รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓พุทธศกั ราช มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธบิ ดีศรีสนิ ทรมหามงกุฎ พระจอมเกลา้ เจา้ อยูห่ วั พระสยามเทวมหามกฏุ วทิ ยมหาราช รชั กาลท่ี ๔ พระผเู้ ปน็ ทมี่ าแห่งนาม \"มหามกฏุ ราชวิทยาลยั \"
พระนริ นั ตราย พระพุทธรูปประจำ�มหาวิทยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลยั ขนาดหนา้ ตกั ๘๐ นิว้ สงู ๖.๘๕ เมตร น�ำ หนัก ๘,๐๐๐ กโิ ลกรมั พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรรามาธิบดศี รสี ินทรมหามงกุฎ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั พระสยามเทวมหามกฏุ วทิ ยมหาราช ทรงออกแบบใหม้ พี ทุ ธลักษณะเป็นพระพทุ ธรปู ประทับนั่ง ขดั สมาธิเพชร เบ้ืองหลงั ทำ�เปน็ ซมุ้ เรือนแก้วรูปตน้ โพธิ์ มอี กั ษรขอมจำ�หลกั ในรปู วงกลีบบัว เบ้อื งหนา้ ๙ เบ้ืองหลัง ๙ แทนพระพทุ ธคุณท้งั ๙ ประการของพระสมั มาสัมพุทธเจ้า ยอดเรอื นแกว้ มรี ปู มงกฎุ และทรงถวายพระนามวา่ \"พระนริ นั ตราย\" หมายถึง พระผูร้ อดพน้ อนั ตรายจากหมู่ชน ปัจจุบัน พระนิรันตรายองคน์ ้ี ประดิษฐาน ณ อาคารธรรมสถาน มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
ในช่วงปีที่ผ่านมา ได้มีสถานสกาาสรน์ ณอ์แุปพนร่ราะยบกาสดขภอางเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างยิ่ง สมาหหารวับทิ มยหาวลิทัยยมาหลัยามมหกาุฏมรกาุฏชรวาชิทวยิทายลายัลัยก็ได้มีการปรับรูปแบบการเรียน การสอนและการปฏิบัติหน้าท่ีสื่อสอ�ำิเลห็กรทับรรอานยิกงสา์ นสถปารนะกจา�ำ รปณี ์ทพ่ีเ.กศิด.ข๒ึ้น๕จึง๖เป๓็นความท้าทายท่ีทาให้มหาวิทยาลัย ต้องพัฒนา และเตรียมพรอ้ มสกู่ ารเปล่ยี นแปลงดจิ ิทลั (Digital Transformation) ทีก่ าลงั ดาเนนิ ไปอยู่ทุกขณะ การทกี่มาหราปวฏทิ ิบยัตาิงลายั นมตหาามมแกผฏุนรงาาชนวปิทรยะจาลาปยั ีได๒จ้๕ดั ๖ท๓ำ�รยาังยเปงา็นนกปารระเตจร�ำ ียปมีขกึ้นาสรำ�เพหื่อรบักาเผรเยปแลพ่ียรน่เปผ่น็านการ ทว่ั สไู่ปกาเรพปอื่ รแะสกาดศงใผชล้แกผานรพปัฒฎนบิ าตั มงิ หาานวแิทลยะาคลวัยามมหเจามรญิกุฏรรงุ่ าเรชอื วงิทขยน้ึ าขลัยองรมะหยาะว๕ทิ ยปาี ลฉยับใับนใรหอมบ่ (ปพี .นศบั. เ๒ป๕น็ ๖น๔พิ ทั–ธ๒ก๕จิ ๖ส๘�ำ ค) ญั ปรทะก่ีจัาดรทหานขง้ึ่นซเพงึ่ ่ือในใชร้เอปบ็นพกทุ รธอศบกัในรากชาร๒ข๕ับ๖เค๓ลื่กอไ็นดยดุ้ท�ำ ธเศนานิ สกตารร์ขเปอน็งมทหเ่ี รายีวิบทยรอ้ายลัยดมงั หปารมากุฏรเปาชน็ วเลิทม่ ยสามลัยดุ อเยพใู่ือนใบหดั้ นี้ การปฏิบัติการของแต่ละหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมในระยะเวลา ๕ ปีข้างหน้า โดยคานึงถงึ ผเปล้ากหามราปยฎกบิารตั พงิ ัฒานนาแปลระะคเทวศาใมนเรจะรยญิ ะรยงุ่าเวรภอื างยขใตนึ้ ก้ ขรอองบมยหุทธาศวาทิ สยตารลช์ ยัาตมิ ห๒า๐มปกีฏุ แรลาะชมวคี ทิวายมาสลอยั ดคทลแ่ี ้อสงดกับงอยู่ ในรแาผยนงยาุทนธนศา้ี สยตอ่ รมด์ จา้ ะนเอกื่นดิ ๆข้นึ ทไ่ีเกมย่ีไ่ วดขห้ ้อางกตปารมาสศถจานากกาครวณาท์มมี่รกีว่ ามรมเปือลรีย่ ว่ นมแใปจลขงอองยค่าณงระวผดเูบ้ รร็วใหิ นาสรังคคมณโลากจยาคุ รปยัจ์ จเจุบา้นั หน้าที่ และนักศึกษาในอมันหทาี่จวะิทพยัฒาลนัยามมหหาามวกิทุฏยราลชัยวิทผยาลลิตัยศไาดส้กนาหทนายดทาทิศทสืบางอใานยกุพารรพะัพฒุทนธามศหาสาวนิทายาแลลัยะอสอรกรเคป์ส็นร้าง พทุ ๕ธศยุทาสธนศากิ สชตนรท์ ๒ไ่ี ๙ด้ผเปา่ น้าหกมาารยอบแรลมะใน๓ข๘นั้ ตอัวุดชมี้วัอดอเกพไื่อปใหส้สสู่ างั มคามรถตกา้ามวหเปน็นา้ มทหอี่ าันวิทเปยน็ าลพัยันพธรกะจิพขุทอธงศมาหสนาวาใทิ นยราะลดยับ นานาชาติ เป็นการเปิดโอกาสให้พลเมืองโลกอันมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุและวัฒนธรรม สามารถเข้าถึง ยนื ปจหยารลันกะักสคยธหกุวรตวารทิ์ใมมชยขถ้เผาอพกู กลง่ือตาพกพรอ้ ราใัฒงะหรเนพป้เปกาุทฎ็นิดคธบิงนจศาตัใรานหิงงิสว้เแาปนิจนหยั็นาแ่งใมนสพลนาระรษุ มะคะยดาพว์ทรับาถุท่ีสสมนมธาเากบศจไลูรารปณสญิ โปดนด์ รรย้วสะ่งุ เยยเภุนรภุกน้าือูมตกษงิป์ใาขติชัญรึ้น้ใทพญนขัฒ่วี ากอ่านา(งราHมจดuหิตาmเใานจaวแินnทิ ลชยWะีวกาิตisลาdรแยั oนลทm้อะี่กมส)ลนาร่ามาววปามแรรทัชลถั้งญ้วบกนาูรารณพเี้ เอรยางะยีกพวายยุทรอ่าอธฟมศงคื้นาเปส์คฟน็นวูจาาิตเมมคใจารรู้ื่อง กผใหสา้มารนีคต แุณ่อกยธน่ รอแรดทมจข้จาอรกิยงแกพธผารรนระรพพมดฒัมาทุ เาธนนกศคาินขามวส้ึนกหานาามทารววทั้ตงทิ ่าน่ีมายี้่ันมาคเคลแพวงยัน่ือาดใมพวหงั ค“ัเฒกด้พสิดลนายีมา่รา\"วรงมครไอขหด่วคฺยอม้ามู่ใางนวีผพนผิทลฐัฒพู้าํบยตนาังรนะโคลอ้ าปโับัยมคสใมรสเชู่วงพมโุ้ตสิสขรรั้งรัยยีแ..า้ ท”ตงงไัศพก่วปนัน้นืันด์ททฐ้วา่ีวี่ ใย๑น่าหกทต้เ“ันากุลรงข\"ิด่วาปุ.คมสัญผธมพขุ่าญ.ัฒน๒๒าก๕นข๕าาอ๖รพ/ง๓๔รมลับน๑เเปมฟุษน็ือยังตงข์ใโน้น้อลอไกเปนสาดนโคด้วอตยยแ”เกปนาน็ะร ร ักใคขษหอาา้บแงสบรนารคุะมลลนวุัคาาัตกคแถเรกีธมุปม่มรอ่ืรหรหะเามาปสววองน็ิทิทคนั ยดย์ ยางัาลังนลัยปัยแ้ี ทรดลุกะ้วว้ ภโยจยาดงึ ชคีตจสนละว่ ์ใเอนหปดน็้เมรกวทาดิมจนี่ ขนไาป่ ้ึนสอถัมแนงึ ฤลกโุ ท้วรมรธแทมิผลนกละาาเแรชยลสงิ่่อื ะภไหมาดามห้วกหาา่ วทาจิทวกุะิทยเคายกนลาดิ ลัทยขัยจกุ ้นึ แะฝตลไดา่ ะอ่ ย้นผไใาู้ทปนไรปมงใเหคหปุณ้คา็นวงวแอุฒทินยยิวใน่ถูทาดลาา้างวยั นแรนตตหจี้ ่า่งละงกอไาๆดดรเ้กพทจาี่ไัฒรดลญิ น้ใหแา้ ละ รราายชใพผหทู้งวร้ดาริทะีนยงพยคิ่งปุทาขณุ รลึ้นธวะัยศแุฒจขลทา�ำิ อสะแปี่ไเอนลดตฉี นะา้รรกบบ\"่วโุียาบัมคุมมรจลทนดคกึงาาน้ีวขันกโเาอนาดรยมแกทนิยังพกรกกุคทราาท่คว้ว่ัอบรา่ณาหมใขนนมสนะอชทู่เกผบ้าจว่ ไ่ีาู้บกพงดรรปนัริญ้เรพสีทิหะัฒยีใ่ผีคาหสน่าุรณล้เนากะใมคขนริดาณว่อรจขมะบึงาึ้นแยเคจปแระุาณ็นงกตรรก่อ่งยว่ขาไาม์อรปนเใสบจจขบืตใใ้านอจสาหมกางนแนแามล้ารงนหรทาะวว่นาข่ีทมวทแอาพิท่ีบอลงัฒยูรนะ\"พนนาุโคมาลาักวจมทัยาศาหนมรึกากยาเษวป์ไับิทกดา็นทยร้วแเาารลั้งหลงมิศข่งรยั กทอมามากาอหหรฐงนาาสาวมุวโนภิชมกทิไาาวฏุทมยก้ รนหาพาารลาัฒาชตวัยแวนาิทิทมกามยยห่แผแาากู้จานลล้ไมัดัขัวยยกทุฏำ� ดว้ ยกันมา ณ ท่ีน้ี และขออานาจคุณพระศรรี ัตนตรัย และพระบารมธี รรมแห่งเจ้าพระคุณ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสงั ฆราช สกลมหาสังฆปรณิ ายก ปกปักคุม้ ครองรกั ษาทุกท่านใหป้ ระสบสขุ ทุกทิพาราตรี เทอญ (พระอรุปาชนปาฏยอภิธกิกาสณาภรโบา(กสมดศมีหลเ,าดผว็จศิทพ.ดยรราะ.ล)มัยหมาหวาีรมวงกศุฏ์)ราชวทิ ยาลัย
ในช่วงปีที่ผ่านมา ได้มีสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างยิ่ง สาหรับมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยก็ได้มีการปรับรูปแบบการเรียน การสอนและการปฏิบัติหน้าท่ีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นจึงเป็นความท้าทายที่ทาให้มหาวิทยาลัย ต้องพฒั นา และเตรยี มพร้อมสู่การเปลี่ยนแปลงดิจิทลั (Digital Transformation) ท่ีกาลงั ดาเนนิ ไปอยู่ทกุ ขณะ การปฏิบัติงานตามแผนงานประจาปี ๒๕๖๓ ยังเป็นการเตรียมการเพื่อการเปล่ียนผ่าน สู่การประกาศใช้แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ระยะ ๕ ปี ฉบับใหม่ (พ.ศ. ๒๕๖๔ – ๒๕๖๘) ท่ีจัดทาข้ึนเพ่ือใช้เป็นกรอบในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย เพื่อให้ การปฏิบัติการของแต่ละหน่วยงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมในระยะเวลา ๕ ปีข้างหน้า โดยคานึงถงึ เป้าหมายการพัฒนาประเทศในระยะยาวภายใตก้ รอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี และมีความสอดคล้องกับ แผนยทุ ธศาสตร์ดา้ นอ่นื ๆ ที่เก่ียวขอ้ ง ตามสถานการณท์ ม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ในสังคมโลกยคุ ปัจจบุ นั มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยได้กาหนดทิศทางในการพัฒนามหาวิทยาลัยออกเป็น ๕ ยุทธศาสตร์ ๒๙ เป้าหมาย และ ๓๘ ตัวช้ีวัด เพื่อให้สามารถก้าวเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาในระดับ นานาชาติ เป็นการเปิดโอกาสให้พลเมืองโลกอันมีความหลากหลายทางชาติพันธ์ุและวัฒนธรรม สามารถเข้าถึง หลักธรรมของพระพุทธศาสนา สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินชีวิต และสามารถบูรณาการองค์ความรู้ จากสหวทิ ยาการให้เกิดงานวิจัยในระดับสากล โดยเน้นการพัฒนาจิตใจและการน้อมนาปรชั ญาพระพุทธศาสนามา ประยุกตใ์ ชเ้ พื่อพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบรู ณ์ด้วยภมู ิปัญญา (Human Wisdom) รวมทง้ั การเยียวยาฟื้นฟูจิตใจ ให้มีคุณธรรมจริยธรรมมากขึ้น ทั้งน้ี เพ่ือพัฒนามหาวิทยาลัยสู่วิสัยทัศน์ที่ว่า “ร่วมพัฒนาพลเมืองโลก ด้วยการ ผสานแกน่ แท้ของพระพุทธศาสนาทมี่ นั่ คง ใหด้ ารงอยู่ในฐานะโครงสรา้ งพื้นฐานทางปัญญาของมนุษยใ์ นอนาคต” แผนพฒั นามหาวทิ ยาลยั ดังกลา่ วไดม้ ีผลบังคบั ใช้ตงั้ แตว่ นั ที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๓ เป็นตน้ ไป โดยเป็น การต่อยอดจากการดาเนินการตามแนวคิด \"ร่วมพัฒนา มมร. ไปด้วยกัน\" ผ่านการรับฟังข้อเสนอแนะ ของบุคลากรมหาวิทยาลัยทุกภาคส่วน รวมไปถงึ กรรมการสภามหาวิทยาลัยและผู้ทรงคณุ วุฒิในดา้ นต่าง ๆ ทีไ่ ด้ให้ คาแนะนาแก่มหาวิทยาลัยด้วยดีตลอดมาจนสัมฤทธิผล และมหาวิทยาลัยจะได้นาไปเป็นแนวทางแห่งการพัฒนา ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ การดาเนนิ การในชว่ งปที ี่ผา่ นมาจึงเป็นการสืบสานงานท่ีบรู พาจารย์ไดว้ างรากฐานไว้ พฒั นาแก้ไข ให้ดีย่ิงขึ้นและเตรียมความพร้อมสู่การพัฒนาในระยะต่อไป ตามแนวทาง \"ความเป็นเลิศทางวิชาการตามแนว พระพุทธศาสนา\" จึงขอกราบขอบพระคุณ ขอบคุณ ขอบใจ และขออนุโมทนา กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ และบุคลากรทุกท่าน ที่ได้เสียสละรว่ มแรงรว่ มใจในการรว่ มพฒั นามหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย ดว้ ยกันมา ณ ที่น้ี และขออานาจคุณพระศรีรัตนตรัย และพระบารมีธรรมแห่งเจ้าพระคุณ สมเดจ็ พระอริยวงศาคตญาณ สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปริณายก ปกปักคุ้มครองรักษาทุกท่านให้ประสบสุขทุกทิพาราตรี เทอญ (พระราชปฏภิ าณโกศล, ผศ.ดร.) อธกิ ารบดี
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระผู้กอ่ ต้งั มหามกุฏราชวิทยาลยั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงเปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระ ปรเมนทรรามาธบิ ดศี รสี นิ ทรมหามงกฎุ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระสยามเทวมหามกฏุ วทิ ยมหาราช รชั กาลท่ี ๔ ประสตู แิ ตเ่ จา้ จอมมารดาแพ เมอื่ วนั ที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๐๓ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถ พระราชทานนาม “พระองคเ์ จา้ มนษุ ยนาคมานพ” สมเด็จพระมหาสมณเจ้าฯ ทรงพระหฤทัยใฝ่ในธรรม ด้วยเมื่อมีพระชนมายุครบอุปสมบทกาล ไดท้ รงผนวชเปน็ พระภกิ ษุ ตอ่ มาในพรรษกาลท่ี๓ทรงเขา้ แปลพระปรยิ ตั ธิ รรมสนามหลวงได้๕ประโยค พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๕ พระเชษฐาธริ าช ทรงไดส้ ถาปนาพระอสิ รยิ ยศ ข้นึ เป็นพระองคเ์ จา้ ตา่ งกรมที่ “กรมหมืน่ วชริ ญาณวโรรส” ดว้ ยค�ำ วา่ “วชริ ญาณ” น้ี เปน็ พระสมณฉายาของรชั กาลที่ ๔ เมอื่ ครง้ั ทรงผนวช พระนามทรงกรมน้ี จึงส่ือความหมายว่า พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสอันประเสริฐของรัชกาลที่ ๔ ด้วยทรงเป็น พระราชโอรสในสายพระโลหติ และทรงเป็นพระราชโอรสในวงศ์ธรรมยตุ ิกาทท่ี รงต้ังข้นึ ดว้ ย นบั แตน่ นั้ มาสมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯกท็ รงชว่ ยแบง่ เบาราชการทง้ั การพระศาสนาและการศกึ ษา ทรงวางรากฐานมหามกุฏราชวิทยาลัย ดังปรากฏหลักฐานทั้งลายพระหัตถ์และพระวินิจฉัยใน ขอ้ ราชการและการศาสนาตา่ ง ๆ ตลอดจนพระนพิ นธต์ �ำ ราทางพระพทุ ธศาสนาและภาษาบาลที ย่ี งั คง ใชส้ ืบมาจนถึงปจั จุบนั ด้วยหิตานุหิตประโยชน์ตลอดพระชนม์ชีพท่ีได้ทรงบำ�เพ็ญมา องค์การเพื่อการศึกษาวิทยา ศาสตร์ และวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ หรอื ยเู นสโก (UNESCO) ไดร้ ว่ มฉลองในวาระครบ ๑๐๐ ปี วนั สนิ้ พระชนมส์ มเดจ็ พระมหาสมณเจา้ พระองคน์ นั้ วนั ท่ี ๒ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ ในฐานะบคุ คลส�ำ คญั ในประวัตศิ าสตร์ไทย
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว พระผ้สู ถาปนามหามกุฏราชวทิ ยาลยั
สารบญั ขสอ้ ่วมนลู ทม่ี ห๑า วทิ ยาลยั ๐๑......................................................................................................................................................... สว่ นท่ี ๒ ๔๑รางวัลเชดิ ชเู กียรติ ในรอบปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ..................................................................... สว่ นที่ ๓ มหาวทิ ยาลยั กบั การสนองพระด�ำ ริ สมเดจ็ พระอรยิ วงศาคตญาณ ๕๓สมเดจ็ พระสงั ฆราช สกลมหาสงั ฆปรณิ ายก .............................................................................. ส่วนที่ ๔ ๖๑ผลการด�ำ เนินงานตามประเดน็ กลยุทธข์ องมหาวทิ ยาลัย ............. สขอ้ ่วมนลู ทสี่ า๕รส นเทศ ๘๕............................................................................................................................................................... ๑๐๓กจิ กรรมส�ำ คัญในรอบปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ......................................................................
1 ประวัติ ความเป็นมา ของมหาวทิ ยาลยั ประวัติความเป็นมาของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราช วิทยาลัย อาจจ�ำ แนกตามระยะเวลาที่ไดพ้ ฒั นามาจนถงึ ปัจจบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๖๓) ได้ ๓ ยุค ดังนี้ ยุคท่ี ๑ : ยคุ เปน็ วทิ ยาลัย (พ.ศ. ๒๔๓๖ – ๒๔๘๘) ยคุ ท่ี ๒ : ยคุ เป็นมหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนา (พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๕๔๐) ยุคที่ ๓ : ยุคเปน็ มหาวทิ ยาลัยในกำ�กบั ของรฐั (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ปัจจบุ นั ) รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั
2 ต�ำ หนกั ลา่ ง วัดบวรนเิ วศวิหาร ที่ตง้ั ส�ำ นักงานของมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย ในระยะแรกก่อตงั้
3 ยุคท่ี ๑ : ยคุ เปน็ วทิ ยาลยั (พ.ศ. ๒๔๓๖ – ๒๔๘๘) “มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย” เดิมเป็น วิทยาลัยเรียกว่า “มหามกุฏราชวิทยาลัย” สมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส เมื่อครั้ง ยังดำ�รงพระอิสริยยศท่ี พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหม่ืน วชิรญาณวโรรส ทรงก่อต้ังขึ้น แล้วทรงได้รับพระบรม- ราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้รับการสถาปนา (จัดตั้ง) ขึ้นโดยพระบรม ราชานญุ าตในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่๕เมอื่ วนั ที่๑ตลุ าคมร.ศ.๑๑๒(พ.ศ.๒๔๓๖)ซง่ึ เป็นวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร รามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช รัชกาลที่ ๔ และ ได้พระราชทานนามว่า “มหามกุฏราชวิทยาลัย” เพ่ือ ถวายเปน็ พระบรมราชานสุ รณเ์ ฉลมิ พระเกยี รตแิ ดส่ มเดจ็ พระบรมชนกนาถ ผทู้ รงเปน็ ปราชญท์ างพระพทุ ธศาสนา ที่สำ�คัญพระองค์หนึ่งของไทย ดังความในวัตถุประสงค์ ของการสถาปนา “มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย” ตอนหนึ่งว่า “เพ่ือเป็นท่ีเล่าเรียนศึกษาพระปริยัติธรรมของภิกษุ สามเณร” ในแจ้งความของกระทรวงธรรมการ ลงวันท่ี ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๔๓๖ (ร.ศ. ๑๑๒) ประกาศใน ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ๑๐ หน้า ๕๒๖ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลยั
4 พ.ศ. ๒๔๔๐ กรรมการสภามหามกฏุ ราชวิทยาลยั เมอื่ วนั ท่ี ๖ ตลุ าคม ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐)
5 กรรมการสภามหามกุฏราชวทิ ยาลัย เมอื่ วันท่ี ๖ ตลุ าคม ร.ศ. ๑๑๖ (พ.ศ. ๒๔๔๐) แถวหนา้ ๑. พระธรรมปาโมกข์ (ถม วราสโย) วดั มกุฎกษตั รยิ าราม เมอ่ื ครง้ั ยงั ด�ำ รงสมณศักด์ิที่ พระราชกระวี ๒. หม่อมเจา้ พระศรีสุคตคัตยานวุ ัตร (หม่อมเจ้าพรอ้ ม ธมฺมรโต) วดั เทพศริ นิ ทราวาส ๓. สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อครั้งยังดำ�รง พระอิสริยยศที่ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส ๔ . พระเจา้ วรวงศเ์ ธอ กรมหลวงชนิ วรสริ วิ ฒั น์ สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ (หมอ่ มเจา้ ภชุ งค์ สริ วิ ฑฒฺ โน) วดั ราชบพธิ สถติ มหาสมี าราม เมอื่ ครง้ั ยงั ด�ำ รงพระอสิ รยิ ยศที่ หมอ่ มเจา้ พระสถาพรพริ ยิ พรต ๕. พระสาสนโสภณ (ออ่ น อหสึ โก) วดั ราชประดษิ ฐสถติ มหาสมี าราม เมอื่ ครง้ั ยงั ด�ำ รงสมณศกั ด์ิ ที่ พระธรรมไตรโลกาจารย์ แถวกลาง ๑. พระราชเมธี (ทว้ ม กณณฺ วโร) วดั พิชยญาตกิ าราม เม่อื ครงั้ ยงั ดำ�รงสมณศักด์ทิ ่ี พระครปู ลดั อุทิจยานุสาสน์ ๒ . พระธรรมราชานุวัตร (ตา่ ย วารโณ) วดั เสนาสนาราม จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา ๓ . พระสมุทรมนุ ี (เนตร สกํ นฺโต) วัดเครอื วลั ย์ ๔ . พระอบุ าลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนโฺ ท) วัดบรมนวิ าส เม่อื คร้งั ยังด�ำ รงสมณศักดท์ิ ี่ พระครูวิจิตรธรรมภาณี แถวหลงั ๑. พระราชมนุ ี (ชม สสุ มาจาโร) วัดบวรนเิ วศวิหาร เม่ือครั้งยงั ด�ำ รงสมณศักด์ิที่ พระครูปลัดจฬุ านนุ ายก ๒. พระธรรมราชานุวัตร (แสง พุทฺธทตฺโต) วัดนิเวศธรรมประวัติ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมอ่ื ครัง้ ยงั ด�ำ รงสมณศักดท์ิ ี่ พระอมราภิรักขิต ๓ . สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ (หมอ่ มราชวงศช์ น่ื สจุ ติ โฺ ต) วดั บวรนเิ วศวหิ าร เม่ือคร้ังยังดำ�รงสมณศักด์ิท่ี พระสุคณุ คณาภรณ์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
6 เม่ือ พ.ศ.๒๔๙๘ สมเดจ็ พระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ เม่อื คร้ังยงั ดำ�รงพระอิสริยยศท่ี สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จพระ สังฆราช ทรงวางศิลาฤกษ์อาคารสภาการศึกษามหามกุฏ ราชวิทยาลยั ณ วัดบวรนิเวศวหิ าร
7 ยคุ ที่ ๒ : ยุคเปพ็นรมะพหทุาวธทิ ศยาสาลนัยา (พ.ศ. ๒๔๘๘ – ๒๕๔๐) ในยุคน้ีเร่ิมจากปี พ.ศ. ๒๔๘๘ โดยกรรมการมหามกุฏราชวิทยาลัย ซ่ึงมีสมเด็จพระ สังฆราชเจา้ กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ ขณะทรงด�ำ รงสมณศกั ด์ิท่สี มเดจ็ พระวชิรญาณวงศ์ สมเด็จ พระสังฆราช ทรงเปน็ นายกกรรมการ ได้มีมตใิ ห้จัดตงั้ มหาวิทยาลยั พระพุทธศาสนาขน้ึ เรียกว่า “สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนาแหง่ ประเทศไทย” กลา่ วไดว้ า่ มหามกุฏราชวิทยาลัยพัฒนาข้ึนเป็นมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา อันเป็นไปตามท่ีสมเด็จพระ มหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงพระดำ�ริไว้เม่ือคร้ังท่ีพระองค์ยังทรงพระชนม์อยู่ และได้เปดิ ทำ�การสอนในรูปแบบของมหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนา เมื่อวันท่ี ๑๖ กนั ยายน พ.ศ. ๒๔๘๙ และ มวี ัตถปุ ระสงคต์ ามที่สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส ทรงต้งั ไว้ ๓ ประการ คือ (๑) เพือ่ เปน็ สถานทีศ่ ึกษาพระปริยตั ิธรรมของพระสงฆ์ (๒) เพ่อื เป็นสถานทศี่ ึกษาวทิ ยา ซ่งึ เป็นของชาตภิ มู ิและต่างประเทศแหง่ กลุ บุตรทั้งหลาย (๓) เพอ่ื เปน็ สถานทจ่ี ัดสง่ั สอนพระพทุ ธศาสนา จากวตั ถปุ ระสงคด์ งั กลา่ วน้ี แสดงใหเ้ หน็ วา่ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ ฯ ทรงมพี ระด�ำ ริ ในเรอื่ ง การศกึ ษาทกี่ วา้ งไกล ทรงเห็นว่าพระภกิ ษุสามเณรน้ันควรจะไดศ้ ึกษาทั้งความรู้ทางพระศาสนา และความรอู้ นื่ ๆ ทจ่ี ะเปน็ ประโยชนต์ อ่ การด�ำ เนนิ ชวี ติ อยใู่ นสงั คม ซง่ึ ทรงเรยี กวา่ “วทิ ยา” อนั เปน็ ของชาติภูมิและต่างประเทศ เพราะความรู้ดังกล่าวน้ี แม้จะไม่เป็นประโยชน์ต่อการพระศาสนา โดยตรง แต่ก็จะเป็นสื่อกลางและปัจจัยเกื้อหนุนต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ท้ังในระดับชาติ และนานาชาติ และเปน็ ประโยชนต์ อ่ บา้ นเมอื ง ไมว่ า่ พระภกิ ษสุ ามเณรนน้ั จะยงั คงอยใู่ นสมณเพศ หรอื ลาสิกขาออกไปเปน็ พลเมืองของชาติ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลยั
8 ตกึ สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวิทยาลัย วดั บวรนเิ วศวหิ าร
9 ในยคุ ท่ี๒ (ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๑๖) เมอ่ื นกั ศกึ ษาเพม่ิ มากขน้ึ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั จงึ ไดข้ ยายการศกึ ษาจากสว่ นกลางออกสสู่ ว่ นภมู ภิ าค โดยจดั ตง้ั เปน็ วทิ ยาเขต ๗ แหง่ และวทิ ยาลยั ๑ แหง่ รวมเปน็ ๘ แหง่ คอื (๑) วิทยาเขตมหาวชิราลงกรณราชวทิ ยาลยั ตง้ั อยูท่ ่ี จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา (๒) วทิ ยาเขตสริ นิ ธรราชวทิ ยาลัย ตัง้ อยูท่ ี่ จงั หวดั นครปฐม (๓) วิทยาเขตอสี าน ตั้งอย่ทู ่ี จังหวัดขอนแก่น (๔) วิทยาเขตล้านนา ต้ังอยทู่ ี่ จังหวัดเชียงใหม่ (๕) วิทยาเขตศรธี รรมาโศกราช ต้งั อยูท่ ่ี จงั หวดั นครศรธี รรมราช (๖) วิทยาเขตรอ้ ยเอ็ด ต้ังอย่ทู ่ี จังหวัดรอ้ ยเอด็ (๗) วทิ ยาเขตศรลี า้ นช้าง ตัง้ อยูท่ ่ี จังหวดั เลย (๘) มหาปชาบดเี ถรีวิทยาลัย ตั้งอย่ทู ี่ จังหวัดนครราชสมี า คร้ันต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๓๐ มหาวิทยาลัยได้ตระหนักว่าวิชาการทาง พระพุทธศาสนา เป็นสิ่งจำ�เป็นและมีความสำ�คัญอย่างยิ่งต่อการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา และผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาจำ�เป็นต้องมีความรู้ความ สามารถในการสอนธรรมะทท่ี นั สมยั และทนั ตอ่ ความเปลย่ี นแปลงของสงั คม โลกและวิทยาการด้านต่าง ๆ จึงอนุมัติให้เปิดดำ�เนินการจัดตั้งโครงการ บัณฑติ ศึกษาขนึ้ เพือ่ เปิดสอนในระดบั ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก เรยี กวา่ “บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ” เมอื่ วนั ที่ ๒๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยไดเ้ ปดิ สอนในระดบั ปรญิ ญาโท ครง้ั แรกเมอ่ื วนั ท่ี ๓ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๓๑ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
10
11 ยุคท่ี ๓ : ยคุ เปน็ มหาวทิ ยาลยั ในกำ�กับของรัฐ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ปจั จบุ นั ) มหาวทิ ยาลยั พระพทุ ธศาสนา อนั มนี ามวา่ “สภาการศกึ ษามหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ” ไดพ้ ฒั นามา เปน็ มหาวทิ ยาลยั ในก�ำ กบั ของรฐั ไดน้ ามใหมว่ า่ “มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ” โดยพระบาท สมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร รัชกาลท่ี ๙ ทรงมี พระบรมราชโองการ โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยและให้ตรา พระราชบัญญัติขึ้นเรียกว่า “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐” กลา่ วไดว้ า่ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั จดั ตง้ั ขนึ้ ตามพระราชบญั ญตั ดิ งั กลา่ ว เปน็ นติ บิ คุ คล และเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐ มีวัตถุประสงค์ในการให้การศึกษาท่ีกว้างกว่าเดิม คือ ให้ การศึกษา วิจัย ส่งเสริมและให้บริการทางวิชาการพระพุทธศาสนาแก่พระภิกษุสามเณรและ คฤหัสถ์ รวมท้ังทะนุบาํ รุงศลิ ปวฒั นธรรม (มาตรา ๖) ในยคุ ท่ี ๓ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั เปดิ การสอนในระดบั ปรญิ ญาเอกเปน็ ครง้ั แรก เม่ือวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๘ และในปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ได้ขยายการศึกษาจากวิทยาเขต ร้อยเอ็ด โดยจัดตัง้ เป็นวิทยาลัยเพิ่มอกี ๒ แห่ง คอื (๑) วทิ ยาลยั ศาสนศาสตร์ยโสธร ตงั้ อย่ทู ่ีจังหวัดยโสธร (๒) วิทยาลัยศาสนศาสตรเ์ ฉลมิ พระเกยี รติกาฬสินธุ์ ต้ังอยทู่ ่ีจังหวัดกาฬสินธุ์ ปจั จบุ นั มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ไดเ้ ปดิ สอนตามหลกั สตู รสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ตง้ั แต่ ระดบั ปริญญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอกคณะวิชา ๕ คณะ คอื (๑) บัณฑติ วิทยาลัย (๒) คณะศาสนาและปรชั ญา (๓) คณะมนุษยศาสตร์ (๔) คณะสงั คมศาสตร์ (๕) คณะศกึ ษาศาสตร์ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวทิ ยาลัย
12
13 สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี เม่อื ครั้งยังด�ำ รงพระอิสรยิ ยศท่ี สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ มาประกอบพิธีวางศลิ าฤกษก์ ่อสร้าง มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ตำ�บลศาลายา อ�ำ เภอพทุ ธมณฑล จงั หวัดนครปฐม เมอ่ื วันท่ี ๑ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๔๘ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวิทยาลัย
14 ตราสญั ลกั ษณ์ประจำ�มหาวทิ ยาลัย ปรชั ญามหาวิทยาลัย “ความเป็นเลศิ ทางวชิ าการตามแนวพระพทุ ธศาสนา” “Academic Excellence based on Buddhism”
15 พระมหามงกุฏ และอุณาโลม สื่อความหมายถึง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช รัชกาลที่ ๔ พระผ้ทู รงเป็นท่ีมาแห่งนาม “มหามกฏุ ราชวิทยาลัย” พระเกี้ยวยอด ส่ือความหมายถึง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ พระผพู้ ระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจ้ ดั ตง้ั “มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั ” หนังสือ สื่อความหมายถึง คัมภีร์และตำ�ราทางพระพุทธศาสนา เพื่อการศึกษาค้นคว้า และ เผยแผ่พระพทุ ธศาสนา ปากกาปากไก่ ดนิ สอ และมว้ นกระดาษ สอื่ ความหมายถงึ อปุ กรณใ์ นการศกึ ษาเลา่ เรยี น การพมิ พเ์ ผยแพรค่ มั ภรี แ์ ละการผลติ ต�ำ ราทางพระพทุ ธศาสนา เพราะมหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราช วทิ ยาลยั ท�ำ หนา้ ที่เปน็ ทง้ั สถาบนั ศกึ ษา และแหล่งผลิตตำ�รบั ตำ�ราทางพระพุทธศาสนา ช่อดอกไม้แย้มกลีบ ส่ือความหมายถึง ความเบ่งบานแห่งสติปัญญา และวิทยาการในทาง พระพุทธศาสนา และหมายถงึ กติ ตศิ ัพทก์ ติ ติคณุ ที่ฟุ้งขจรไป ดจุ กลนิ่ หอมแห่งดอกไม้ ธงชาตไิ ทย ส่ือความหมายถึง อุดมการณข์ องมหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลยั ทีม่ งุ่ พทิ ักษ์ สถาบันหลกั ทัง้ ๓ คือ ชาตไิ ทย พระพทุ ธศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ พานรองรบั หนงั สอื หรอื คัมภรี ์ สอ่ื ความหมายถึง มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัยเป็น สถาบันเพือ่ ความมั่นคง และแพร่หลายของพระพุทธศาสนา วงรศั มี สอ่ื ความหมายถงึ แสงสวา่ งแหง่ ปญั ญา วสิ ทุ ธิ สนั ติ และกรณุ า ทม่ี หาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัยม่งุ สาดส่องไปทว่ั โลก แพรแถบสสี ม้ ระบนุ ามมหาวทิ ยาลยั สอื่ ความหมายถงึ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั อันเปน็ สถาบันการศึกษาทางพระพทุ ธศาสนาระดบั อดุ มศึกษา รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
16 ปณิธาน มุ่งเน้นให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผลิตบัณฑิตให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการตาม แนวพระพทุ ธศาสนา พัฒนากระบวนการด�ำ รงชวี ติ ในสังคมด้วยศีลธรรม ชนี้ �ำ และ แกป้ ัญหาสังคมด้วยหลกั พุทธธรรมท้ังในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ
17 วสิ ัยทัศน์ เป็นสถาบันอุดมศึกษาที่ผลิตบัณฑิตซึ่งมีความเป็นเลิศด้านพระพุทธศาสนาใน ระดับนานาชาติ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
18 พันธกจิ ๑. ผลิตบัณฑิตทางด้านพระพุทธศาสนา ให้มีคุณสมบัติตามปรัชญาของ มหาวิทยาลัย และกระจายโอกาสให้พระภิกษุสามเณร คฤหัสถ์ และ ผสู้ นใจมีโอกาสศกึ ษามากขน้ึ ๒. ให้บริการวชิ าการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่สังคม ชุมชน และท้องถิน่ โดยเฉพาะวชิ าการทางพระพทุ ธศาสนา เพอ่ื มงุ่ เนน้ การเผยแผพ่ ทุ ธธรรม การแกป้ ญั หาสงั คม การน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั ใหเ้ กดิ สนั ตสิ ขุ การช้ีนำ�สังคมในทางสร้างสรรค์ และการยุติข้อขัดแย้งด้วยหลักวิชาการ พระพุทธศาสนา
19 ๓ . วิจัยและพัฒนางานวชิ าการเชงิ ลึกดา้ นพระพุทธศาสนา เพือ่ สรา้ งองค์ความรู้ ทางด้านวิชาการพระพุทธศาสนาใหม่ ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และเผยแผ่องค์ความรู้ในระบบเครือข่ายการเรียนรู้ที่ ทนั สมัย ๔ . รวบรวมและจัดเก็บขอ้ มูลดา้ นศาสนาและศิลปวัฒนธรรมเพอ่ื ให้มหาวทิ ยาลยั เป็นแหล่งค้นคว้า ทำ�นุบำ�รุงรักษาภูมิปัญญาไทยและท้องถิ่น รวมทั้งสร้าง ชุมชนท่เี ขม้ แขง็ เพื่อใหม้ ภี มู คิ ุม้ กนั วฒั นธรรมท่ีไม่เหมาะสม รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลยั
20 วตั ถปุ ระสงคห์ ลัก ๑. ผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการตามแนวพระพทุ ธศาสนาเพอื่ จรรโลงพระพุทธศาสนาในระดบั ชาตแิ ละนานาชาติ ๒. ผลติ บณั ฑติ คฤหสั ถท์ กุ คนใหเ้ ปน็ คนดีคอื คดิ ดีพดู ดีและท�ำ ดีตามแนวทาง แหง่ พระพทุ ธศาสนา ๓. บริการวิชาการตามแนวพระพุทธศาสนาแก่สังคมให้เกิดผลสัมฤทธิ์เป็น ประจักษช์ ดั เจน ตอ่ สังคมไทยและสังคมโลก ๔. ผลิตบัณฑิตเป็นผู้นำ� เพื่อสร้างสังคมไทยให้มีความเข้มแข็งทาง สงั คมศาสตร์ และมคี ณุ ภาพทงั้ ด้านความรู้และความประพฤติ
21 ๕. ผลิตบัณฑิตเป็นผู้นำ� เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งภูมิปัญญา การเรียนรู้ และเปน็ ศูนย์กลางทางวิชาการพระพทุ ธศาสนาเถรวาท ๖. ผลิตบัณฑิตเป็นผู้นำ� เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งสมานฉันท์ ความเอื้ออาทรต่อกันและความสามัคคี โดยใช้หลักสาราณียธรรมและ พรหมวิหารธรรม ๗. สร้างระบบการบริหารองค์กรให้เป็นองค์กรท่ีมีลักษณะของความเป็น มหาวิทยาลัยเฉพาะทางพระพุทธศาสนาและมีมาตรฐานระดบั สากล
22 อตั ลักษณ์ บณั ฑติ มคี วามรอบรใู้ นหลกั พระพทุ ธศาสนาและสามารถเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนา แกส่ งั คมในระดับชาติหรอื นานาชาติ
23 เอกลักษณ์ บรกิ ารวิชาการพระพุทธศาสนาแกส่ ังคมในระดบั ชาตหิ รือนานาชาติ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลยั
24 ศปราะจสำ�นมหสาวุภิทายษาลิตัย วชิ ชฺ าจรณสมฺปนโฺ น โส เสฏฺโ เทวมานุเส ผูส้ มบรู ณด์ ว้ ยความรูแ้ ละความประพฤติ เปน็ ผปู้ ระเสรฐิ ในหมูเ่ ทพและมนุษย์ สีประจำ�มหาวิทยาลยั สีส้ม หมายถึง สีประจำ�วันพระบรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั พระสยามเทวมหามกฏุ วทิ ยมหาราช
25 ประจำ�มหาวติทยน้ าไลมัย้ ต้นโพธ์ิ ต้นไม้ท่ีองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประทับนั่งตรัสรู้อนุตตรสัมมา สัมโพธญิ าณ ภายใต้ร่มเงาของต้นพระศรีมหาโพธ์ิ ประจำ�มหคาตวิทพิ ยจาลนัย์ ระเบียบ สามคั คี บ�ำ เพญ็ ประโยชน์ รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวิทยาลัย
26 โครงสร้างมหาวทิ ยาลัย สภามหาวทิ ยาลัย คณะกรรมการ ทป่ี รกึ ษาสภามหาวิทยาลยั บริหารงานบุคคล คณะกรรมการ การเงนิ และทรัพย์สนิ สำ�นักงานตรวจสอบภายใน อธิการบดี ทป่ี รกึ ษามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ ผชู้ ่วยอธิการบดี รองอธิการบดี ส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี คณะ สถาบนั /ศูนย์ วทิ ยาเขต/ วิทยาลัย - กองกลาง - บณั ฑิตวิทยาลัย - กองแผนงาน - คณะศาสนาและ - สถาบันวจิ ัยญาณสังวร - มหาวชิราลงกรณราชวิทยาลัย - กองพฒั นานกั ศึกษา ปรชั ญา - ศนู ยบ์ รกิ ารวชิ าการ - สริ นิ ธรราชวทิ ยาลยั - ส�ำ นกั งานประกนั - คณะมนษุ ยศาสตร์ คุณภาพการศกึ ษา - คณะสงั คมศาสตร์ - อีสาน - คณะศกึ ษาศาสตร์ - ลา้ นนา - ศรีธรรมาโศกราช - รอ้ ยเอด็ - ศรลี ้านช้าง - มหาปชาบดีเถรวี ทิ ยาลยั - วทิ ยาลัยศาสนศาสตรย์ โสธร - วิทยาลยั ศาสนศาสตร์ เฉลมิ พระเกยี รติกาฬสินธุ์
27 คณมะกหารมรกุฏมมรกหาชาาววริิททสยยาาภลลาััยย สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก นายกสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ (บรรพชิต) สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลยั พระพรหมวสิ ทุ ธาจารย์ พระเทพสงั วรญาณ พระเทพโมลี รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
28 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยตำ�แหน่ง พระราชปฏภิ าณโกศล, ผศ.ดร. ดร.สภุ ทั ร จำ�ปาทอง ศ.ดร.นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวไิ ล อธิการบดี ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปลัดกระทรวงการอดุ มศกึ ษา มหาวิทยาลยั มหามกฏุ ราชวทิ ยาลยั วทิ ยาศาสตร์ วิจัย และนวตั กรรม ม.ล.พัชรภากร เทวกุล นายอ�ำ นาจ วิชยานวุ ัติ นายเดชาภวิ ัฒน์ ณ สงขลา นายณรงค์ ทรงอารมณ ์ เลขาธกิ าร เลขาธกิ าร ผ้อู �ำ นวยการ ผอู้ �ำ นวยการส�ำ นกั งาน สภาการศึกษา ส�ำ นกั งบประมาณ พระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาติ คณะกรรมการ ข้าราชการพลเรอื น คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผู้ทรงคุณวุฒิ (คฤหัสถ์) ดร.กฤษณพงศ์ กรี ตกิ ร ศ. (พเิ ศษ) ธงทอง จนั ทรางศุ ดร.สชุ าติ เมืองแกว้ ศ.ดร.ชาญณรงค์ พรรงุ่ โรจน์
29 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย ผู้บริหาร พระมหามฆวนิ ทร์ ปรุ สิ ุตฺตโม, ผศ.ดร. พระครูปลดั สวุ ัฑฒนพรหมจรยิ คุณ พระครสู ุนทรมหาเจติยานุรักษ์, ผศ.ดร. พระครสู ธุ จี ริยวฒั น์, ผศ.ดร. พระมหาอรณุ ปญฺ ารุโณ พระมหาบญุ นา านวีโร, ผศ.ดร. พระมหาฉตั รชัย สุฉตตฺ ชโย, ผศ.ดร. พระมหาเตชินท์ อนิ ทฺ เตโช เลขานุการสภามหาวิทยาลัย ผูช้ ว่ ยเลขานุการสภามหาวทิ ยาลยั รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย
30 พระราชปฏิภาณโกศล, ผศ.ดร. อธิการบดี ผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย (เข้ารับตำ�แหน่งตง้ั แต่ ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ถึงปัจจบุ นั ) รองอธิการบดี พระมหาฉัตรชัย สฉุ ตตฺ ชโย, ผศ.ดร. พระเทพศากยวงศ์บัณฑติ , ดร. พระมงคลธรรมวธิ าน, ผศ.ดร. พระครปู ลดั สวุ ัฑฒนพรหมจริยคุณ พระมหามฆวนิ ทร์ ปุรสิ ุตตฺ โม, ผศ.ดร. นางสาวนงนารถ เพชรสม นายอนนั ต์ ทรพั ยว์ ารี นางฉววี รรณ อกั ษรสวาสดิ์
31 รองอธิการบดี วิทยาเขต พระกิตตสิ ารสธุ ี พระปรยิ ตั ธิ รรมเมธี พระครสู ุธจี รยิ วฒั น์, ผศ.ดร. รองอธิการบดี รองอธิการบดี รองอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตมหาวชริ าลงกรณ วิทยาเขตอีสาน ราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรนิ ธรราชวิทยาลยั พระครสู ุนทรมหาเจตยิ านุรกั ษ,์ ผศ.ดร. พระครสู ริ ธิ รรมาภริ ัต, ผศ.ดร. พระครวู จิ ติ รปญั ญาภรณ์, ผศ.ดร. รองอธกิ ารบดี รองอธกิ ารบดี รองอธิการบดี วทิ ยาเขตลา้ นนา วทิ ยาเขตศรธี รรมาโศกราช วทิ ยาเขตร้อยเอด็ พระมหาวิเชียร ธมมฺ วชิโร, ดร. รองอธิการบดี วิทยาเขตศรีล้านชา้ ง รายงานประจำ�ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลัยมหามกุฏราชวทิ ยาลัย
32 ผู้ช่วยอธิการบดี พระมหาเตชนิ ท์ อินทฺ เตโช นายสัมฤทธ์ิ เพชรแก้ว ผศ.เสถยี ร วพิ รมหา นายพิรุฬ เพียรล� เลิศ ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี ผชู้ ่วยอธิการบดี ผชู้ ่วยอธิการบดี ผู้ช่วยอธิการบดี พ.ต.อ.หญงิ สุภาวดี ผศ.ดร.สำ�ราญ ศรีค�ำ มูล ผศ.ดร.ภาษิต สขุ วรรณดี นายเอกชาตรี สขุ เสน แสงเดือนฉาย ผูช้ ว่ ยอธกิ ารบดี วิทยาเขต ผูช้ ว่ ยอธิการบดี ผู้ช่วยอธกิ ารบดี ผูช้ ว่ ยอธิการบดี มหาวชริ าลงกรณ วทิ ยาเขตสริ ินธรราชวทิ ยาลยั วิทยาเขตอีสาน ราชวิทยาลัย ผศ.ดร.ตระกูล ชำ�นาญ รศ.ดร.เดชชาติ ตรีทรัพย์ ผศ.ดร.สรุ สิทธิ์ ไกรสนิ ดร.จกั รกฤษณ์ โพดาพล ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดี วทิ ยาเขตล้านนา วทิ ยาเขตศรธี รรมาโศกราช วทิ ยาเขตรอ้ ยเอด็ วทิ ยาเขตศรลี า้ นชา้ ง
33 หัวหน้าสำ�นักงานอธิการบดี / คณบดี พระครวู บิ ลู ศลี ขันธ์ หัวหน้าส�ำ นกั งานอธกิ ารบดี พระศรีวนิ ยาภรณ,์ ดร. พระสทุ ธสิ ารเมธี, ดร. คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย คณบดคี ณะศาสนาและปรชั ญา พระมหาสมัคร มหาวีโร พระมหาอรณุ ปญฺารุโณ พระมหาบุญนา านวโี ร, ผศ.ดร. คณบดคี ณะมนษุ ยศาสตร์ คณบดคี ณะสงั คมศาสตร์ คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์ รายงานประจ�ำ ปี ๒๕๖๓ มหาวทิ ยาลยั มหามกุฏราชวิทยาลัย
34 ผู้อำ�นวยการ พระมหาบญุ นา านวโี ร, ผศ.ดร. รกั ษาการในตำ�แหน่งผ้อู �ำ นวยการ ศูนยบ์ ริการวชิ าการ พระมหาฉัตรชยั สฉุ ตตฺ ชโย, ผศ.ดร. พระอดุ มธรี คุณ รกั ษาการในต�ำ แหน่งผูอ้ �ำ นวยการ ผ้อู ำ�นวยการมหาปชาบดีเถรวี ทิ ยาลัย สถาบนั วิจัยญาณสงั วร ในพระสงั ฆราชปู ถมั ภ์ พระครูสธุ วี รสาร, ดร. พระมหาจริ ายทุ ธ ปโยโค, ผศ. ผอู้ �ำ นวยการวทิ ยาลัยศาสนศาสตร์ ผู้อ�ำ นวยการวิทยาลยั ศาสนศาสตร์ เฉลิมพระเกยี รตกิ าฬสนิ ธ์ุ ยโสธร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126