Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1

หน่วยที่ 1

Published by มธุกร เตชะวัฒนาพร, 2019-05-06 23:40:16

Description: ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

1 บทท่ี 1 ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ จดุ กาเนดิ ของคอมพวิ เตอร์ ต้นกาเนดิ ของคอมพิวเตอรอ์ าจกล่าวได้ว่ามาจากแนวความคิดของระบบตัวเลข ซ่ึงได้พัฒนาเป็นวิธีการคานวณ ตา่ ง ๆ รวมทั้งอปุ กรณ์ทช่ี ว่ ยในการคานวณอยา่ งง่าย ๆ คือ\" กระดานคานวณ\" และ \"ลูกคดิ \" ในศตวรรษท่ี 17 เคร่ืองคาแบบใช้เฟื่องเครื่องแรกได้กาเนิดขึ้นจากนักคณิตศาสตร์ชาวฝร่ังเศษ คือ Blaise Pascal โดยเคร่ืองของเขาสามารถคานวณการบวกการลบได้อย่างเท่ียงตรง และในศตวรรษเดียวกันนัก คณิตศาสตร์ชาวเยอร์มันคือ Gottried Wilhelm von Leibniz ได้สร้างเคร่ืองคิดเลขเคร่ืองแรกที่สามารถคูณ และหารไดด้ ้วย ในต้นศตวรรษที่ 19 ชาวฝร่ังเศษช่ือ Joseph Marie Jacquard ได้พัฒนาเคร่ืองทอผ้าท่ีสามารถโปแกรมได้ โดยเคร่ืองทอผ้าน้ีใช้บัตรขนาดใหญ่ ซึ่งได้เจาะรู้ไว้เพ่ือควบคุมรูปแบบของลายท่ีจะปัก บัตรเจาะรู(punched card) ที่ Jacquard ใช้นี้ได้ถูกพัฒนาต่อๆมาโดยผู้อื่น เพ่ือใช้เป็นอุปกรณ์ป้อนข้อมูลและโปรแกรมเข้าเคร่ือง คอมพิวเตอร์ในยุคแรกๆ ต่อมาในศตวรรษเดียวกัน ชาวอังกฤษช่ือ Charles Babbage ได้ทาการสร้างเคร่ืองสาหรับแก้สมการโดยใช้ พลังงานไอน้า เรียกว่าdifference engine และถัดจากน้ันได้เสนอทฤษฎีเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์สมัยใหม่ เม่ือ เขาไดท้ าการออกแบบ เครอื่ งจกั รสาหรับทาการวิเคราะห์ (analytical engine) โดยใชพ้ ลงั งานจากไอน้า ซึ่งได้ มีการออกแบบให้ใช้บัตรเจาะรูของ Jacquard ในการป้อนข้อมูล ทาให้อุปกรณ์ช้ินนี้มีหน่วยรับข้อมูล หน่วย ประมวลผล หนว่ ยแสดงผล และหนว่ ยเก็บขอ้ มลู สารอง ครบตามรูปแบบของคอมพวิ เตอร์สมัยใหม่ แต่โชคไม่ดี ท่ีแม้ว่าแนวความคิดของเขวจะถูกต้อง แต่เทคโนโลยีในขณะน้ันไม่เอ้ืออานวยต่อการสร้างเครื่องที่สามารถ ทางานได้จริง อย่างไรก็ดี Charles Babbage ก็ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาของคอมพิวเตอร์คนแรก และ ผู้รว่ มงานของเขาคอื Augusta Ada Byron ก็ไดร้ บั การยกย่องวา่ เป็นนกั เขียนโปรแกรมคนแรกของโลก

2 เครือ่ ง Difference Engine ของ Charles Babbage จากนั้นประมาณปี ค.ศ. 1886 Dr.Herman Hollerith ได้พัฒนาเครื่องจัดเรียงบัตรเจาะรูแบบ electromechanical ขึ้น ซ่ึงทางานโดยใช้พลังงานไฟฟ้า และสามารถทาการ จัดเรียง (sort) และ คัดเลือก (select) ข้อมลู ได้ ต่อมาในปี ค.ศ. 1896 Hollerith ได้ทาการก่อต้ังบริษัทสาหรับเคร่ืองจักรในการจัดเรียงช่ือ Tabulating Machine Company และในปี ค.ศ.1911 Hollerith ได้ขยายกิจการโดยเข้าหุ้นกับบริษัทอ่ืนอีก 2 บริษัทจัดตั้งเป็นบริษัท Computing -Tabulating-Recording-Company ซึ่งประสบความสาเร็จเป็นอย่าง มาก และในปี ค.ศ. 1924 ได้เปลยี่ นช่ือเป็น International Business Corporation หรือท่ีรู้จักกันต่อมาในชื่อ ของบริษัท IBM นั่นเอง เครอื่ งจดั เรียงบัตรเจาะรูของ Dr. Her Hollerith ในปี ค.ศ.1939 Dr. Howard H. Aiken จาก Harvard University ได้ร่วมมือกับบริษัท IBM ออกแบบ คอมพิวเตอร์โดยใช้ทฤษฎีของ Babbage และในปี ค.ศ.1944 Harvard mark I ก็ได้ถือกาเนิดข้ึนเป็น คอมพิวเตอร์เคร่ืองแรก ซึ่งมีขนาดยาว 5 ฟุต ใช้พลังงานไฟฟ้าและใช้ relay แทนเฟือง แต่ยังทางานได้ช้าคือ ใช้เวลาประมาณ 3-5 วินาทีสาหรับการคูณ

3 การพฒั นาทส่ี าคัญกับ Mark I ได้เกิดขึ้นปี 1946 ดดย Jonh Preper Eckert, Jr. และ Dr. Jonh W.Msuchly จาก University of Pennsylvnia ได้ออกแบบสร้างเครื่อง ENIAC ( Electronic Numeric Integator and Calcuator ) ซ่ึงทางานไดเ้ รว็ อย่ใู นหน่วยของหนึ่งสว่ นล้านวินาที ในขณะท่ี Mark I ทางานอยู่ในหน่วยของหนึ่ง ส่วนพันล้านเท่า โดยหัวใจของความสาเร็จน้ีอยู่ท่ีการใช้หลอดสูญญากาศมาแทนท่ี relay น่ันเอง และถด จากนัน้ Mauchly และ Eckert กท็ าการสรา้ ง UNIVAC ซง่ึ เป็นคอมพวิ เตอร์อิเลก็ ทรอนสิ ์เพ่ือการค้าเคร่ืองแรก ของโลก เครอ่ื ง ENIAC สงู 10 ฟุต กว้าง 10 ฟตุ และยาว 10 ฟุต การพัฒนาท่ีสาคัญได้เกิดขึ้นมาอีก เม่ือ Jonh von Neumann ซึ่งเป็นท่ีปรึกษาของโครงการ ENIAC ได้เสนอ แผนสาหรับคอมพิวเตอร์เครื่องแรกที่จะทาการเก็บโปรแกรมไว้ในหน่วยโปรแกรมไว้ในหน่วยความจาที่ เหมือนกับทเี่ กบ็ ขอ้ มูล ซงึ่ พัฒนาการนี้ทาใหส้ ามารถเปลี่ยนวงจรของคอมพิวเตอร์ได้โดยอัตโนมัติแทนท่ีจะต้อง ทาการเปลี่ยนสวิทต์ด้วยมือเหมือนช่วงก่อน นอกจากนี้ Dr. Von neumann ยังได้นาระบบเลขฐานสองมาใช้ ในคอมพิวเตอร์ซ่ึงหลักการต่างๆเหล่านี้ได้ทาให้เครื่อง IAS ท่ีสร้างโดย Dr. von Neumann เป็นเคร่ือง คอมพิวเตอร์เอนกประสงค์เครื่องแรกของโลก เป็นการเปิดศักราชของคอมพิวเตอร์อย่างแท้จริงและยังได้เป็น บิดาคอมพวิ เตอรค์ นท่ี 2  ยคุ ของคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์มกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เน่ือง สามารถแบง่ ออกไดโ้ ดยแบง่ สว่ นประกอบของฮาร์ดแวร์ (Hardward ) เปน็ 4 ยุคดว้ ยกัน o ยคุ ที่ 1 (1951-1958) ก่อนหน้าปี 1951 เคร่ืองคอมพิวเตอร์จะมีใช้เฉพาะนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร และทหารเท่านั้น จนกระทั่งผู้สร้าง ENIAC คือ Mauchly และ Eckert ได้จัดต้ังบริษัทเพ่ือทาตลาดเชิงพาณิชย์ของเครื่องรุ่นถัด มาของพวกเขา คือเครื่อง UNIVAC ซ่ึงคอมพิวเตอร์ในยุคน้ีจะมี หลอดสูญญากาศ และ ดรัมแม่เหล็ก (magnetic drum) เป็นสว่ นประกอบสาคัญ แตห่ ลอดสญุ ญากาศจะมีไม่นา่ เชื่อถอื สูง

4 เป็นเหตุให้ต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการทาให้เครื่องในยุคน้ันสามารถทางานได้ ส่วนดรัม แม่เหล็กถูกใช้เป็นหน่วยความจาหลัก (primary memory) บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนมากในยุคแรกน้ี ส่วน หน่วยบันทึกข้อมูลสารอง (secondary storage) ซึ่งใช้เก็บท้ังข้อมูลและคาส่ังโปรแกรมในยุคน้ีจะอยู่ในบัตร เจารู จนปลายยคุ น้ีเทปแม่เหลก็ จงึ ไดถ้ กู นามาใชเ้ ป็นหน่วยบนั ทกึ ข้อมูลสารอง ภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคนี้จะอยู่ในรูปของภาษาเคร่ือง ซึ่งเป็นตัวเลขฐาน 2 ทั้งส้ิน ทาให้ผู้ท่ีจะสามารถ โปรแกรมให้เครอ่ื งทางานได้ ต้องเป็นผ้เู ชยี่ วชาญเทา่ นนั้ เครอื่ ง UNIVAC o ยุคที่ 2 (1959-1964) การพัฒนาที่สาคัญที่สุดที่แบ่งแยกยุคน้ีออกจากยุคแรก คือการแทนที่หลอดสูญญากาศด้วย ทรานซิสเตอร์ (transistor) หน่วยความจาพ้ืนฐานก็ได้มีการพัฒนามาเป็น magnetic core รวมทั้งมีการ ใช้ magnetic disk ซึ่งเปน็ หนว่ ยบันทึกขอ้ มลู สารองทีม่ คี วามเรว็ สูงขึ้น นอกจากนี้ สว่ นประกอบที่คอมพิวเตอร์ ได้ถูกรวบรวมเข้าไว้ใน แผ่นวงจรพิมพ์ลาย (printed circuit boards) ซ่ึงง่ายต่อการเปลี่ยนและมีการสร้าง โปรแกรมวิเคราะห์เพื่อหาส่วนผิดพลาดได้อยา่ งรวดเรว็ ภาษาโปรแกรมระดับสูง เช่น FORTRAN และ COBOL ได้ถูกใช้ในการโปรแกรมสาหรับยุคน้ี โปรแกรมเมอร์ สามารถใช้งานภาษาเหล่านี้ได้สะดวกกว่าคอมพิวเตอร์ในยุคท่ี 1 เนื่องจากมีไวยากรณ์ที่คล้ายคลืงกับ ภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ดี เน่ืองจากคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้แต่เฉพาะกับภาษาเคร่ือง ทาให้ต้องใช้ โปรแกรมตวั อื่น คอื compiler และ interpreter ในการแปลงภาษาระดบั สูงใหเ้ ปน็ ภาษาเครอ่ื ง ในยุคที่ 2 เร่ิมมีการติดต่อส่ือสารระหว่างคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องที่อยู่ห่างกันโดยผ่านสายโทรศัพท์ ถึงแม้ว่าจะ ติดส่ือสารกันได้ช้ามากก็ตาม ปัญหาในยุคนี้คืออุปกรณ์รับข้อมูลและอุปกรณ์แสดงผลทางานได้ช้ามาก ทาให้ คอมพิวเตอร์ต้องรอการรับข้อมูลหรือการแสดงผลบ่อย ๆ ซึ่ง Dr.Daniel Slotnick ได้ทาการพัฒนาเพ่ิมเติม โดยใช้หลักการของการประมวลผลแบบขนานกัน นอกจากนั้ยังมีกลุ่มคณาจารย์และนักเรียกจาก Massachusetts Instiute of Technoligy พฒั นาระบบ มัลติโปรแกรมม่ิง (multiprogramming) ซึ่งเป็นการ

5 จัดสรรใหค้ อมพิวเตอรท์ างานหลายโปรแกรมพร้อม ๆ กนได้ ทาใหไ้ มต่ อ้ งเสียเวลารอหน่วยรับข้อมูลและหน่วย แสดงผลอีกต่อไป o ยุคท่ี 3 (1965-1971) ในยุคท่ี 3 เป็นยุคของอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ที่มีการเติบโตมาก ได้มีการนา แผงวงจรรวม (IC หรือ integrated circuits) ซึ่งประกอบด้วยทรานซิสเตอร์และวงจรไฟฟ้าที่รวอยู่บนแผ่นซิลิกอนเล็ก ๆ มาแทนการ ประกอบแผ่นวงจรพิมพ์ลาย ทาให้เวลาการทางานขิงคอมพิวเตอร์ลดลงอยู่ในหน่วยหน่ึงส่วนพันล้านวินาที นอกจากนี้ มินิคอมพิวเตอร์ได้ถือกาเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1965 คือเครื่อง PDP-8 ของ Digital Equipment Corportion (DEC) ซึ่งต่อมาก็มีการใช้มินิคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถติดต่อกับคอมพิวเตอร์กันอย่างแผร่หลาย รวมท้ังมีการใช้งาน เทอร์มินัล (terminal) ซ่ึงเป็นจอคอมพิวเตอร์ผ่านทางคีย์บอร์ด (keyboard) ทาให้การ ป้อนขอ้ มูลและพัฒนาโปรแกรมกระทาไดส้ ะดวกขึ้น แผงวงจรรวมเปรียเทียบกันทรานซสิ เตอรแ์ ละหลอดสูญญากาศ ภาษาโปรแกรมระดับสูงได้เกิดข้ึนมากมานในยุคท่ี 3 เช่น RPG APL BASICA เป็นต้น และได้มีการ เปิดตัว โปรแกรมจัดการระบบ (Operating system) ซึ่งช่วยให้สามารถบริการทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากน้ี ระบบแบ่งเวลา (time sharing) ก็ทาให้สามารถติดต่อเทอร์มินัลจานวนมาก เข้าไปยังคอมพวิ เตอร์ 1 เคร่อื ง โดยทีผ่ ้ใู ชแ้ ตล่ ะคนสามารถทางานในส่วนของตนได้พร้อม ๆ กัน o ยุคท่ี 4 (1971-ปัจจบุ นั ) ในยคุ ท่ี 4 เทคโนโลยีแผงวงจรรวมไดพ้ ฒั นาข้ึนเป็น แผงวงจรรวมขนาดใหญ่ (LSI หรอื large-scale integartion) และจากนนั้ กม็ ีการพัฒนาตา่ เปน็ แผงวงจรขนาดใหญ่มาก (Very Large-Scale integartion - VLSI) ซ่ึงทาใหเ้ กิด microprocessor ตัวโลกของโลก คือ Intel 4004 จากบริษัท Intel ซ่ึงเป็นการใช้แผ่นชฟิ เพียงแผ่นเดียวสาหรบั เกบ็ หน่วยควบคุม (control unit) และ คานวณเลขตรรกะ (arithmetic-logic unit) ของคอมพวิ เตอรท์ งั้ หมดเทคนคิ ในการย่อทรานซีสเตอร์ให้อยู่กนั อย่างหนาแนน่ บนแผน่ ซลิ ิกอนนี้ ได้รับ การพฒั นาอย่างต่อเนื่องจากปัจจบุ นั สามารถเก็บทรานซิสเตอรน์ ับล้านตัวไวใ้ นชิปเพยี งหนึ่งแผน่ ในส่วนของ หน่วยบันทกึ ข้อมลู สารอง (secondary storage) กไ็ ด้เพ่ิมความจขุ ้นึ อย่างมากจนสามารถเกบ็ ข้อมูลนบั พันลา้ น ตวั อักษรได้ในแผน่ ดสิ ก์ขนาด 3 นวิ้

6 เน่ืองจากการเพ่ิมความจุของหน่วยบันทึกข้อมูลสารองนี่เอง ซอฟต์แวร์ชนิดใหม่ได้พัฒนาขึ้น เพื่อให้สามารถ เก็บรวมรวบและบันทึกแก้ไขข้อมูลจานวณมหาศาลท่ีถูกจัดเก็บไว้ นั่นคือ ซอฟร์แวร์ ฐานข้อมูล (Data base) นอกจากนี้ ยังมีการถอื กาเนิดข้นึ ของเครอื่ งคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลในปี 1975 คือเคร่ือง Altair ซ่ึงใช้ชิป intel 8080 และถัดจากนั้นก็เป็นยุคของเคร่ือง และ ตามลาดับ ในส่วนของซอฟต์แวร์ก็ได้มีการพัฒนาให้เป็น มิตรกับผู้ใช้ มีขนาดใหญ่และซับซ้อนมากขึ้นเรื่อย ๆ รวมทั้งมีการนาเทคนิคต่าง ๆ เช่น OOP (Object- Oriented Programming) และ Visual Programming มาเป็นเครอื่ งมือช่วยในการพัฒนา การพฒั นาที่สาคัญอน่ื ๆในยคุ ท่ี 4 คอื การพัฒนาเครื่องขา่ ยคอมพวิ เตอร์ความเร็วสูง ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ เช่ือมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ โดยการใช้งานภายในองค์กรนั้น ระบบเคร่ือข่ายท้องถิ่น (Local Araa Networks) ซึ่งนิยมเรียกว่า แลน (LANs) จะมีบทบาทในการเช่ืองโยงเครื่องนับร้อยเข้าด้วยกันในพื้นท่ีไท่ห่าว กันนัก ส่วนระบบเคร่ืองข่ายระยะไกล ( Wide Area Networks ) หรือ แวน (WANs) จะทาหน้าท่ีเช่ือมโยง เครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ี่อยหู่ ่างไกลคนละซีกโลกเข้าดว้ ยกนั ความรพู้ ื้นฐานเกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ 1.1 คอมพิวเตอร์ หมายถึง คอมพิวเตอร์ คอื อปุ กรณท์ างอิเล็กทรอนิกส์ (electrinic device) ที่มนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการ จัดการกับข้อมูลท่ีอาจเป็นได้ ท้ังตัวเลข ตัวอักษร หรือสัญลักษณ์ท่ีใช้แทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ โดย คุ ณ ส ม บั ติ ท่ี ส า คั ญ ข อ ง ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ คื อ ก า ร ที่ ส า ม า ร ถ ก า ห น ด ชุ ด ค า สั่ ง ล่ ว ง ห น้ า ห รื อ โ ป ร แ ก ร ม ไ ด้ (programmable) น่ันคือคอมพิวเตอร์สามารถทางานได้หลากหลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับชุดคาส่ังที่เลือกมาใช้ งาน ทาให้สามารถนาคอมพิวเตอร์ไปประยุกต์ใช้งานได้อย่างกว้างขวาง เช่น ใช้ในการตรวจคลื่นความถี่ของ หัวใจ การฝาก - ถอนเงนิ ในธนาคาร การตรวจสอบสภาพเครื่องยนต์ เป็นต้น ข้อดีของคอมพิวเตอร์ คือ เครื่อง คอมพิวเตอรส์ ามารถทางานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภาพ มีความถูกตอ้ ง และมคี วามรวดเร็ว 1.2 คุณสมบตั ขิ องคอมพิวเตอร์ ปัจจุบันน้ีคนส่วนใหญ่นิยมนาคอมพิวเตอร์มาใช้งานต่าง ๆ มากมาย ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่มักจะคิดว่า คอมพวิ เตอรเ์ ป็นเครื่องมือที่สามารถทางานได้สารพัด แต่ผู้ท่ีมีความรู้ทางคอมพิวเตอร์จะทราบว่า งานที่เหมาะ กับการนาคอมพิวเตอร์มาใช้อย่างยิ่งคือการสร้าง สารสนเทศ ซ่ึงสารสนเทศเหล่าน้ันสามารถนามาพิมพ์ออก ทางเครื่องพิมพ์ ส่งผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ หรือจัดเก็บไว้ใช้ในอนาคตก็ได้ เน่ืองจากคอมพิวเตอร์จะมี คณุ สมบตั ติ ่าง ๆ คอื 1.2.1 ความเป็นอัตโนมัติ (Self Acting) การทางานของคอมพิวเตอร์จะทางานแบบอัตโนมัติภายใต้ คาสั่งทไ่ี ด้ถกู กาหนดไว้ ทางานดังกล่าวจะเร่ิมต้ังแต่การนาข้อมูลเข้าสู่ระบบ การประมวลผลและแปลงผลลัพธ์ ออกมาให้อยู่ในรปู แบบที่มนุษยเ์ ข้าใจได้ 1.2.2 ความเรว็ (Speed) คอมพิวเตอร์ในปจั จบุ ันนีส้ ามารถทางานไดถ้ งึ ร้อยลา้ นคาส่งั ในหนึ่งวนิ าที

7 1.2.3 ความเช่ือถือ (Reliable) คอมพิวเตอร์ทุกวันน้ีจะทางานได้ทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่มี ขอ้ ผิดพลาด และไม่รู้จกั เหนด็ เหนือ่ ย 1.2.4 ความถูกต้องแม่นยา (Accurate) วงจรคอมพิวเตอร์น้ันจะให้ผลของการคานวณท่ีถูกต้องเสมอ หากผลของการคานวณผิดจากที่ควรจะเป็น มักเกิดจากความผิดพลาดของโปรแกรมหรือข้อมูลที่เข้าสู่ โปรแกรม 1.2.5 เก็บข้อมูลจานวนมาก ๆ ได้ (Store massive amounts of information) ไมโครคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน จะมีที่เก็บข้อมูลสารองท่ีมีความสูงมากกว่าหน่ึงพันล้านตัวอักษร และสาหรับ ระบบคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่จะสามารถเก็บขอ้ มลู ไดม้ ากกว่าหนึง่ ลา้ น ๆ ตัวอกั ษร 1.2.6 ย้ายข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกทีหน่ึงได้อย่างรวดเร็ว (Move information) โดยใช้การ ติดต่อสอ่ื สารผ่านระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรซ์ ึ่งสามารถส่งพจนานุกรมหนึ่งเล่มในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ไปยังเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ไกลคนซีกโลกได้ในเวลาเพียงไม่ถึงหน่ึงวินาที ทาให้มีการเรียกเครือข่าย คอมพิวเตอรท์ เ่ี ช่ือมกนั ท่ัวโลกในปจั จบุ ันวา่ ทางดว่ นสารสนเทศ (Information Superhighway) 1.2.7 ทางานซา้ ๆได้ (Repeatability) ชว่ ยลดปญั หาเรอื่ งความออ่ นล้าจากการทางานของแรงงานคน นอกจากน้ียังลดความผิดพลาดต่างๆได้ดีกว่าด้วย ข้อมูลที่ประมวลผลแม้จะยุ่งยากหรือซับซ้อนเพียงใดก็ตาม จะสามารถคานวณและหาผลลัพธไ์ ด้อยา่ งรวดเร็ว 1.3 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ จาแนกหน้าท่ีของฮาร์ดแวร์ต่างๆ สามารถแบ่งเป็นส่วนสาคัญ 4 ประเภท คือ อุปกรณ์นาข้อมูลเข้า (Input Device) อุปกรณ์ประมวลผล (Processing Device) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Device) อปุ กรณแ์ สดงผล (Output Device) รูปที่ 1 แสดงวงจรการทางานของคอมพวิ เตอร์

8 1.3.1 อปุ กรณ์นาข้อมลู เขา้ (Input Device) รูปที่ 2 อปุ กรณ์นาเข้าแบบตา่ งๆ ที่พบเห็นในปัจจุบนั เป็นอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการนาเข้าข้อมูลหรือชุดคาส่ังเข้ามายังระบบเพ่ือให้คอมพิวเตอร์ ประมวลผลต่อไปได้ ซง่ึ อาจจะเป็น ตัวเลข ตวั อักษร ภาพนิง่ ภาพเคลอ่ื นไหว เสียง เปน็ ต้น 1.3.2 อปุ กรณป์ ระมวลผล (Processing Device) อปุ กรณป์ ระมวลผลหลักๆ มดี งั น้ี 1.3.2.1 ซีพียู (CPU-Central Processing Unit) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียก อีกชื่อหน่ึงว่าโปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) นับเป็นอุปกรณ์ที่มีความสาคัญมากที่สุดของ ฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลท่ีผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์นาเข้าข้อมูลตามชุดคาส่ังหรือ โปรแกรมที่ผ้ใู ช้ต้องการใชง้ าน หน่วยประมวลผลกลาง 1.3.2.2 หน่วยความจาหลัก (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาท่ีมีโปรแกรมหรือ ข้อมูลอยแู่ ลว้ สามารถเรียกออกมาใชง้ านได้แต่จะไม่สามารถเขียนเพ่ิมเติมได้ และแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าไป เลีย้ งใหแ้ กร่ ะบบข้อมูลก็ไม่สูญหายไป - แรม (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจาท่ีสามารถเก็บข้อมูลได้ เม่ือมีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น เม่ือใดไม่มีกระแสไฟฟ้ามาเลี้ยงข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจาชนิดนี้จะ หายไปทนั ที 1.3.2.3 เมนบอร์ด (Main board) เป็นแผงวงจรต่อเชื่อมอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการทางาน ของคอมพิวเตอร์ทัง้ หมด ถอื ไดว้ ่าเป็นหวั ใจหลักของ พซี ีทุกเคร่ือง เพราะจะบอกความสามารถของเครื่องว่าจะ ใชซ้ ีพียอู ะไรไดบ้ ้าง มีประสิทธิภาพเพยี งใด สามารถรองรบั กับอุปกรณใ์ หม่ได้หรอื ไม่

9 รูปท่ี 3 เมนบอร์ด หรือแผงวงจรหลกั 1.3.2.4 ซปิ เซต็ (Chip Set) ซิปเซต็ เปน็ ชิปจานวนหนง่ึ หรอื หลายตัวท่บี รรจุวงจรสาคัญๆ ท่ี ช่วยการทางานของซีพียู และติดต้ังตายตัวบนเมนบอร์ดถอดเปลี่ยนไม่ได้ ทาหน้าที่เป็นตัวกลางประสานงาน และควบคุมการทางานของหน่วยความจารวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างท้ังแบบภายในหรือภายนอกทุกชนิดตาม คาสั่งของซีพยี ู เช่น SiS, Intel, VIA, AMD เป็นต้น 1.3.3 หนว่ ยเกบ็ ข้อมลู สารอง (Secondary Storage Device) เน่ืองจากหน่วยความจาหลักมีพื้นที่ไม่เพียงพอในการเก็บข้อมูลจานวนมากๆ อีกทั้งข้อมูลจะหายไป เมือ่ ปดิ เคร่ือง ดังนน้ั จาเป็นตอ้ งหาอุปกรณ์เก็บขอ้ มลู ทมี่ ีขนาดใหญ่ขึ้น เช่น 1.3.3.1 ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นฮาร์ดแวร์ที่ทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ท้ังโปรแกรมใช้งานต่างๆ ไฟล์เอกสาร รวมท้ังเป็นที่เก็บระบบปฏิบัติการที่เป็นโปรแกรมควบคุมการทางานของ เครือ่ งคอมพิวเตอร์ด้วย 1.3.3.2 ฟลอ็ บปีด้ ิสก์ (Floppy Disk) เป็นอปุ กรณบ์ ันทึกข้อมูลท่มี ีขนาด 3.5 นิ้ว มีลักษณะ เป็นแผน่ กลมบางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจขุ อ้ มูลไดเ้ พียง 1.44 เมกะไบต์ เทา่ น้ัน ี 1.3.3.3 ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบดิจิทัล เป็นส่ือที่มีขนาด ความจสุ ูง เหมาะสาหรับบันทึกขอ้ มลู แบบมัลติมีเดีย ซีดีรอมทามาจากแผ่นพลาสติกกลมบางท่ีเคลือบด้วยสาร โพลีคาร์บอเนต (Poly Carbonate) ทาให้ผิวหน้าเป็นมันสะท้อนแสง โดยมีการบันทึกข้อมูลเป็นสายเดียว (Single Track) มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจุบันมีซีดีอยู่หลายประเภท ได้แก่ ซีดี เพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซีดี- อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อาร์ดับบลิว (CD- Rewritable - CD-RW) และ ดีวดี ี (Digital Video Disk - DVD)

10 สอ่ื เกบ็ ข้อมูลอื่นๆ 1) รีมูฟเอเบิลไดร์ฟ (Removable Drive) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีตัวขับเคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนได้โดยต่อเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วย Port USB ปัจจุบันความจุของรีมูฟเอเบิลไดร์ฟ มีตั้งแต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถึง 1024 เมกะไบต์ ท้ังน้ียังมีไดร์ฟลักษณะเดียวกัน เรียกในช่ืออื่นๆ ได้แก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive 2) ซบิ ไดร์ฟ (Zip Drive) เปน็ สื่อบนั ทกึ ข้อมูลทีจ่ ะมาแทนแผ่นฟล็อปปี้ดิสก์ มีขนาดความจุ 100 เม กะไบต์ซึ่งการใช้งานซิปไดร์ฟจะต้องใช้งานกับซิปดิสก์ (Zip Disk) ความสามารถในการเก็บข้อมูลของซิปดิสก์ จะเกบ็ ข้อมูลไดม้ ากกว่าฟลอ็ ปป้ีดิสก์ 3) Magnetic optical Disk Drive เป็นสื่อเก็บข้อมูลขนาด 3.5 นิ้ว ซ่ึงมีขนาดพอๆ กับ ฟล็อบปีด้ สิ ก์ แต่ขนาดความจุมากกว่า เพราะว่า MO Disk drive 1 แผ่นสามารถบันทึกข้อมูลได้ต้ังแต่ 128 เม กะไบต์ จนถงึ ระดบั 5.2 กกิ ะไบต์ 4) เทปแบ็คอัพ (Tape Backup) เป็นอุปกรณ์สาหรับการสารองข้อมูล ซ่ึงเหมาะกับการสารอง ข้อมูลขนาดใหญม่ ากๆ ขนาดระดบั 10-100 กกิ ะไบต์ 5) การ์ดเมมโมรี (Memory Card) เป็นอุปกรณ์บันทึกข้อมูลท่ีมีขนาดเล็ก พัฒนาข้ึน เพื่อนาไปใช้ กับอุปกรณ์เทคโนโลยีแบบต่างๆ เช่น กล้องดิจิทัล คอมพิวเตอร์มือถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศพั ท์มอื ถอื 1.3.4 อปุ กรณ์แสดงผล (Output Device) คืออุปกรณ์สาหรับแสดงผลลัพธ์ท่ีได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ และเป็นอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทาหน้าทีแ่ สดงผลลพั ธเ์ มื่อซพี ียทู าการประมวลผล รปู ที่ 4 แสดงอุปกรณ์แสดงผลขอ้ มลู แบบต่างๆ 1.3.4.1 จอภาพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่เป็นภาพ ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คอื จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และ จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) 1.3.4.2 เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์ในรูปของอักขระหรือ รูปภาพท่ีจะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ได้แก่ เครื่องพิมพ์ดอตเมตริกซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Printer) และพล็อต สเตอร์ (Plotter)

11 1.3.4.3 ลาโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์แสดงผลลัพธ์ที่อยู่ในรูปของเสียง สามารถเชื่อมต่อกับ คอมพวิ เตอรผ์ า่ นแผงวงจรเกีย่ วกับเสยี ง (Sound card) ซ่ึงมหี น้าท่ีแปลงข้อมูลดิจิตอลไปเปน็ เสียง 1.4 ประโยชนข์ องคอมพิวเตอร์ จากการที่คอมพิวเตอร์มีลักษณะเด่นหลายประการ ทาให้ถูกนามาใช้ประโยชน์ต่อการดาเนิน ชีวิตประจาวันในสังคมเป็นอย่างมาก ที่พบเห็นได้บ่อยที่สุดก็คือ การใช้ในการพิมพ์เอกสารต่างๆ เช่น พิมพ์ จดหมาย รายงาน เอกสารต่างๆ ซ่ึงเรียกว่างานประมวลผล (Word processing) นอกจากนี้ยังมีการ ประยุกตใ์ ช้คอมพิวเตอร์ในดา้ นตา่ งๆ อีกหลายด้าน ดงั ต่อไปนี้ 1.4.1 งานธุรกจิ เชน่ บริษทั ร้านค้า หา้ งสรรพสินค้า ตลอดจนโรงงานต่างๆ ใช้คอมพิวเตอร์ในการทา บัญชี งานประมวลคา และติดต่อกับหน่วยงานภายนอกผ่านระบบโทรคมนาคม นอกจากน้ีงานอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใช้คอมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคุมการผลิต และการประกอบชิ้นส่วนของอุปกรณ์ต่างๆ เช่น โรงงานประกอบรถยนต์ ซึ่งทาให้การผลิตมีคุณภาพดีข้ึนบริษัทยังสามารถรับ หรืองานธนาคาร ที่ให้บริการ ถอนเงินผ่านตู้ฝากถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) และใช้คอมพิวเตอร์คิดดอกเบี้ยให้กับผู้ฝากเงิน และการโอนเงิน ระหว่างบญั ชี เชอ่ื มโยงกันเปน็ ระบบเครอื ข่าย 1.4.2 งานวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนาคอมพิวเตอร์มาใช้ในนามาใช้ใน ส่วนของการคานวณท่ีค่อนข้างซับซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกุลสารเคมี วิถีการโคจรของการส่งจรวดไปสู่ อวกาศ หรืองานทะเบียน การเงิน สถิติ และเป็นอุปกรณ์สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซ่ึงจะให้ผลท่ีแม่นยา กว่าการตรวจดว้ ยวิธเี คมีแบบเดิม และให้การรักษาได้รวดเรว็ ขนึ้ 1.4.3 งานคมนาคมและสื่อสาร ในส่วนที่เกี่ยวกับการเดินทาง จะใช้คอมพิวเตอร์ในการจองวันเวลา ท่ีนั่ง ซ่ึงมีการเช่ือมโยงไปยังทุกสถานีหรือทุกสายการบินได้ ทาให้สะดวกต่อผู้เดินทางที่ไม่ต้องเสียเวลารอ อีก ทง้ั ยงั ใชใ้ นการควบคมุ ระบบการจราจร เชน่ ไฟสัญญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรือในการสื่อสาร กใ็ ช้ควบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพื่อให้อยู่ในวงโคจร ซึ่งจะช่วยส่งผลต่อการส่งสัญญาณให้ระบบการสื่อสารมี ความชดั เจน 1.4.4 งานวศิ วกรรมและสถาปัตยกรรม สถาปนกิ และวิศวกรสามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรอื จาลองสภาวการณ์ ตา่ งๆ เชน่ การรับแรงส่ันสะเทือนของอาคารเม่ือเกิดแผ่นดินไหว โดยคอมพิวเตอร์จะ คานวณและแสดงภาพสถานการณ์ใกล้เคียงความจริง รวมทั้งการใช้ควบคุมและติดตามความก้าวหน้าของ โครงการต่างๆ เชน่ คนงาน เครอื่ งมอื ผลการทางาน 1.4.5 งานราชการ เป็นหน่วยงานทม่ี ีการใช้คอมพวิ เตอร์มากที่สุด โดยมีการใช้หลายรูปแบบ ท้ังนี้ ข้ึนอยกู่ ับบทบาทและหน้าท่ีของหน่วยงานน้ันๆ เช่น กระทรวงศึกษาธกิ าร มีการใช้ระบบประชุมทางไกลผา่ น คอมพวิ เตอร์ , กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไดจ้ ัดระบบเครือขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตเพ่อื เชื่อมโยงไปยัง สถาบนั ตา่ งๆ, กรมสรรพากร ใชจ้ ัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เปน็ ตน้ 1.4.6 การศกึ ษา ไดแ้ ก่ การใช้คอมพิวเตอร์ทางด้านการเรียนการสอน ซ่ึงมกี ารนาคอมพิวเตอร์มาช่วย การสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรืองานด้านทะเบียน ซ่ึงทาให้สะดวกต่อการค้นหาข้อมูลนักเรียน การเก็บ ข้อมูลยืมและการสง่ คนื หนงั สอื หอ้ งสมุด

12 1.5 ประเภทของคอมพิวเตอร์ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ หลายประเภท ขนึ้ อยูก่ ับเกณฑท์ ่ีใช้ในการแบง่ เกณฑ์ที่ใชจ้ าแนก ประเภทคอมพิวเตอร์ ตามลกั ษณะการใชง้ าน - แบบใช้งานทว่ั ไป (General purpose ตามขนาดและความสามารถ computer) - แบบใชง้ านเฉพาะ (Special purpose computer) - ซูเปอร์คอมพวิ เตอร์ (Supercomputer) - เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe computer) - มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) - ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) - คอมพิวเตอรม์ ือถือ (Handheld computer) 1.5.1 ตามลกั ษณะการใช้งาน 1.5.1.1 แบบใช้งานท่ัวไป (General Purpose Computer) หมายถงึ เครือ่ งประมวลผลขอ้ มลู ท่ีมีความยดื หยุน่ ในการทางาน (Flexible) โดยได้รับการออกแบบให้ สามารถประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานประเภทต่างๆ ได้โดยสะดวก โดยระบบจะทางานตามคาส่ังในโปรแกรมที่เขียนขึ้นมา และเม่อื ผู้ใช้ตอ้ งการใหเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ างานอะไร ก็เพียงแต่ออกคาสั่งเรียกโปรแกรมท่ีเหมาะสมเข้ามาใช้ งาน โดยเราสามารถเกบ็ โปรแกรมไวห้ ลายโปรแกรมในเครื่องเดียวกันได้ เช่น ในขณะหน่ึงเราอาจใช้เคร่ืองนี้ใน งานประมวลผลเก่ยี วกบั ระบบบญั ชี และในขณะหนึ่งก็สามารถใชใ้ นการออกเช็คเงนิ เดือนได้ เป็นต้น 1.5.1.2 แบบใช้งานเฉพาะด้าน (Special Purpose Computer) หมายถึง เคร่ืองประมวลผลข้อมูลท่ีถูกออกแบบตัวเครื่องและโปรแกรมควบคุม ให้ทางานอย่างใด อย่างหนึ่งเป็นการเฉพาะ (Inflexible) โดยทั่วไปมักใช้ในงานควบคุม หรืองานอุตสาหกรรมที่เน้นการ ประมวลผลแบบรวดเร็ว เช่นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ควบคุมสัญญาณไฟจราจร คอมพิวเตอร์ควบคุมลิฟต์ หรือ คอมพวิ เตอรค์ วบคมุ ระบบอตั โนมตั ใิ นรถยนต์ เป็นต้น 1.5.2 ตามขนาดและความสามารถ เป็นการจาแนกประเภทของคอมพิวเตอรท์ ่ีพบเหน็ ไดม้ ากทสี่ ดุ ในปจั จบุ นั ซงึ่ สามารถแบง่ ออกไดด้ ังนี้ 1.5.2.1 ซปุ เปอรค์ อมพิวเตอร์ (Super Computer) เปน็ คอมพิวเตอร์ท่มี ีขนาดใหญ่ทสี่ ดุ ทางานไดร้ วดเร็วและมปี ระสทิ ธิภาพสูง แต่จะมีราคาแพงที่สุด รวมท้ังต้อง อยู่ทีห้องได้รับการควบคุมอุณหภูมิ และปราศจากฝุ่นละออง ทาให้ต้องเป็นองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น จึง สามารถจดั หาเครื่องซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์มาใชง้ านได้ ผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอรส์ ามารถใช้งานได้จานวนหลาย ๆ คน นามาใช้ในการคานวณท่ีซับซ้อน เช่นการคานวณทางวิทยาศาสตร์ การบิน อุตสาหกรรมน้ามันเป็นต้น รวมทั้ง พบมากในวงการวิจยั ในห้องปฎบิ ัติการตา่ งๆ ท้งั ภาครัฐและเอกชน

13 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์รุ่นแรกสร้างในปี ค.ศ. 1960 ท่ีองค์กรของสหรัฐอเมริกา โดยได้รับการออกแบบให้เป็น คอมพิวเตอร์ท่ีความเร็วและมีประสิทธิภาพมากที่สุด ซูเปอร์ทางานได้อย่างรวดเร็ว เน่ืองจากมีการใช้หลักที เรียกว่า มัลติโปรเซสซ่ิง (Multiprocessing) อันเป็นใช้หน่วยประมวลผลจานวนหลายตัว เพ่ือทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถทางานหลายงานพร้อมกัน โดยที่งานเหล่านั้นมีความแตกต่างกัน งานที่ไม่เก่ียวข้อง หรือ อาจจะเป็นงานท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีถูกแบ่งย่อยไปในประมวลผลแต่ละตัวก็ทางานได้ ซูเปอร์คอมพิวเตอร์มีหน่วย ประมวลกลางทั้งหมด 4 ตัว แต่ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีความพัฒนามากจึงทาให้มีหน่วยประมวลผลนับร้อยตัว ทางานพรอ้ ม ๆ กนั ความเร็วของซูเปอร์คอมพิวเตอร์จะมีการวัดหน่วยเป็น นาโนวินาที (nanosecond) หรือเศษหนึ่งพันล้าน วินาที และ จิกะฟลอป (gigaflop) หรือการคานวณหน่ึงพันล้านคร้ังในหนึ่งวินาทีซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถ คานวณไดถ้ ึง 128 จกิ ะฟลอป และใชเ้ ครื่องท่มี ี สายส่งขอ้ มูล (data bus) กว้าง 32 หรอื 64 บิต จากคุณสมบัตขิ องซเู ปอร์คอมพิวเตอรท์ ี่กลา่ วมาทัง้ หมด จะเห็นได้วา่ ผใู้ ช้ควรนาซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ไปใช้ในการ คานวณมากๆ เช่น งานดา้ นกราฟฟกิ หรือการคานวณทางดา้ นวิทยาศาสตร์ เป็นตน้ 1.5.2.2 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe computer) เคร่ืองเมนเฟรมเป็นเคร่ืองที่ได้รับความนิยมใช้ในองค์กรขนาดใหญ่ทั่วๆไป จัดเป็นเคร่ืองที่มีประสิทธิภาพ รองลงมาจากซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ซึ่งในช่วงปลาย ค.ศ. 1950 บริษัท IBM จัดเป็นบริษัทยักษ์ใหญ่ในวงการ อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ โดยเกิดจากการมีส่วนแบ่งตลาดในการขายเคร่ืองระดับเมนเฟรมถึง 2 ใน 3 ของ ผูใ้ ชเ้ คร่ืองเมนเฟรอทัง้ หมด เครอื่ งเมนเฟรมจะเปน็ เครอ่ื งท่ีมีขนาดใหญ่ ต้องอยใู่ นหอ้ งทีไ่ ด้รับการอุณหภูมิ และ ปราศจากฝุ่นละอองเช่นเดียวกับซเู ปอรค์ อมพิวเตอร์ เคร่อื งเมนเฟรมนิยมมาใช้ในงานท่ีมีการรับและแสดงผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เคร่ืองรุ่นใหม่ ๆ จะได้การพัฒนา ให้มหี น่วยประมวลผลหลายหนว่ ยทางานพร้อม ๆ กันเชน่ เดียวกบั ซูเปอรค์ อมพิวเตอร์ แต่มีจานวณประมวลผล น้อยกว่า หน่วยเมนเฟรมจัดอยู่ในความเร็วของหน่วย เมกะฟรอป (megaflop) หรือการคานวณหนึ่งล้านครั้ง ในหนง่ึ วนิ าที ระบบคอมพิวเตอรข์ องเครือ่ งเมนเฟรม ส่วนมากจะมีหนว่ ยคอมพิวเตอรย์ ่อยๆ ประกอบอยู่ด้วย เพื่อช่วยในการ ทางานบางประเภทให้กบั เครื่องหลกั สามารถแยกตามหนา้ ที่ได้ดังนี้ o Host processor เป็นเคร่ืองหลักทาหน้าท่ีควบคุมหน่วยประมวลผล อุปกรณ์รอบข้าง และการ คานวณต่างๆ o Font-end processor มีหน้าที่ควบคุมติดต่อระหว่างหน้าจอของผู้ใช้งานท่ีเรียกว่า จอเทอร์มินัล ระยะไกล (remote terminal) กับระบบคอมพวิ เตอรห์ ลกั o Bank-end processor มหี น้าทจี ดั การเก่ยี วกบั การใช้ข้อมูล

14 โปรเซสเซอร์ส่วนต่าง ๆ บนเมนเฟรม ระบบคอมพวิ เตอรข์ องเตรอ่ื งเมนเฟรม มีประสิทธภิ าพเพยี งพอท่จี ะรองรับผู้ใช้ได้หลายร้อยคนพร้อม ๆ กัน ซ่ึง ผใู้ ชเ้ หล่านั้นอาจจะน่งั ทางานอยู่ใกล้เครื่องเมนเฟรม หรืออาจจะอยู่ท่ีอ่ืนซ่ึงไหลออกไปก็ได้ เคร่ืองเมนเฟรมจะ เก็บโปรแกรมของผู้ใช้เหล่านั้นไว้ในหน่วยความจาหลัก และมีการสับเปลี่ยนหรือสวิทซ์การทางานระหว่าง โปรแกรมต่าง ๆ เหล่าน้ันอย่างรวดเร็ว โดยท่ีผู้ใช้จะไม่รู้สึกเลยว่ามีการสับเปลี่ยนการทางานไปทางานของคน อ่นื อยู่ตลอดเวลา เน่อื งจากคอมพวิ เตอรท์ างานได้เรว็ กว่ามนุษย์มาก หลักการท่ีเครื่องเมนเฟรมสามารถทางาน หลายโปรแกรมพรอ้ ม ๆ กันนน้ั เรยี กวา่ มัลติโปรแกรมมิง (multiprogramming) 1.5.2.3 มินคิ อมพวิ เตอร์ (Mini Computer) ธุรกิจและหน่วยงานที่มีขนาดเล็กไม่จาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ขนาดเมนเฟรมซ่ึงมีราคาแพง ผผู้ ลติ คอมพวิ เตอร์จงึ พัฒนาคอมพิวเตอร์ใหม้ ีขนาดเล็กและมรี าคาถกู ลง เรียกวา่ เครอื่ งมินิคอมพิวเตอร์ โดยมี ลักษณะพเิ ศษในการทางานรว่ มกับอปุ กรณ์ประกอบรอบข้างที่มีความเร็วสูงได้ มีการใช้แผ่นจานแม่เหล็กความ จสุ งู ชนิดแขง็ (Harddisk) ในการเกบ็ รักษาข้อมลู สามารถอา่ นเขยี นข้อมลู ได้อย่างรวดเร็ว หน่วยงานและบริษัท ท่ีใช้คอมพิวเตอร์ขนาดนี้ ได้แก่ กรม กอง มหาวิทยาลัย ห้างสรรพสินค้า โรงแรม โรงพยาบาล และโรงงาน อุตสาหกรรมตา่ งๆ 1.5.2.4 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) เปน็ เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุด ราคาถูกท่ีสุด ใช้งานง่าย และนิยมมากที่สุดราคาของเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์จะอยู่ในช่วงประมาณหมื่นกว่า ถึง แสนกว่าบาท ในวงการธุรกิจใช้ไมโครคอมพิวเตอร์กับ งานทุก ๆ อย่าง ไมโครคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กพอท่ีจะต้ังบนโต๊ะ (Desktop) หรือ ใส่ลงในกระเป๋าเอกสาร เช่น คอมพิวเตอร์วางบนตัก (Lap top) หรือโน้ตบุ๊ก (Note book) ไมโครคอมพิวเตอร์สามารถทางานใน ลักษณะประมวลผลได้ด้วยตนเอง โดยไม่ต้องเชื่อมโยงกับคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่นเรียกว่าระบบแสตนอโลน (Standalone system)มีไว้สาหรับใช้งานส่วนตัวจึงเรียกเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ได้อีกช่ือหน่ึงว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลหรือเครื่องพีซี (PC:Personal Computer) และสามารถนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ มาเชื่อมต่อกับเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์เคร่ืองอื่น ๆ หรือเช่ือมต่อกับเคร่ืองเมนเฟรม เพ่ือขยายประสิทธิภาพ เพิ่มข้นึ ทาให้เครอื่ งไมโครคอมพวิ เตอร์เป็นทีน่ ยิ มใชก้ นั แพรห่ ลายอยา่ งรวดเรว็

15 1.5.2.5 คอมพิวเตอรม์ ือถอื (Handheld Computer) เปน็ คอมพวิ เตอรท์ มี่ ีขนาดเล็กทส่ี ดุ เมื่อเทียบกบั คอมพวิ เตอร์ประเภทอื่นๆ อีกท้ังสามารถพกพาไปยังที่ ต่างๆ ไดง้ ่ายกวา่ เหมาะกบั การจัดการข้อมลู ประจาวนั การสร้างปฏิทนิ นดั หมาย การดูหนังฟังเพลงรวมถึงการ รับส่งอีเมล์ บางรุ่นอาจมีความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ปาล์ม พ็อกเก็ตพีซี เป็นต้น นอกจากน้ีโทรศัพท์มือถือบางรุ่นก็มีความสามารถใกล้เคียงกับคอมพิวเตอร์มือถือในกลุ่มนี้ในแง่ของการรัน โปรแกรมจดั การกบั ข้อมลู ทั่วไปโดยใช้ระบบปฏิบตั ิการ Symbian หรอื ไมก่ ็ Linux คอมพิวเตอร์สาหรับผูใ้ ชค้ นเดียว สามารถแบ่งออกเปน็ 2 รุ่น คือ เวิร์คสเตชั่น ถูกออกแบบมาให้เป็นคอมพิวเตอร์แบบต้ังโต๊ะ ท่ีมีความสามารถในการคานวนด้านวิศวกรรม สถาปตั ยกรรม หรืองานอนื่ ๆ ทีเ่ นน้ การแสดงผลด้านกราฟฟกิ ต่าง ๆ เช่น การนามาช่วยออกแบบภาพกราฟฟิก ในโรงงานอตุ สาหกรรมเพอื่ ออกแบบชิน้ สว่ นใหม่ ๆ เป็นต้น ซึ่งจากการที่ต้องทางานกราฟฟิกที่มีความละเอียด สูง ทาให้เวิรค์ สเตชัน่ ใชห้ นว่ ยประมวลผลที่มปี ระสิทธภิ าพมาก รวมท้งั มหี นว่ ยเกบ็ ข้อมลู สารองจานวนมากด้วย มีผใู้ ช้บางกลมุ่ เรียกเครอ่ื งระดับเวริ ์คสเตชั่นน้วี า่ ซเู ปอรไ์ มโคร (supermicro) เพราะออกแบบมาให้ใช้งานแบบ ตั้งโต๊ะ แต่ชิปที่ใช้ทางานนั้นแตกต่างกันมาก เน่ืองจาก เวิร์คสเตช่ันส่วนมากใช้ชิปประเภท RISC (reduce instruction set computer) ซึ่งเป็นชิปที่ลดจานวนคาส่ังท่ีสามารถใช้ส่ังงานให้เหลือเฉพาะที่จาเป็น เพ่ือให้ สามารถทางานไดด้ ้วยความเรว็ สงู ไมโครคอมพิวเตอร์ ได้ถูกพัฒนาข้ึนในปี ค.ศ. 1975 และได้รับความนิยมอย่างเมื่อ IBM ได้สร้างเคร่ือง IBM PC ออกมา ไมโครคอมพิวเตอรท์ ี่ไดร้ บั ความนิยมในปจั จุบนั จะมี 2 ชนดิ คอื Apple Macintosh และ IBM PC ในปัจจุบัน ความแตกต่างหรือช่องว่างระหว่างเครื่องเวิร์คสเตชั่นและเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เร่ิมลดน้อยลง เร่ือย ๆ เพราะเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ระดับสูงในปัจจุบัน มีประสิทธิภาพของเครื่องและความเร็วในการ แสดงผลท่ีดกี ว่าเครื่องเวิรค์ สเตชนั่ จานวนมาก 1.6 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เราเห็นๆ กันอยู่นี้เป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหน่ึงของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเคร่ืองสามารถทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามที่เราต้องการน้ัน จาเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพ้ืนฐาน 4 ประการมาทางานร่วมกัน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของระบบ คอมพิวเตอรป์ ระกอบไปด้วย ฮารด์ แวร์ (Hardware) ซอฟต์แวร์ (Software) บุคลากร (People ware) ข้อมูล / สารสนเทศ (Data/Information) 1.6.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบ ขา้ ง (peripheral) ท่ีเกี่ยวขอ้ ง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครอ่ื งพิมพ์ เป็นตน้ ฮารด์ แวรป์ ระกอบดว้ ย  หน่วยรับข้อมูล ( input unit )

16  หนว่ ยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรอื CPU  หนว่ ยความจาหลัก  หนว่ ยแสดงผลลัพธ์ (output unit )  หน่วยเกบ็ ข้อมลู สารอง (secondary storage unit ) หน่วยรบั ขอ้ มูล จะเปน็ อุปกรณ์ที่ใช้สาหรบั ข้อมูลตา่ ง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะ นาไปประมวลผล และแสดงผลลพั ธท์ ไี่ ด้ออกมากใหผ้ ใู้ ช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลพั ธ์ หนว่ ยความจาหลัก จะทาหนา้ ท่ีเสมือนเก็บข้อมลู ชั่วคราวท่ีมีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทาหน้าท่ีได้ มีประสิทธิภาพนั้น ข้ึนอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้ ส่วนการทางานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับ หน่วยความจาหลักของเคร่ืองน้ัน ๆ ข้อเสียของหน่วยความจาหลักคือ หากปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ใน หน่วยความจาหลักจะหายไป ในขณะท่ีข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสารอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทา การลบข้อมูลน้ัน รวมท้ังหน่วยเก็ยข้อมูลสารองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสาหรับการเก็บข้อมูลท่ีมีขนาด ใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสารองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่า หนว่ ยความจาหลกั มาก 1.6.2 ซอฟตแ์ วร์ (Software) หมายถึง สว่ นท่ีมนุษย์สมั ผัสไมไ่ ด้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาส่ังท่ีถูกเขียนข้ึนเพ่ือส่ัง ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเช่ือมระหว่างผู้ใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์และเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทาอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สาหรับเครื่อง คอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ ดงั นี้ 1.6.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคาส่ังท่ีเขียนไว้เป็น คาสงั่ สาเรจ็ รูป ซึ่งจะทางานใกล้ชดิ กบั คอมพิวเตอรม์ ากท่ีสุด เพื่อคอยควบคุมการทางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่าง และอานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบท่ีรู้จักกันดีก็คือ DOS, Windows, UNIX, Linux รวมท้ังโปรแกรมแปลคาสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, FORTRAN, Pascal, COBOL, C เป็นต้น นอกจากน้ีโปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็ นับเป็นโปรแกรมสาหรบั ระบบด้วยเชน่ กนั 1.6.2.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมท่ีส่ัง คอมพิวเตอร์ทางานต่างๆ ตามท่ีผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ ประยกุ ตส์ ามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื - ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนข้ึนเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่ เราต้องการ บางที่เรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดือน โปรแกรมระบบเช่าซ้ือ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอร์มแตกต่างกันออกไป ตามความต้องการ หรือกฎเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานท่ีใช้ ซ่ึงสามารถดัดแปลงแก้ไขเพ่ิมเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพื่อให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่เขียนขึ้นนี้โดยส่วน ใหญม่ ักใชภ้ าษาระดบั สูงเปน็ ตัวพัฒนา

17 - ซอฟต์แวร์สาหรับงานท่ัวไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ท่ีมีผู้จัดทาไว้ เพ่ือใช้ในการทางาน ประเภทต่างๆ ท่ัวไป โดยผู้ใช้คนอื่นๆ สามารถนาโปรแกรมน้ีไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่ สามารถทาการดัดแปลง หรอื แก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซ่ึงเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยังไม่ต้องใช้เวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซ่ึง โปรแกรมสาเร็จรูปน้ี มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานท่ีขาดบุคลากรท่ีมีความชานาญเป็นพิเศษในการเขียน โปรแกรม ดังนั้น การใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็นสิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ตัวอย่าง โปรแกรมสาเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสต์ ่างๆ เปน็ ต้น 1.6.3 บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพิวเตอร์ ซ่ึงมีความรู้เก่ียวกับคอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สั่งงาน เพื่อใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานตามทีต่ ้องการ แบง่ ออกได้ 4 ระดบั ดงั นี้ 1.6.3.1 ผู้จัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้ เปน็ ไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 1.6.3.2 นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ท่ีศึกษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่ และทาการวเิ คราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์ เปน็ ผู้เขยี นโปรแกรมใหก้ ับระบบงาน 1.6.3.3 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมส่ังงานเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพอ่ื ให้ทางานตามความตอ้ งการของผู้ใช้ โดยเขียนตามแผนผังทน่ี กั วเิ คราะห์ระบบไดเ้ ขยี นไว้ 1.6.3.4 ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ัวไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เคร่ือง และ วิธกี ารใช้งานโปรแกรม เพื่อให้โปรแกรมท่มี อี ยสู่ ามารถทางานไดต้ ามที่ต้องการ เนื่องจากเป็นผู้กาหนดโปรแกรมและใช้งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสาคัญในอันท่ีจะทาให้ ผลลัพธ์มีความน่าเช่ือถือ เนื่องจากคาสั่งและข้อมูลท่ีใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกาหนดของมนุษย์ (People ware) ท้งั สิ้น 1.6.4 ข้อมลู /สารสนเทศ (Data/Information) ขอ้ มลู (Data) เป็นองค์ประกอบทส่ี าคัญอย่างหนึ่ง การทางานของคอมพิวเตอร์จะเก่ียวข้องกับข้อมูล ตั้งแต่การนาข้อมูลเข้าจนกลายเป็นข้อมูลที่สามารถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือท่ีเรียกว่า สารสนเทศ (Information) ซึ่งข้อมูลเหล่านี้อาจจะเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และข้อมูลในรูปแบบอ่ืนๆ เช่น ภาพ เสียง เป็นต้น ข้อมูลท่ีจะนามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้นั้น โดยปกติจะต้องมีการแปลงรูปแบบหรือสถานะให้ คอมพิวเตอร์เข้าใจก่อน จึงจะสามารถเอามาใช้งานในการประมวลผลต่างๆ ได้เราเรียกสถานะนี้ว่า สถานะ แบบดจิ ิตอล ซง่ึ มี 2 สถานะเท่านั้น คอื เปดิ (1) และ ปิด(0)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook