Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรียนล่วงหน้า เภสัชวิทยา

เรียนล่วงหน้า เภสัชวิทยา

Published by Sittichai Sillapapongwarakorn, 2019-03-11 21:51:14

Description: เรียนล่วงหน้า เภสัชวิทยา

Search

Read the Text Version

วชิ าเสริมสร้างความเข้าใจ : เภสัชวทิ ยาพืน้ ฐาน ความมุ่งหมาย 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความเข้าใจคาศัพท์สาคญั ทางเภสัชวทิ ยา 2. เพ่ือให้ผู้เรียนมคี วามเข้าใจเกย่ี วกบั การทาอนั ตรกริ ิยาของยาและร่างกาย 3. เพื่อให้ผ้เู รียนมีความเข้าใจเกย่ี วกบั ปริมาณที่สาคญั ทางเภสัชวทิ ยาและพษิ วทิ ยา 4. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้ทไี่ ด้รับไปใช้เป็ นพืน้ ฐานของการเรียนวชิ าสงครามเคมี จานวนช่ัวโมงศึกษา 2 ช่ัวโมง สาหรับหลกั สูตร นายสิบ/นายทหาร เคมี ชีวะ รังสี นิวเคลยี ร์ ร.ต. สิทธิชัย ศิลปพงศ์วรากร ครู ผคช.กศ.รร.วศ.ทบ.

นิยามของยา (Definition of Drug) ยา (Drug) ตามพระราชบญั ญตั ิยา พ.ศ. 2510 คือ วตั ถุที่มุ่งหมายสาหรับใชใ้ นการ กลไกการออกฤทธ์ิ (Mechanism of action) คือ กระบวนการท่ี วนิ ิจฉยั บาบดั บรรเทา รักษาหรือป้องกนั โรค หรือความเจบ็ ป่ วยของมนุษยห์ รือสัตว์ สารเคมีเขา้ ทาอนั ตรกิริยากบั ร่างกายจนเกิดผลออกมา โดยปกติแลว้ จะอธิบายโดย เจาะจงชื่อสารเคมีและเป้าหมายของสารน้นั ๆ ว่ามีการทาอะไรและมีผลในระดบั ซ่ึงนอกจากนิยามดงั กล่าวแลว้ ในวชิ าเภสัชวทิ ยา (Pharmacology) ซ่ึงเป็ น โมเลกุลตามมาอยา่ งไร วิชาที่ศึกษาอันตรกิริยาเคมี (Chemical interaction) ของสารเคมีกับ สิ่งมีชีวิตที่รับสารน้นั เขา้ ไป ยงั ได้กล่าวเพิ่มเติมว่า ยา น้ันตอ้ งเป็ นสารท่ีเขา้ ไปทา อนั ตรกิริยาเคมีกบั เป้าหมายของยาในร่างกายและส่งผลต่อกระบวนการต่าง ๆ ใน ร่างกาย ซ่ึงผลในการรักษาท่ีไดอ้ าจเป็ นผลท่ีต้งั ใจใหเ้ กิด หรือผลขา้ งเคียงของยาแต่ ช่วยในการรักษาก็ได้ ผ ล ใ น ก า ร รั ก ษ า ( Therapeutic กลไกการออกฤทธ์ิของอะเซทลิ โคลีน effect) คือ ผลที่ต้องการให้เกิดข้ึนเม่ือใช้ยา เพ่ือรักษาหรือบรรเทาอาการ อาการ (Symptom) คือ อาการท่ีมีเฉพาะผปู้ ่ วย เท่าน้ันท่ีจะรู้สึกได้ หมอหรือผูส้ ังเกตการณ์จะไม่ ผลข้างเคียง (Side effect) คือ อาการที่ สามารถบอกไดว้ า่ ผูป้ ่ วยกาลงั รู้สึกอย่างไร เช่น อาการ เกิดควบคู่กบั ผลในการรักษา แต่ไม่ใช่อาการที่ ปวดทอ้ ง ปวดศีรษะ มองเห็นภาพไมช่ ดั อยากใหเ้ กิด อาจเป็นผลดี หรือผลเสียกไ็ ด้ อาการแสดง (Medical sign) คือ อาการที่ผู้ ผลไม่พึงประสงค์ (Adverse effect) สังเกตการณ์สามารถเห็นได้ เช่น ขนาดของรูม่านตา คือ อาการที่เป็ นอนั ตรายจากการรักษาต่าง ๆ ซ่ึง เปลี่ยนแปลง ตวั ซีด ตวั แดง เหง่ือออกมาก ไม่ตอ้ งการใหเ้ กิด

กลไกการออกฤทธ์ิ (Mechanism of action) ความสาคัญของกลไกการออกฤทธ์ิ คือ เพื่อให้เข้าใจถึงสิ่งท่ีเกี่ยวข้องและ จากกระบวนการดงั กล่าวจะเห็นวา่ หากทาการยบั ย้งั ข้นั ตอนท่ี 1 หรือ 2 จะทา กระบวนการทเี่ กดิ ขึน้ เม่ือยาเข้าทาอนั ตรกริ ิยากับเป้าหมายในร่างกาย ซึ่งเม่ือเข้าใจได้ ให้การปล่อยสารสื่อประสาทหยุดลงและร่างกายจะทางานไม่ได้ แต่หากยบั ย้งั ถึงกระบวนการท้ังหมด ก็จะสามารถคาดการณ์ถึงผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้ ดังตัวอย่าง ข้นั ตอนที่ 4 สัญญาณจะไม่ถูกหยุดทาให้ร่างกายทางานหนักเกินไปจนเป็ น กลไกการออกฤทธ์ิของอะเซทลิ โคลนี ต่อไปนี้ อมั พาตและระบบหายใจลม้ เหลวได้ ซึ่งสารพษิ (Toxic agent) ต่าง ๆ มักจะ มีกลไกทท่ี าให้เกดิ ความผดิ ปกตขิ องกระบวนการต่าง ๆ ในร่างกายน่ันเอง 1. กระแสประสาท (Nerve pulse) ส่งมาถึงบริเวณปลายประสาท 2. ไอออนแชนแนล (Ion channel) ไดร้ ับสัญญาณจึงปล่อยไอออนบวกเขา้ ยา ที่ เข้า สู่ ร่ า ง ก า ย มีก ล ไ ก ออก มา เพื่อกระตุ้นให้มีการปล่อยสารสื่อประสาท (Neurotransmitter) ท่ีชื่อ ฤทธ์ิท่ีพบมาก 2 กลไก คือ เป็ น อะเซทลิ โคลนี (Acetylcholine, ACh) ตวั กระตุน้ (Agonist) คือออก 3. อะเซทิลโคลีนจะไปจบั กบั ตัวรับ (Receptor) ท่ีปลายประสาทอีกฝ่ังหน่ึง ฤทธ์ิ แบบเดียวกับสารเคมีใน และทาใหเ้ กิดการส่งสัญญาณตอ่ ไป ซ่ึงสญั ญาณน้ีจะทาใหร้ ่างกายทางานตามสมองสัง่ ร่างกาย เช่นในตวั อย่าง กุญแจผี 4. เอนไซม์อะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส (Acetylcholinesterase) จะ (Pick lock) สามารถไขลูกบิด ทาลายอะเซทิลโคลีน เพอื่ ยบั ย้งั การส่งสญั ญาณไมใ่ หม้ ากเกินไป ไดเ้ ช่นเดียวกบั กุญแจบา้ นแมจ้ ะมี รูปร่างต่างกัน และเป็ นตวั ยบั ย้งั (Antagonist) คือแยง่ สารเคมี ในร่ างกายจับกับตัวรับ ทาให้ สารเคมีไม่สามารถจบั กบั ตวั รับ ได้ นอกจากน้ียงั มีกลไกอ่ืน ๆ เช่น การเขา้ ไปจบั กบั DNA การทา ใหเ้ ยอื่ หุม้ เซลลเ์ สียหาย เป็ นตน้

ผลทางสรีรวทิ ยาและผลทางกายภาพ (Physiological effect and physical effect) ยาต้านพษิ (Antidote) เม่ือยาหรือสารเคมีจบั กบั ตวั รับตามกลไกการออกฤทธ์ิซ่ึงเป็ นผลในระดับ ยาต้านพิษ คือ ยาที่เม่ือเข้าสู่ร่างกายแล้วไปบรรเทาอาการจากการได้รับ สารพิษไมใ่ หเ้ ป็นอนั ตรายถึงชีวติ ซ่ึงยาตา้ นพษิ จะเลือกใชย้ าที่มีกลไกตรงขา้ มกบั โมเลกุลแลว้ ส่ิงที่เกิดข้ึนต่อไปก็คือการตอบสนองในระดบั เซลล์ (Mode of สารพษิ หรือกลไกอื่น ๆ ท่ีช่วยบรรเทาอาการกไ็ ด้ เช่น action) แลว้ จึงส่งผลต่อระบบอวยั วะต่อไป ซ่ึงผลที่ได้เหล่านี้เรียกว่าผลทาง สรีรวทิ ยา ยาต้านพิษสารประสาท คือ อะโทรปี น (Atropine) ซ่ึงออกฤทธ์ิโดยการยบั ย้งั การ อาการคลื่นไส้ อาการรูม่านตาหร่ีเลก็ อาการตวั เขียว จบั ของอะเซทิลโคลีนกบั ตวั รับท่ีมากเกินไป (Nausea) (Miosis) (cyanosis) อัน เ ป็ น ผ ล จ า ก ส า ร ป ร ะ ส า ท ไ ป ยับ ย้ัง เอนไซมอ์ ะเซทิลโคลีนเอสเทอเรส และ พรา ในขณะท่ีการทาอนั ตรายร่างกายดว้ ยความร้อน แรงเสียดสี แรงกด แรงเฉือน ลิดอกซีม (Pralidoxime, 2-PAM) เป็ นการทาให้เกิดผลโดยไม่ผ่านกระบวนการในระดบั เซลล์ ซ่ึงผลท่ีได้เหล่านี้ ออกฤทธ์ิโดยไปแยกสารประสาทออกจาก เอนไซมด์ งั กล่าว เรียกว่าผลทางกายภาพ ยาตา้ นพิษไซยาไนด์ คือ ไฮดรอกโซโคบาลามีน (Hydroxocobalamine) ซึ่งออกฤทธิ์โดย การไปจบั ไซยาไนดภ์ ายในกระแสเลือด และขบั ออก จากร่างกายผ่านทางไต ซ่ึงไซยาไนด์เป็นสารพิษท่ี ทาให้เซลล์ในร่างกายไมส่ ามารถใช้ออกซิเจนได้ ทา ให้เสียชีวิตได้ภายในเวลาอนั รวดเร็ว ท้งั น้ีอาจใช้ สารประกอบไนไตรต์ก็ได้แต่ต้องอยู่ภายใต้การ ควบคุมของแพทยเ์ นื่องจากผลไม่พึงประสงค์อาจ เป็นอนั ตรายถึงชีวติ ได้

ปริมาณสาคญั ทคี่ วรรู้ (Significant value) แม้ว่ายาจะช่วยรักษาอาการเจ็บป่ วยต่าง ๆ ได้ แต่การได้รับมากเกนิ ความจาเป็ นก็ LCt50 ขนาดฆ่าคร่ึง (Median Lethal Dose) คือ ขนาดของสารเคมีท่ีต้องใช้เพ่ือให้ตวั อย่างร้อยละ 50 อาจเกิดความเป็ นพิษ (Toxicity) แทนได้ ดังน้ันยาต่าง ๆ รวมไปถึงสารพิษจึงมี เสียชีวิตผ่านการสูดดม (และการสัมผสั สาหรับสาร การทดลองหาปริมาณต่าง ๆ ขึ้นมา เพ่ือเป็ นข้อพิจารณาในการรักษา และหลีกเล่ียง ประสาทและสารพุพอง) ปกติใช้กับสารที่เป็ นไอหรือ ความเป็ นพษิ จากการใช้ยาเกนิ ขนาด ซึ่งปริมาณสาคญั ทค่ี วรรู้มีดังนี้ แก๊ส มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม-นาทีต่อลูกบาศกเ์ มตร ED50 ขนาดยงั ผลครึ่ง (Median Effective Dose) Eยงั ผล/เกดิ ผล โดยสรุปคือ ค่าท่ีนาหน้าด้วยอักษร E ECt50 คือขนาดของสารเคมีที่ตอ้ งใชเ้ พ่ือให้ตวั อยา่ งร้อยละ 50 น้ัน เป็ นอาการท่ีต้องให้เกิดโดยไม่ถึงกับ (คร่ึงหน่ึงของท้งั หมด) เกิดผลตามที่ตอ้ งการผ่านการ เสียชีวติ L สัมผสั ปกติใช้ กับสารท่ีเป็ นของเหลว มีหน่วยเป็ น เสียชีวิต อักษร L คือต้องการให้เสียชีวิต มิลลิกรัมต่อ 70 กิโลกรัม Dของเหลว นอกจากนี้ยังมีอักษรต่าง ๆ แล้วแต่ ว่า ขนาดยงั ผลครึ่ง (Median Effective Dose) ต้ องการเจาะจงถึงส่ิ งใด เช่ น ID50 คือขนาดของสารเคมีที่ตอ้ งใช้เพื่อให้ตวั อยา่ งร้อยละ 50 อักษร I นี้มาจาก Incapacitating เกิดผลตามท่ีต้องการผ่านการสูดดม (และการสัมผัส (หมดสมรรถภาพ) MD50 อกั ษร M นี้ สาหรับสารประสาทและสารพุพอง ปกติใช้กบั สารท่ีเป็ น มากจาก Miosis (รูม่านตาหร่ีเลก็ ) ไอหรือแก๊ส มีหน่วยเป็นมิลลิกรัม-นาที/ลูกบาศกเ์ มตร อกั ษร D ด้านหลังหมายถึง ค่านี้เป็ น LD50 ขนาดฆ่าคร่ึง (Median Lethal Dose) คือ Ctไอ/แก๊ส ค่าทีใ่ ช้กบั ของเหลว ถ้าเป็ นแก๊สหรือไอจะ ขนาดของสารเคมีท่ีต้องใช้เพื่อให้ตวั อย่างร้อยละ 50 เสียชีวติ ผา่ นการสมั ผสั ปกติใช้กบั สารทเี่ ป็ นของเหลว มี ใช้อกั ษร Ct หน่วยเป็นมิลลิกรัมต่อ 70 กิโลกรัม เลขห้อยสามารถมีค่าได้ต้ังแต่ 0 – 100 แต่ปกติแล้วมักจะสนใจกันท่ีค่า 50 หรือคร่ึงหนึ่งของท้งั หมด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook