในพนื้ ทดี่ งั กล่าวทราบ

19 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั งำนเชอื่ ม แบง่ ออกเป็ น งานเชอื่ มไฟฟ้ า และเชอื่ มแกส๊ กอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน 1) เตรยี มพนื้ ที่ เตรยี มอปุ กรณต์ า่ งๆ สาหรบั งานเชอื่ ม กอ่ นทาการตดั เชอื่ มดว้ ย ไฟฟ้ า หรอื แกส๊ ตรวจสอบบรเิ วณโดยรอบ ตอ้ งไมม่ วี สั ดุทตี่ ดิ ไฟไดอ้ ยู่ 2) ถงั ลม ถงั แกส๊ ตอ้ งวางตง้ั ตรงและมดั ยดึ ดว้ ยวสั ดุแข็งแรง เพอื่ ป้ องกนั การลม้ วางให ้ หา่ งจากบรเิ วณทที่ าการเชอ่ื ม เพอื่ ป้ องกนั สะเกต็ ไฟจากการเชอ่ื มกระเด็นไปถงึ ถงั แกส๊ 3) ตรวจสอบการรว่ั ไหล การหลุดหลวม การสกึ หรอของอปุ กรณ์ หากพบว่าไม่ ปลอดภยั ตอ้ งทาการแกไ้ ข 4) จดั ใหม้ ถี งั ดบั เพลงิ ตดิ ตง้ั ไวใ้ กลบ้ รเิ วณที่ ทางานเชอื่ ม ตดิ ตง้ั อปุ กรณป์ ้ องกนั ไฟยอ้ นกลบั (FLASHBACK ARRESTOR) ทบี่ รเิ วณทางออก ของวาลว์ ปรบั ความดนั และหวั เชอื่ มกา๊ ซ มที งั้ หมด 4 ตาแหน่ง คอื ทดี่ า้ มหวั เชอ่ื ม กา๊ ซ 2 ตาแหน่ง และทที่ ่อเชอื้ เพลงิ และท่อ ออกซเิ จน 2 ตาแหน่ง ระหวา่ งการปฏบิ ตั งิ าน

20 1) สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ใหเ้ หมาะสมไดแ้ ก่ 2) ตอ้ งมผี เู้ ฝ้ าระวงั ประกายไฟในขณะ ถงุ มอื หนัง แว่นตาหรอื หนา้ กากเชอ่ื ม ทางานเชอ่ื มกาลงั ดาเนินการและให ้ อาจจะตอ้ งมผี า้ กนั เปื้อนหนัง สาหรบั ป้ องกนั เฝ้ าระวงั หลงั จากงานเสรจ็ ไปแลว้ 30 นาที ส่วนหนา้ อก ทอ้ ง และตน้ ขา จากประกายไฟทกี่ ระเด็นไปโดยรอบ 3) กอ่ นจดุ ไฟทหี่ วั เชอื่ มกา๊ ซใหเ้ ปิ ดกา๊ ซ 4) สาหรบั จไุ ฟทหี่ วั เชอื่ มกา๊ ซใหใ้ ช ้ กาจดั สงิ่ สกปรก (Purge) ทตี่ กคา้ งใน อปุ กรณจ์ ดุ ตดิ ไฟ (Spark lighter) สายทอ่ กา๊ ซ หรอื ปื นถ่าน(Flint gun) 5) กรณีทางานเกยี่ วกบั เครอื่ งเชอื่ มไฟฟ้ า 6) กอ่ นเชอ่ื มใหต้ รวจสอบชนิ้ งานวา่ หนา ตอ้ งตอ่ สายดนิ กบั โครงโลหะของเครอื่ ง หรอื บาง และปรบั ไฟใหเ้ หมาะกบั เชอ่ื มไฟฟ้ าทตี่ อ่ จากอปุ กรณก์ ารเชอื่ ม ขนาดของชนิ้ งาน 7) จดั สายไฟฟ้ าและสายดนิ ใหห้ า่ งจากการบด ทบั ของยานพาหนะ น้า หรอื ทชี่ นื้ แฉะ สถานทปี่ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งมแี สงสว่างและการระบายอากาศอย่างเหมาะสม เมอ่ื ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สนิ้ 1) หลงั เสรจ็ สนิ้ การใชง้ านใหป้ ิ ดวาลว์ จา่ ยกา๊ ซ ทที่ ่อกา๊ ซเชอื้ เพลงิ และทอ่ กา๊ ซออกซเิ จน ถอดสายท่อกา๊ ซออกจากวาลว์ จา่ ยกา๊ ซ 2) เก็บวสั ดุ อปุ กรณใ์ หอ้ ยูใ่ นสภาพเรยี บรอ้ ย 3) ทาความสะอาดพนื้ ทใี่ หเ้ รยี บรอ้ ย

21 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั เคร่ืองเจำะ เครอื่ งเจาะมหี ลายประเภท เชน่ เครอื่ งเจาะแบบแทน่ ทใี่ ชไ้ ฟฟ้ า เครอื่ งเจาะไฟฟ้ าแบบใชม้ อื จบั และเครอื่ งเจาะแบบใช ้ แบตเตอรร์ ี่ การใชส้ วา่ นแท่นในการเจาะชนิ้ งาน ➢ กอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน 1 ตรวจเชค็ สภาพเครอื่ ง สายไฟ ดอกสว่าน กอ่ นใชง้ าน หากพบขอ้ บกพรอ่ งใหร้ บี ทาการซอ่ มแซมและแกไ้ ขทนั ที 2 แต่งกายใหร้ ดั กุม ถา้ ผมยาวใหร้ บบผมใหเ้ รยี บรอ้ ยและสวม ใสอ่ ุปกรณ์ PPE ใหเ้ หมาะสมไดแ้ ก่ แว่นตาหรอื หนา้ กากป้ องกนั สะเก็ดหรอื เศษวสั ดุกระเด็น หนา้ กากป้ องกนั ฝ่ นุ ถุงมอื หนังหา้ มใชถ้ ุงมอื ผา้ รองเทา้ นิรภยั ➢ ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน 1. ปรบั ตงั้ เครอื่ งสวา่ นแทน่ จะตอ้ งกระทาใน ขณะทเี่ ครอื่ งไมท่ างานและดอกสวา่ นไมห่ มนุ ถอดปลกั๊ สายไฟออกขณะทาการปรบั ตงั้ เครอื่ งจะชว่ ยใหม้ คี วามปลอดภยั สูง 2.ดอกสว่านทใี่ ชต้ อ้ งคมและปรบั แต่งมมุ อยา่ งถกู ตอ้ ง เพราะถา้ ดอกส่วานทอื่ ตอ้ งใชแ้ รงกด อาจทาใหด้ อกสว่านหกั ได ้ 3. อย่าใหน้ ิว้ มอื อยใู่ กลก้ บั ดอกสวา่ นมากเกนิ ไปขณะทที่ าการเจาะ 4.หลกี เลยี่ งทจี่ ะใชม้ อื จบั ชนิ้ งานหรอื ปากกาจบั ชนิ้ งานขณะเจาะชนิ้ งาน เพราะอาจเกดิ อบุ ตั เิ หตชุ นิ้ งานตนี ิว้ มาได ้

22 5.อยา่ ใชม้ อื จบั ดอกสวา่ นเพอ่ื ใหห้ ยุด แตค่ วรปลอ่ ยใหด้ อกสว่านหยุดดว้ ยตวั เอง 6. ถา้ ดอกสวา่ นตดิ แน่นกบั รูทเี่ จาะขณะทที่ าการเจาะ ใหป้ ิ ดสวติ ชเ์ครอื่ งทนั ทแี ละถอยออกมา จากตวั เครอื่ ง รอจนกวา่ เครอื่ งจะหยุดสนิทจงึ คอ่ ยถอดชนิ้ งานออกจากตวั เครอื่ ง 7. หา้ มใชน้ ิว้ เขยี่ เศษทเี่ กดิ จากการเจาะแต่ใหใ้ ชแ้ ปรงแทนเพราะการใชน้ ิว้ อาจทาใหไ้ ดร้ บั อนั ตรายได ้ ➢ เมอื่ ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สนิ้ 1. หลงั เสรจ็ งานและปิ ดสวติ ชเ์ครอื่ งแลว้ ใหร้ อจนกว่าเครอื่ ง จะหยดุ หมุนแลว้ จงึ คอ่ ยออกจากตวั เครอื่ ง 2. ถอดปลกั๊ เกบ็ สายไฟและทาความสะอาดใหเ้ รยี บรอ้ ย 3.การทาความสะอาดชนิ้ งานควรใชแ้ ปรง หลกี เลยี่ งการใชม้ อื หรอื ลมเป่ า ขอ้ ควรระวงั 1. ขณะเครอื่ งจกั รกาลงั ปฏิบตั ิงาน หา้ มนาอวยั วะส่วนหนึ่ง ส่วนใดเขา้ ไปใกล 2. ไม่หยอกลอ้ หรอื เลน่ กนั ในบรเิ วณสถานทปี่ ฏบิ ตั งิ าน 3. หา้ มปฏบิ ตั งิ านกบั เครอื่ งจกั ร หากสภาพรา่ งกายและจติ ใจ ไมพ่ รอ้ ม เชน่ มอี าการงว่ ง เหงา หรอื มนึ เมา 4. เครอื่ งเจาะทใี่ ชไ้ ฟฟ้ าตอ้ งมรี ะบบสายดนิ เพอื่ ป้ องกนั ไฟฟ้ า ดูดจากกระแสไฟฟ้ า

23 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั หนิ เจยี ร กอ่ นการปฏบิ ตั งิ าน 1 ตรวจสอบบรเิ วณ 2 ตรวจสอบสภาพ 3 ตรวจสอบว่าสวติ ช ์ โดยรอบ เพอ่ื ใหม้ ่นั ใจว่าไม่ เครอื่ งมอื และอปุ กรณ์ ปิ ด-เปิ ด ทางานอยา่ ง มสี ารไวไฟ หรอื เชอื้ เพลงิ ที่ และสภาพของหนิ เจยี ร เหมาะสมหรอื ไม่ และ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไมม่ รี อย ตรวจสอบการหมุน อาจทาใหเ้ กดิ เพลงิ้ ไหม หากพบใหน้ าออกทนั ที แตกรา้ วหรอื ชารดุ ตามปกติ 5 ควรมฝี าครอบปิ ดหนิ 6 สวมใสอ่ ุปกรณ์ PPE ของเครอื่ งเบอื้ งตน้ กอ่ น เรมิ่ ท�ำางาน เจยี รเพอื่ ป้ องกนั การแตก ใหเ้ หมาะสม ไดแ้ ก่ กระจายของหนิ ฝาครอบที่ แว่นตาหรอื หนา้ กาก 4 เครอื่ งขดั ตอ้ งมแี ผง ถูกตอ้ งควรมชี อ่ งเปิ ด นิรภยั รองเทา้ นิรภยั สาหรบั หนิ เจยี ร ถุงมอื นิรภยั กนั้ เศษโลหะกระเด็น ออกไปโดนผูอ้ นื่ เครอื่ งเจยี รทใี่ ชไ้ ฟฟ้ าใหต้ รวจสอบว่ามกี ารตอ่ สายดนิ ไวห้ รอื ไม่ ในกรณีทไี่ ม่มสี ายดนิ ตอ้ ง เป็ นเครอื่ งใชไ้ ฟฟ้ าทมี่ โี ครงห่อหมุ้ เป็ นพลาสตกิ และเป็ นชนิดฉนวน 2 ชนั้ (double insulation) ซงึ่ จะมสี ญั ลกั ษณส์ เี่ หลยี่ ม 2 ชนั้ ระบไุ ว ้

24 ➢ ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน 1. การเจยี รชนิ้ งานควรใชห้ นิ เจยี รชนิดหยาบกอ่ น แลว้ จงึ ใชห้ นิ เจยี รชนิดละเอยี ดอกี ครงั้ 2. แท่นรองชนิ้ งานตอ้ งวางในแนวระนาบ 3. ขณะเจยี รควรมนี า้ สาหรบั จมุ่ ชนิ้ งานทรี่ อ้ น ไมค่ วรเจยี รงานเกนิ กาลงั ของเครอื่ งเจยี ร 4. หา้ มนาวสั ดุใด ๆ มาเจยี รหรอื ลบั ทดี่ า้ นขา้ งโดยเด็ดขาด 5. ในการเปลยี่ นใบหนิ เจยี รทุกครงั้ ใหท้ าการปิ ดเครอื่ งและดงึ ปลกั๊ ออกเพอื่ เป็ นการตดั พลงั งานไฟฟ้ าออก กอ่ นเรมิ่ งานเปลยี่ นทุกครงั้ 6. ตอ้ งมกี ารเตรยี มอปุ กรณด์ บั เพลงิ ทเี่ หมาะสม เชน่ ถงั ดบั เพลงิ ไวต้ ลอดเวลาที่ ปฏบิ ตั งิ าน 7. หา้ ม ผปู้ ฏบิ ตั งิ านถอดการด์ นิรภยั หรอื ดดั แปลงเครอื่ งมอื ในขณะทางานโดยเด็ดขาด ➢ เมอื่ ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สนิ้ จดั เก็บอุปกรณไ์ วใ้ นพนื้ ทจี่ ดั เกบ็ อุปกรณ์ และทาความสะอาดพนื้ ทใี่ หเ้ รยี บรอ้ ย

25 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเกี่ยวกบั เครื่องตดั ไฟเบอร์ ก่อนการปฏบิ ตั งิ าน ตรวจเชค็ อุปกรณเ์ ครอื่ งตดั ไฟเบอรใ์ หอ้ ยใู น 1 สภาพทใี่ ชง้ านปลอดภยั ไมช่ ารุด หรอื แตกรา้ ว สารวจพนื้ ทใี่ กลเ้ คยี ง ตอ้ งไมว่ สั ดุตดิ ไฟ สารไวไฟ หากไมส่ ามารถ 2 เคลอื่ นยา้ ยวสั ดตุ ดิ ไฟหรอื สารไวไฟออกนอกพนื้ ทไี่ ด ้ ใหต้ ดิ ป้ ายเตอื น ระวงั อนั ตราย ใชผ้ า้ ใบลอ้ มบรเิ วณทที่ างาน หรอื ถาดกน้ั สะเก็ดไฟ 3 จดั ใหม้ รี ะบบระบายอากาศถา่ ยเทไดอ้ ยา่ งสะดวก 4 ควรตรวจเชค็ ความเรว็ รอบของแผนจานเลอื่ ย กอ่ นปฏบิ ตั งิ าน ระหว่างการปฏบิ ตั งิ าน 5 สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ใหเ้ หมาะสม ไดแ้ ก่ แว่นตา หรอื หนา้ กากนิรภยั รองเทา้ นิรภยั ถงุ มอื หนัง หา้ มนาเครอื่ งมอื มาเจยี รหรอื ลบั คมทดี่ า้ นขา้ ง ของใบตดั โดยเด็ดขาด 1 เน่ืองจากอาจทาใหใ้ บตดั สกึ หรอและ แตกไดง้ า่ ย 2 ชนิ้ งานจะตอ้ งถูกจบั ยดึ อยา่ งม่นั คงกอ่ นทาการตดั ชนิ้ งานเสมอ 3 ตอ้ งใชแ้ ผน่ ครอบป้ องกนั สะเก็ดไฟทเี่ กดิ ขนึ้ เสมอ หรอื การด์ ป้ องกนั

26 4 ไมค่ วรตดั ชนิ้ งานเกนิ กาลงั ของเครอื่ งตดั ไฟเบอร ์ ดูขนาดของแผ่นจานเลอื่ ย เสน้ ผา่ ศูนยก์ ลางของรูตอ้ งสวมเขา้ ไปที่ 5 กา้ นเพลาของเครอื่ งมอื ไดเ้ หมาะเจาะปราศจากชอ่ งวาง 6 ปิ ดเครอื่ งทนั ทเี มอ่ื แผ่นจานเลอื่ ยตดิ ขดั เกดิ แรงกระชากจะทาให ้ เครอื่ งกระตุก 7 หา้ มจบั ชนิ้ งานเพยี งบางส่วนหรอื ใชม้ อื จบั โดยเด็ดขาด 8 หา้ มจบั แผน่ จานเลอื่ ยขณะใชง้ านเนื่องจากแผน่ จานเลอื่ ยรอ้ น 9 จะตอ้ งถอดปลกั๊ สายไฟหรอื ยกคตั เอา้ ทก์ อ่ นทจี่ ะถอดประกอบเครอื่ ง ตดั ไฟเบอรจ์ ะตอ้ ง 10 อย่าใหเ้ ครอื่ งตดั ไฟเบอรถ์ กู ฝนหรอื ถูกนา้ อนื่ ๆ เพราะอาจทาใหเ้ กดิ การลดั วงจรและมไี ฟฟ้ า รว่ั ไหลได ้ และเป็ นอนั ตรายตอ่ ผใู้ ชง้ าน เมอื่ ปฏบิ ตั งิ านเสรจ็ สนิ้ 1.ปิ ดสวทิ ซเ์บรกเกอรท์ กุ ครง้ั จดั เก็บอปุ กรณ์ วสั ดุต่างๆ ใหเ้ รยี บรอ้ ย 2.ระวงั หลงั จากปิ ดเครอื่ งตดั ไฟเบอรแ์ ลว้ แผ่นจานเลอื่ ยยงั คงหมนุ ตอ่ ไปอกี ทาการล็อคแกนเพลาเครอื่ ง เมอื่ แผ่นจานเลอื่ ยน่ิงอยกู่ บั ทเี่ ท่านั้น

27 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนบนท่สี ูง 1 พนื้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านสงู ตงั้ แต่ 2 เมตรขนั้ ไป และเป็ นทเี่ ปิ ดมอี นั ตรายต่อการพลดั ตก ผคู้ วบคมุ งานตอ้ งออกแบบและจดั เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณป์ ้ องกนั การพลดั ตกของผปู้ ฎบิ ตั งิ าน กอ่ นเรมิ่ งาน ➢ 1.1 จดั ทาราวกนั ตกความสงู ประมาณ 90-110 ซม. ป้ องกนั การพลดั ตกในบรเิ วณทมี่ ผี ปู้ ฏบิ ตั งิ านเขา้ ใชพ้ นื ้ ที่ ➢ 1.2 จดั ทา Platform หรอื นัง้ รา้ นสาหรบั พนื ้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ าน หา้ มปีนป่ าย ยนื หรอื เดนิ ในทที่ ไี่ มไ่ ดจ้ ดั ไวใ้ ห้ 2 พนื้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านสงู ตง้ั แต่ 4 เมตรขน้ั ไป และเป็ นทเี่ ปิ ดมอี นั ตรายต่อการพลดั ตก ควรปฏบิ ตั เิ พมิ่ เตมิ ดงั นี้ ➢ 2.1 ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตองใชเ้ ข็มขดั นิรภยั รว่ มกบั สายชว่ ยชวี ติ หรอื จดุ เกยี่ วทมี่ นั่ คงแข็งแรงในขณะปฏบิ ตั งิ าน ➢ 2.2 ตรวจสอบใหม้ กี ารใชอ้ ปุ กรณป์ ้ องกนั การพลดั ตกจากทสี่ ูง และจดั ทาทยี่ ดึ ตรงึ ไวก้ บั ส่วนหนึง่ ของโครงสรา้ ง ➢ 2.3 จดั ทามาตรการป้ องกนั การกระเด็น ตกหล่นของวสั ดุ หรอื พลดั ตกของผูป้ ฏบิ ตั งิ าน โดยใชแ้ ผงกนั้ ผา้ ใบ หรอื ตาขา่ ยปิดกนั้ โดยมวี ศิ วกรควบคุมงานเป็ นผกู้ าหนด วธิ กี ารจดั ทา 3 การลาเลยี งเศษวสั ดเุ หลอื ใช ้ หรอื การสง่ อปุ กรณ์ ใหค้ นทอี่ ยูด่ า้ นบน ใหใ้ ชเ้ ครอื่ งมอื หรอื เชอื กใน การลาเลยี ง หา้ มโยนหรอื ทง้ั ลงมาเด็ดขาด

28 ควำมปลอดภยั ในกำรใช้นง่ั ร้ำน (Scaffolding) 1 ในพนื้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านทมี่ คี วามสงู ตง้ั แต่ 2 เมตรขนึ้ ไป จดั ทาอปุ กรณย์ ดึ โยง เพอื่ เกย่ี วคลอ้ งเข็ดขดั นิรภยั ไดแ้ ก่ ใหแ้ กผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านได ้ 2 น่ังรา้ นทสี่ งู ตง้ั แต่ 21 เมตร ขนึ้ ไปตอ้ งไดร้ บั การออกแบบโครงสรา้ งการรบั น้าหนักโดยวศิ วกรโยธาทไี่ ดร้ บั ใบอนุญาตเป็ นผปู้ ระกอบวชิ าชพี วศิ วกรรม(กว.) ตามทสี่ ภาวศิ วกรกาหนด 3 พนื้ ทปี่ ฏบิ ติ งิ านน่ังรา้ นตอ้ งมคี วามกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ 35 ซม. 4 พนื้ รองรบั ขาตงั้ และขอ้ ต่อของน่ังรา้ น ตอ้ งมคี วามแข็งแรงพอทจี่ ะรบั นา้ หนักของ น่ังรา้ นชนิดนั้นๆได ้ อยูใ่ นสภาพทมี่ ่นั คงแข็งแรง และควรไดร้ บั การตรวจสอบจากวศิ วกรทมี่ คี วามชานาญอยู่เสมอ 5 ตอ้ งตรวจสอบน่ังรา้ นทกุ ครง้ั กอ่ นเรมิ่ ใชง้ าน หากอปุ กรณช์ ารดุ หา้ มนามาใชโ้ ดยเด็ดขาด 6 พนื้ ทางเดนิ ตอ้ งวางและยดึ กบั โครงสรา้ งของน่ังรา้ น พนื้ น่ังรา้ นตอ้ งใชไ้ ม่เนือ้ แข็งสภาพสมบรู ณ์ ไมผ่ ุกรอ่ น และไมค่ วรใชเ้ หล็กทมี่ นี า้ หนักมากมาใชเ้ ป็ นพนื้ น่ังรา้ น 7 เสาคา้ ยนั ของน่ังรา้ นตอ้ งตง้ั ใหไ้ ดฉ้ ากกบั แนวระดบั 8 ในกรณีทพี่ นื้ น่ังรา้ นลนื่ หรอื น่ังรา้ นชารุดตอ้ งทาการแกไ้ ขทนั ทกี อ่ นปฏบิ ตั งิ าน 9 โครงสรา้ งน่ังรา้ นตอ้ งมกี ารยดึ โยงคา้ ยนั เพอื่ ป้ องกนั ไมใ่ หน้ ่ังรา้ นเอยี งหรอื ลม้ ในกรณีทตี่ อ้ งทางานใกลก้ บั สายไฟทไี่ มม่ ฉี นวนหุม้ หรอื อปุ กรณไ์ ฟฟ้ าตอ้ ง ดาเนินการจดั ใหม้ กี ารหุม้ ฉนวนทเี่ หมาะสม

29 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั ป้ั นจน่ั ชนิดเคลอื่ นที่ ผคู้ วบคมุ ปัน้ จนั่ ตอ้ งผา่ นการฝึ กอบรมเกยี่ วกบั การควบคมุ ปัน้ จนั่ และไดร้ บั บตั รประจาตวั ผบู้ งั คบั ปัน้ จนั่ เท่านัน้ 1 ผูค้ วบคมุ ป้ันจน่ั ตอ้ งสวมใส่อปุ กรณป์ ้ องกนั อนั ตราย สว่ นบุคคลใหค้ รบถว้ น เชน่ รองเทา้ นิรภยั หมวกนิรภยั เป็ นตน้ 2 ทาการตรวจสอบอปุ กรณต์ ่าง ๆ ของป้ันจน่ั ทุกครงั้ กอ่ นเรมิ่ งาน หากพบว่าอปุ กรณช์ ารดุ เสยี หายใหร้ บี แจง้ หวั หนา้ งานทนั ที 3 ผูค้ วบคมุ การป้ันจน่ั ตอ้ งรจู ้ กั สญั ญาณทใี่ ช ้ ในการยกหรอื เคลอื่ นยา้ ยวสั ดไุ ดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 4 หา้ มยกชนิ้ งานเกนิ พกิ ดั นํา้ หนักตามมาตรฐานทกี่ าหนดไว้ 5 กอ่ นยกเคลอื่ นยา้ ยวสั ดุตอ้ งใชต้ นี ชา้ ง (Outrigger) ยนั กบั พนื้ ทมี่ น่ั คงแข็งแรงใหเ้ รยี บรอ้ ย 6 ยกขนึ้ ครง้ั แรกอยา่ งชา้ ๆและยกขนึ้ เพยี งเล็กนอ้ ยเพอื่ ตรวจสอบความสมดลุ และความสามารถในการยก 7 การทางานยกชนิ้ งานหรอื วสั ดทุ ุกครงั้ จะตอ้ งประกอบไปดว้ ย ผูค้ วบคุมปั้นจน่ั ผใู้ หส้ ญั ญาณแกผ่ ูบ้ งั คบั ปั้นจน่ั และผเู้ กาะเกยี่ ววสั ดหุ รอื ชนิ้ งาน

30 8 หา้ ม ผปู้ ฏบิ ตั งิ านโดยสารหรอื เกาะบนสงิ่ ของทที่ าการยกโดยเด็ดขาด 9 ใหส้ ญั ญาณทกุ ครง้ั ทที่ าการยกชนิ้ งาน ลอยสูงจากพนื้ เชน่ สญั ญาณเสยี ง , สญั ญาณแสง เป็ นตน้ 10 กรณีมลี มพดั แรงมากจนวสั ดทุ เี่ คลอื่ นยา้ ยแกว่งไป มาอยา่ งรุนแรงตอ้ งรบี วางวสั ดลุ งทนั ที 11 การใชป้ ้ันจน่ั ใกลก้ บั สายไฟฟ้ าแรงสงู ชนิ้ สว่ นตา่ งๆของปั้นจน่ั ตอ้ งห่างจากสายไฟ ไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตรหรอื ตามขนาดของแรงเคลอื่ นไฟฟ้ าถา้ ไมส่ ามารถทาตามระยะที่ กาหนดไดต้ อ้ งมผี คู้ อยสงั เกตและใหส้ ญั ญาณเตอื น 12 การปฏบิ ตั งิ านตอนกลางคนื ควรมไี ฟแสงสวา่ งใหเ้ พยี งพอ แตแ่ สงไฟตอ้ งไม่รบกวนการปฏบิ ตั งิ านของผูค้ วบคุมป้ันจน่ั 13 ตอ้ งบารุงรกั ษาเป็ นระยะฯโดยเฉพาะบรเิ วณทมี่ กี ารเคลอื่ นไหวหรอื เสยี ดสี 14 หา้ มผบู้ งั คบั ปั้นจน่ั ใชโ้ ทรศพั ท ์ วทิ ยเุ ทป หรอื สบู บุหรใี่ นขณะทกี่ ารบงั คบั ป้ันจน่ั เพอื่ ยกชนิ้ งาน NO 15 ตอ้ งจดั ใหม้ กี ารตรวจสอบตามระยะเวลาทกี่ ฎหมายกาหนด

31 ควำมปลอดภยั ในกำรใช้งำน เชอื ก ลวดสลงิ และรอก 1 ตอ้ งทราบถงึ คุณลกั ษณะ ขอ้ กาหนดในการใชง้ าน เชอื ก ลวดสลงิ และรอก กอ่ นเรมิ่ งาน 2 ตรวจสอบเชอื ก ลวดสลงิ รอก และอปุ กรณป์ ระกอบเบอื้ งตน้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพปลอดภยั พรอ้ มใชง้ าน และตรวจตามระยะเวลา ทผี่ ผู้ ลติ หรอื วศิ วกรกาหนด 3 หา้ มใชเ้ ชอื ก ลวดสลงิ หรอื รอก หอ้ ย โหน เกาะ 4 หลงั ใชง้ านตอ้ งจดั เก็บ บารงุ รกั ษาเชอื ก ลวดสลงิ รอก ตามขอ้ กาหนดของ ชนิด ประเภท 5 จดั ใหม้ ปี ้ ายเตอื นอนั ตราย การใชเ้ ชอื ก ลวดสลงิ รอก เนื่องจากการตกหล่น ดดี หรอื กระเด็น ตดิ ไวใ้ หเ้ ห็นชดั เจน บรเิ วณทมี่ กี ารใชง้ าน ความปลอดภยั ในการใชง้ านเชอื ก 1 ใชเ้ ชอื กทมี่ คี ่าความปลอดภยั ไมน่ อ้ ยกว่า 5 2 ควบคมุ และตรวจสอบไม่ใหน้ าเชอื กผุเปื่อย ยยุ่ ชารดุ สกปรก หรอื พอง 3 หา้ มนาเชอื กสลงิ ใยสงั เคราะหท์ มี่ ลี กั ษณะดงั ต่อไปนี้ มาใชง้ าน • มรี อยเย็บปริ หรอื ขาด • มเี ศษโลหะหรอื สงิ่ อนื่ ใดฝังตวั อยใู่ นเสน้ ใย หรอื เกาะทผี่ วิ • มรี อยเนื่องจากความรอ้ นหรอื สารเคมี 4 เชอื กสาหรบั การยก ดงึ ลาก ผกู มดั หรอื ยดึ โยงหา้ มให ้ ถู ลาก กบั พนื้ ดนิ หรอื พนื้ ผวิ ขรุขระในขณะใชง้ าน 5 ทาความสะอาดเชอื กหลงั จากใชง้ านเสรจ็ สนิ้ แลว้

32 ความปลอดภยั ในการใชง้ านลวดสลงิ 1 หา้ มใหส้ ลงิ ถูกของหนักกดทบั เพราะจะทาใหล้ วดสลงิ เกดิ การงอและคนื ตวั ไดไ้ มด่ ี 2 หา้ มลากหรอื ถูลวดสลงิ กบั ของมคี ม 3 ไม่ใหล้ วดสลงิ เกดิ แรงกระตกุ (Shock Load) 4 หาวสั ดุเพอื่ ใชร้ องรบั ส่วนทมี่ คี ม กรณียกของทมี่ คี ม 5 ทาความสะอาดลวดสลงิ หลงั จากใชง้ านเสรจ็ สนิ้ หลกี เลยี่ งการเกบ็ ในทมี่ อี ณุ หภมู สิ ูงเพราจะทาใหร้ บั น้าหนักไดน้ อ้ ยลงกว่าเดมิ ความปลอดภยั ในการใชง้ านรอก ➢ หา้ มนารอก มาใชง้ านผดิ ประเภท เชน่ นารอกทใี่ ชก้ บั เชอื ก มาใชก้ บั ลวดสลงิ ➢ รอกทนี่ ามาใชง้ าน ตอ้ งไม่แตกบนิ่ สกึ หรอ หรอื ชารดุ ➢ ขณะใชง้ านตอ้ งมอี ุปกรณป์ ้ องกนั เชน่ ครอบรอก รอกชว่ ย เพอ่ื ไม่ใหเ้ ชอื ก ลวดสลงิ หลุดจากรอ่ งรอก ➢ หา้ มใหผ้ ทู้ ไี่ มม่ หี นา้ ทเี่ กยี่ วขอ้ งเขา้ ไปในบรเิ วณ เขตทมี่ กี ารใชร้ อกเหนือระดบั พนื้ ทางเดนิ ➢ ควบคุม ตรวจสอบการใชช้ ดุ รอกทใี่ ชแ้ ขวนกระเชา้ น่ังรา้ น (Suspended Scaffold) ใหเ้ ป็ นไปตามคณุ ลกั ษณะของชดุ รอก ➢ ตอ้ งมคี วามแข็งแรงสมบรู ณส์ ามารถใชง้ านไดอ้ ย่างปลอดภยั

33 ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนสำนกั งำน หา้ ม หยอกลอ้ กนั ในสานักงาน หา้ มวางสงิ่ ของกดี ขวางทางเดนิ ทางหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน ไมค่ วรเปิ ดลนิ้ ชกั โตะ๊ ทงิ้ ไว เพราะอาจจะสะดดุ ได ้ ไม่ควรยนื บนเกา้ อลี้ อ้ ลนื่ เพอื่ หยบิ ของหรอื กระทาการใด ขณะเดนิ ถงึ มมุ ตกึ ใหเ้ ดนิ ทางขวาของทางเดนิ เดนิ ชา้ ๆ อยา่ ง ระมดั ระวงั สายโทรศพั ทห์ รอื สายไฟฟ้ าตดิ ตงั้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย ไม่กดี ขวางทางเดนิ อย่าอย่ใู กลบ้ รเิ วณประตูทเี่ ปิ ดอยู่ ประตอู าจปิ ดมากระแทกได ้ ทาความสะอาดและกาจดั ขยะ ฝ่ นุ ผง หรอื เศษกระดาษทกุ วนั สบู บหุ รใี่ นทที่ จี่ ดั ไวใ้ ห ้ ทราบตาแหน่งและวธิ กี ารใชถ้ งั ดบั เพลงิ และเสน้ ทางหนีไฟ

34 ควำมปลอดภยั ในกำรใช้เคร่ืองมอื ชำ่ ง 1 เลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื ทเี่ หมาะสมกบั งานทที่ า 2 รกั ษาเครอื่ งมอื ใหอ้ ย่ใู นสภาพทดี่ อี ยเู่ สมอ ตรวจสอบสภาพกอ่ นใชง้ านทกุ ครง้ั 3 ซอ่ มแซม หรอื หาเครอื่ งมอื ใหม่ทดแทนเครอื่ งมอื ที่ ชารดุ ทนั ที 4 ลา้ งนา้ มนั จากเครอื่ งมอื หรอื ชนิ้ งานกอ่ นการใชง้ านและ ทงิ้ ขยะตามชนิด/ประเภทของขยะ 5 ตรวจสอบและปฏบิ ตั ติ ามขอ้ แนะนาการใชเ้ ครอื่ งมอื 6 จบั หรอื ถอื เครอื่ งมอื ใหก้ ระชบั 7 กอ่ นเรมิ่ งานตอ้ งตรวจสอบสภาพต่างๆ โดยรอบหรอื บรเิ วณพนื้ ทที่ ที่ างาน กอ่ นทกุ ครง้ั ควำมปลอดภยั ในกำรทำงำนเก่ียวกบั สำรเคมี 1 ศกึ ษา ขอ้ มลู อนั ตรายของสารเคมแี ละการใชอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง 2 ลา้ งมอื ทกุ ครงั้ หลงั ปฏบิ ตั งิ านกบั สารเคมี 3 สวมใส่อปุ กรณ์ PPE ใหเ้ หมาะสมกบั งานสารเคมี 4 ทาความสะอาดทุกครงั้ หลงั เลกิ งาน 5 ปิ ดฝาภาชนะใหแ้ น่นทุกครง้ั หลงั เลกิ งาน 6 อยา่ ทดสอบโดยการสดู ดม 7 จดั เก็บสารเคมไี วใ้ นทอี่ ากาศถ่ายเทสะดวก หากจากแหล่งประกายไฟ 8 อยา่ ปฏบิ ตั งิ านตามลาพงั หรอื ไม่มสี ว่ นทเี่ กย่ี วขอ้ ง 9 ศกึ ษาและทาความเขา้ ใจเอกสารขอ้ มลู ความปลอดภยั สารเคมี (SDS) ที่ ตดิ ไวบ้ รเิ วณพนื้ ทจี่ ดั เก็บอยา่ ง 10 ละเอยี ด การเกบ็ สารเคมคี วรแยกเกบ็ ใหเ้ ป็ นระเบยี บตามชนิดและ ประเภทของสารเคมี

35 เมอื่ สารเคมกี ระเด็นโดนผวิ หนังควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ➢ รบี ลา้ งบรเิ วณทโี่ ดนสารเคมที นั ทอี ย่างนอ้ ย 15 นาที ➢ ถอดเสอื้ ผา้ ทถี่ กู สารเคมอี อกทนั ทแี ละชาระลา้ งรา่ งกายทนั ที เมอื่ สารเคมกี ระเด็นเขา้ ตาควรปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ➢ ลา้ งดว้ ยนาสะอาดโดยใหน้ ้าไหลผา่ นตาประมาณ 15 นาที ➢ รบี พบแพทยห์ รอื พยาบาลทนั ที ควำมปลอดภยั ในกำรเคลอื่ นย้ำยวสั ดุสง่ิ ของ หรือยกของหนกั สำรเคมี มาตรฐานและขอ้ กาหนดตามกฏหมาย มกี ารแบ่งประเภทไวด้ งั นี้ - 20 กโิ ลกรมั สาหรบั พนักงานเด็กหญงิ อายุตงั้ แต่ 15 ปี แตย่ งั ไม่ถงึ 18 ปี - 25 กโิ ลกรมั สาหรบั พนักงานเด็กชายอายตุ งั้ แต่ 15 ปีแตย่ งั ไม่ถงึ 18 ปี - 25 กโิ ลกรมั สาหรบั พนักงานหญงิ - 55 กโิ ลกรมั สาหรบั พนักงานชาย หากตอ้ งยกของหนักเกนิ ทกี่ าหนด จะตอ้ งหาคนชว่ ย หรอื ตอ้ งใชเ้ ครอื่ งทุ่นแรงในการชว่ ยยก

36 การเคลอื่ นยา้ ยสงิ่ ของมวี ธิ ที แี่ ตกตา่ งกนั ไป ดงั นี้ การเคลอื่ นยา้ ยดว้ ยมอื 1. ดคู วามสามารถดา้ นรา่ งกายของตวั เอง “ยกไหวหรอื ไม่” 2. ยอ่ ตวั ลงหรอื น่ังยองๆ หลงั ตรง จบั ของนั้นใหม้ ่นั คงดว้ ยฝ่ ามอื 3. ยกวตั ถุขนึ้ ตรงๆ ใหเ้ ขา่ เป็ นส่วนทรี่ บั น้าหนัก หลงั ตรง ใชก้ าลงั ขา อย่าใชก้ าลงั ของส่วนหลงั เป็ นอนั ขาด 4. วางวตั ถลุ ง ใชห้ ลกั การเดยี วกบั การยกของขนึ้ การเคลอื่ นยา้ ยดว้ ยรถเข็น หรอื เครอื่ งทุน้ แรง (Hand Lift) 1 การเข็นรถเข็น ควรใชด้ นั ไม่ควรดงึ ใหเ้ ลอื่ น 2 หา้ มวางของบนรถเข็นสงู เกนิ ไปทาใหม้ องไม่ เห็นทางหรอื ทาใหข้ องตกหล่นเสยี หาย 3 การเข็นรถลงทางทลี่ าดชนั อาจจะเกดิ อนั ตราย ตอ้ งมคี น ชว่ ยพยงุ หรอื ลดการไหลของรถ

37 ผูป้ ฏบิ ตั ทิ ุกคนตอ้ งสงั เกต และปฏบิ ตั ติ ามป้ ายหา้ ม ป้ ายเตอื นอยา่ งเครง่ ครดั ป้ ายสัญลักษณ์ความปลอดภัย (SAFETY SIGNS)

38 การป้ องกันและระงับอัคคีภัย ➢ องคป์ ระกอบของไฟ ➢ ประเภทของไฟ แบ่งตามมาตรฐานของสมาคมป้ องกนั อคั คภี ยั ของสหรฐั อเมรกิ า (National Fire Protection Association : NFPA)

39 ➢ ประเภทของถงั ดบั เพลงิ และการใชง้ าน ❖ หลกั การตรวจสอบถงั ดบั เพลงิ

40 ❖ ขน้ั ตอนการใชถ้ งั ดบั เพลงิ ❖ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั เิ มอื่ เกดิ เหตุเพลงิ ไหม้

41 เส้นทำงหนไี ฟและจุดรวมพล กรณเี กิดเหตุเพลงิ ไหม้

42 การป้องกนั อคั คภี ยั เป็นหนา้ ที่ของทุกคน ท่ีตอ้ งปฏบิ ตั ิอยา่ งเคร่งครัด

43 การป้ องกนั อคั คภี ยั เป็ นหนา้ ทขี่ องทุกคน ทตี่ อ้ งปฏบิ ตั อิ ย่างเครง่ ครดั หา้ มสูบบหุ รี่ หรอื ทาใหเ้ กดิ เก็บวสั ดุหรอื อปุ กรณต์ อ้ งสะอาด ประกายไฟ เป็ นระเบยี บเรยี บรอ้ ย เชอื้ เพลงิ สารไวไฟ หรอื สารเคมี หา้ มทงิ้ กน้ บหุ รี่ ลงในตะกรา้ ถงั จดั เก็บและขน ยา้ ยใหถ้ กู วธิ แี ละ ขยะ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อคั คภี ยั ใชค้ วามระมดั ระวงั เป็ นพเิ ศษ หมน่ั ตรวจสอบอปุ กรณป์ ้ องกนั และระงบั อคั คภี ยั หา้ มมสี งิ่ ของวาง เสน้ ทางหนีไฟ ทางเดนิ ต่างๆ จะตอ้ งรกั ษาความสะอาด และไม่ กดี ขวางเด็ดขาด วางสงิ่ ของกดี ขวางทางเด็ดขาด เศษผา้ เศษวสั ดทุ เี่ ปื้อนนํา้ มนั ฝึ กซอ้ มดบั เพลงิ เบอื้ งตน้ และ เศษวสั ดอุ นื่ ๆ ทตี่ ดิ ไฟไดจ้ ะตอ้ ง ซอ้ มอพยพหนีไฟ ตาม กฎหมายกาหนด แยกประเภทใหช้ ดั เจน

44 การปฐมพยาบาลเบ้อื งตน การปฐมพยาบาลคอื การใหค้ วามชว่ ยเหลอื ขน้ั แรก ทนั ทที นั ใดในทเี่ กดิ เหตุ โดยใชเ้ ครอื่ งมอื อปุ กรณเ์ ท่าทจี่ ะพอหาได ้ เพอ่ื ลดความรุนแรงของการบาดเจบ็ กอ่ นทจี่ ะนาผปู้ ่ วยไปพบ แพทย ์ คาเตอื น ผทู้ ไี่ ม่มคี วามรูใ้ นการปฐมพยาบาล อาจเพมิ่ ความรนุ แรงของ การบาดเจบ็ ได ้ การปฐมพยาบาลคนเปนลม 1 เมอื่ ผปู้ ่ วยรสู ้ กึ เวยี นศรี ษะ หนา้ มดื ใหผ้ ปู้ ่ วยสูดหายใจ ยาวๆ และนาผูป้ ่ วยไปอยใู่ นทที่ มี่ อี ากาศบรสิ ทุ ธิ ์ 2 ถา้ ผปู้ ่ วยหมดสตคิ วร ใหผ้ ปู้ ่ วยนอนหงาย ศรี ษะตา่ กวา่ ลาตวั เล็กนอ้ ย หรอื นอนราบและปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ▪ คลายเสอื้ ผา้ ใหห้ ลวม ▪ กนั คนอยา่ ใหม้ งุ เพอื่ ใหอ้ ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก ▪ ใหด้ มยาดมหรอื แอมโมเนีย ▪ เชด็ เหงอื่ ผูป้ ่ วยใหแ้ หง้ ▪ ถา้ ยงั ไมฟ่ ื้นตอ้ งใหค้ วามอบอนุ่ ผายปอด และรบี พาไปพบแพทยท์ นั ที บาดแผล / แผลไฟไหม้ ▪ ใชน้ ิว้ หวั แมม่ อื กดปากแผลนาน 10 นาที เพอื่ ใหเ้ ลอื ดแข็งตวั ▪ กรณีแผลใหญ่ ใชผ้ า้ สะอาดปิ ดปากแผล ▪ กรณีแผลไฟไหม้ ใหแ้ ชน่ า้ เย็นจดั หรอื ใชน้ ้าแข็งหอ่ ผา้ ปิ ดบรเิ วณ แผลซงึ่ จะชว่ ยลดการทาลายเนือ้ เยอื่ ▪ นาผปู้ ่ วยส่งพยาบาล / แพทย ์

45 เศษวสั ดกุ ระเดน็ เขา้ ตา ▪ ฝ่ นุ ละอองท่วั ไปเขา้ ตา ใหล้ า้ งตาหรอื ลมื ตาในนา้ สะอาด ▪ ฝ่ นุ ละอองทมี่ คี วามคมฝังอยใู่ นตา หา้ มเขยี่ ออกเอง เพราะอาจทาใหเ้ กดิ การฉกขาดของกระจกตา ▪ ใชผ้ า้ สะอาดปิ ดตาเบา ๆ หลบั ตา เพอ่ื ลดการ เคลอื่ นไหว แลว้ รบี นาสง่ แพทย ์ แผลจากการฟกซาํ้ ▪ หยดุ พกั การใชก้ ลา้ มเนือ้ สว่ นนั้นทนั ที ▪ ยกบรเิ วณทฟี่ กซา้ ใหส้ งู ▪ ประคบดว้ ยความเย็น 24 ชม.แรก ชว่ ยบรรเทาความเจ็บปวด และทาใหเ้ สน้ เลอื ดตบี เลอื ดออกนอ้ ยลง ไมบ่ วมมาก ▪ หรอื ใชผ้ า้ พนั ใหแ้ น่น ชว่ ยใหเ้ ลอื ดหยุดและจากดั การเคลอื่ นไหวดว้ ย ▪ ประคบความรอ้ นหลงั 24 ชม. ใชร้ ว่ มกบั การนวดเบาๆ เพอ่ื ใหม้ กี ารดดู ซมึ ของเลอื ดดขี นึ้ กระดูกหกั ▪ ใหผ้ ูป้ ่ วยนอนนิ่งๆ ▪ เขา้ เฝื อกชว่ั คราว เพอื่ ป้ องกนั กระดกู เคลอื่ น ▪ นาสง่ แพทย ์ / พยาบาล

46 การช่วยเหลือผูป้ ระสบอันตรายจากไฟฟ้ า ขอ้ หา้ มทสี่ าคญั ทไี่ ม่ควร ทาเมอื่ ถูกไฟฟ้ าชอ๊ ต 1 หา้ มเขา้ ไปชว่ ยผู้ จนกว่าจะ แน่ใจวา่ ผบู้ าดเจ็บไมไ่ ดส้ มั ผสั กบั สายไฟฟ้ าหรอื ตวั นาไฟฟ้ าใด ๆ 2 ตดั วงจรไฟฟ้ าทลี่ ดั วงจรกอ่ น เขา้ ไปชว่ ยเหลอื 3 หา้ มเขา้ ไปชว่ ย ถา้ ผวิ หนังผู้ ทจี่ ะชว่ ยน้ันเปี ยก เพราะอาจเป็ น ตวั นากระแสไฟฟ้ าและถกู ไฟฟ้ า ดูดได ้ 4 ถา้ ไมแ่ น่ใจวา่ ปลอดภยั ใน การชว่ ยเหลอื เนื่องจากไมม่ ี ความรใู ้ นการตดั กระแสไฟ วงจรไฟฟ้ าหรอื วธิ กี ารชว่ ยเหลอื ทถี่ ูกตอ้ ง ใหร้ บี ตามคนมาชว่ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook