ก คำนำ เอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 6 เรื่องไตรแอคและไดแอค วิชางานพื้นฐานวงจร อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 30105-0003 โดยเนื้อหาสอดคล้องและครบถ้วนสมบูรณ์ตามคำอธิบาย รายวชิ าในหลักสตู รประกาศนยี บตั รวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2563 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ภายในเนื้อหาบทเรียน ประกอบด้วย โครงสร้างของไตรแอคและไดแอค สัญลกั ษณ์ของไตรแอคและไดแอค วธิ ีการไบอัสไตรแอคและไดแอค การวดั และทดสอบไตรแอคและ ไดแอค และ วงจรใช้งานของไตรแอคและไดแอค การดำเนนิ การสอน 1) ผ้สู อนตอ้ งดำเนินการสอนตามกำหนดการสอน 2) การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน มขี ้นั ตอนดังน้ี (1) ข้ันเตรยี ม/ข้นั นำ ประกอบด้วย การจดั เตรียมสอ่ื การสอน การตรวจสอบนักเรียน การทดสอบก่อนเรยี น แจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ และนำเขา้ ส่บู ทเรยี น (2) ข้ันการเรียนการสอน ประกอบด้วย การถา่ ยทอดความรู้ การทดสอบความเขา้ ใจ ทำแบบฝึกหัดพร้อมเฉลย ทดลองตามใบงาน ตรวจใบงาน การทดสอบหลงั เรียน บันทึกคะแนน การเกบ็ คะแนน คะแนนประจำหนว่ ย 60 คะแนน ประกอบดว้ ย (1) คะแนนแบบฝกึ หดั 20 คะแนน (2) คะแนนปฏบิ ัติงาน (ทดลองใบงาน) 20 คะแนน (3) คะแนนพฤติกรรม/คะแนนดา้ นจติ พสิ ยั 10 คะแนน (4) คะแนนทดสอบหลงั เรยี น 10 คะแนน สันตภิ าพ มะสะ ผู้จดั ทำ
ข สารบัญ หนว่ ยท่ี 6 ไตรแอคและไดแอค หน้า 6.1 แบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยที่ 6 1 6.2 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยท่ี 6 6.3 ใบความรู้ท่ี 6 261 6.4 แบบฝึกหดั ที่ 6 263 6.5 เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 6 6.6 ใบงานท่ี 6 264 6.7 แบบประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ใบงานท่ี 6 283 6.8 แบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยท่ี 6 286 6.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หนว่ ยท่ี 6 6.10 แบบประเมนิ คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ หนว่ ยที่ 6 287 6.11 เอกสารอา้ งองิ หน่วยที่ 6 292 293 295 296 297
261 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยท่ี 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวิชา งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 12-13 ชื่อหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่อื เร่ือง : ไตรแอคและไดแอค เวลา 30 นาที คำสั่ง จงทำเครือ่ งหมายกากบาท () ลงบนตัวเลอื กท่ีถูกตอ้ ง 1. ไดแอค มขี าใช้งานก่ขี า ก. 2 ขา ข. 3 ขา ค. 4 ขา ง. 5 ขา จ. 6 ขา 2. วงจรสมมลู ของไตรแอค ประกอบด้วยอปุ กรณ์ใด ก. ไดโอด ข. เอสซอี าร์ ค. ตวั ต้านทาน ง. ซเี นอร์ไดโอด จ. ทรานซสิ เตอร์ 3. ขอ้ ใดคือสญั ลกั ษณข์ องไตรแอค ก. ข. ค. ง. จ. 4. ไตรแอคจะนำกระแสหรอื ทำงานได้ จะต้องจดุ ชนวนท่ขี าใด ก. G ข. K ค. A1 ง. A2 จ. A 5. อปุ กรณ์ใด สามารถนำกระแสได้ 2 ทิศทาง ก. ไดโอด ข. ไตรแอค ค. เอสซอี าร์ ง. ซเี นอรไ์ ดโอด จ. ทรานซสิ เตอร์
262 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 12-13 ชื่อหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่อื เรอื่ ง : ไตรแอคและไดแอค เวลา 30 นาที 6. ข้อใดคือสญั ลักษณข์ องไดแอค ก. ข. ค. ง. จ. 7. การวัดคา่ ความต้านทานของไตรแอค ระหว่างขาใด มีค่าความตา้ นทานตำ่ ก. A กบั K ข. G กับ K ค. G กบั A1 ง. G กบั A2 จ. A1 กบั A2 8. ถ้าผลการวดั และทดสอบไตรแอค ด้วยมัลติมเิ ตอร์ พบว่า เข็มขึน้ 2 ครั้ง แสดงว่า ไตรแอคอยใู่ นสภาพใด ก. รว่ั ข. ขาด ค. ปกติ ง. ชอ็ ต จ. ยืด 9. ถ้าผลการวัดและทดสอบไดแอคดว้ ยมลั ตมิ เิ ตอร์ พบว่า เข็มข้นึ 2 คร้งั แสดงว่า ไดแอคมสี ภาพใด ก. ร่วั ข. ขาด ค. ปกติ ง. ชอ็ ต จ. ยดื 10. ข้อใดคอื วงจรใชง้ านของไตรแอค ก. วงจรเรก็ กเู ลเตอร์ ข. วงจรกำเนิดความถี่ ค. วงจรขยายสญั ญาณ ง. วงจรชาร์จแบตเตอร่ี จ. วงจรควบคมุ ไฟกระแสสลับ
263 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยที่ 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ท่ี 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชั่วโมง ชือ่ เร่ือง : ไตรแอคและไดแอค เวลา 30 นาที เฉลยคำตอบ ขอ้ ที่ ข้อทีถ่ ูกตอ้ ง 1ก 2ข 3จ 4ก 5ข 6จ 7ค 8ค 9ง 10 จ ขอ้ ละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน
264 ใบความร้ทู ี่ 6 หน่วยท่ี 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ท่ี 12-13 ชื่อหน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ชอ่ื เรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ช่วั โมง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. อธบิ ายโครงสร้างของไตรแอคและไดแอคได้ 2. บอกสญั ลกั ษณ์ของไตรแอคและไดแอคได้ 3. อธบิ ายการไบอสั ของไตรแอคและไดแอคได้ 4. บอกวิธีการวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอคได้ 5. บอกวงจรใช้งานของไตรแอคและไดแอคได้ สาระการเรยี นรู้ 1. โครงสร้างของไตรแอคและไดแอค 2. สญั ลกั ษณข์ องไตรแอคและไดแอค 3. การไบอสั ของไตรแอคและไดแอค 4. การวดั และทดสอบไตรแอคและไดแอค 5. วงจรใช้งานของไตรแอคและไดแอค
265 ใบความรูท้ ่ี 6 หนว่ ยท่ี 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 12-13 ช่อื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ช่อื เรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชั่วโมง ไตรแอค (Triac) มาจากคำวา่ ไตรโอด แอค (Triode AC) เป็นอุปกรณ์จำพวกไทรสิ เตอร์ (Thyristor) ท่ีพฒั นามาจาก เอสซีอาร์ แต่สามารถนำกระแสได้ 2 ทิศทาง และเปน็ อปุ กรณ์โซลดิ สเตทสวติ ช์ ทท่ี ำหน้าทเ่ี ปน็ สวิตช์ ปิด-เปดิ วงจรทางไฟฟา้ หรอื อิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ีใชก้ บั ไฟฟา้ กระแสสลบั จึงนยิ มอยา่ งแพร่หลาย โดยเฉพาะการ นำไปใช้เปน็ อปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกสใ์ นงานอตุ สาหกรรม ข้อดีกวา่ สวติ ชธ์ รรมดาของไตรแอคท่ีทำหนา้ ที่เป็นสวติ ช์ คอื 1) การเปดิ และปดิ วงจรของไตรแอค (Triac) มีความเร็วหรอื ความไวกวา่ สวติ ช์ธรรมดาหลาย เท่า และมคี วามปลอดภยั จึงทำใหส้ ามารถควบคมุ กำลงั งานได้ 2) ใชพ้ ลังงานเพยี งเลก็ นอ้ ยในการจดุ ชนวนเกต 3) ไม่มีการสปารค์ 4) สามารถควบคุมเร่อื งเฟสของสญั ญาณได้ ภาพท่ี 6-1 รูปรา่ งของไตรแอค ที่มาของภาพ : http://www.udorncooling.com/14479721/4-%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8% A3%E0%B9%81%E0%B8%AD%E0%B8%844 ไดแอค (DIAC) หรือไดโอด-แอก (DIODE-AC) เป็นอปุ กรณจ์ ุดชนวนไตรแอค ทำหนา้ ทจี่ ำกัดกระแส และป้องกนั การกระโชกของแรงดันไฟสลับทอี่ าจทำให้ไตรแอคชำรุดเสียหาย นอกจากน้ยี งั ทำหน้าท่ีควบคุมเฟส กำหนดเวลาเร่ิมทำงานของไตรแอค เมอื่ นำไตรแอคกบั ไดแอคมาประกอบวงจร สามารถทำใหว้ งจรทำงานหรือ หยุดทำงานได้ตามการควบคุมของไดแอค เชน่ วงจรปรับระดับความรอ้ นของเครอ่ื งทำนำ้ อุ่น วงจรหรไ่ี ฟแสงสวา่ ง วงจรปรบั ความมอเตอร์ ไดแอค ถกู ออกแบบใหส้ ามารถนำกระแสได้ 2 ทศิ ทาง ทร่ี ะดับแรงดันค่าหน่ึง ซึง่ มคี ่าแรงดันเร่ิมต้น อยใู่ นช่วง 29 -30 โวลต์
266 ใบความรู้ที่ 6 หน่วยที่ 6 รหสั วิชา 30105-0003 ช่ือวชิ า งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชั่วโมง ชื่อเรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง ภาพที่ 6-2 รปู ร่างของไดแอค ทมี่ าของภาพ : https://s5802021611110.blogspot.com/2017/05/diac-diac-2-p-n-p-3-2-transistor-1- dope.html 6.1 โครงสรา้ งของไตรแอคและไดแอค โครงสร้างของไตรแอค ไตรแอค เกิดจากการนำสารก่งึ ตวั นำชนิดพีและชนดิ เอน็ ต่อเรยี งกนั จำนวน 5 ชั้น มีขาใช้งาน 3 ขา คือ 1) ขาอาโนด 1 (Anode1) : A1 หรือ เมนเทอมินอล1 (Main Terminal1) : MT1 2) ขาอาโนด 2 (Anode2) : A2 หรือ เมนเทอมินอล2 (Main Terminal2) : MT2 3) ขาเกต (Gate) : G A1 , MT2 PN N NP N N G A1 , MT1 ภาพท่ี 6-3 โครงสรา้ งของไตรแอค
267 ใบความรู้ท่ี 6 หน่วยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวิชา งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 12-13 ชือ่ หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่ือเร่อื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชวั่ โมง โครงสรา้ งของไดแอค A1 N P N A2 ภาพท่ี 6-4 โครงสร้างของไดแอค วงจรสมมลู ของไตรแอคและไดแอค ไตรแอค มโี ครงสรา้ งภายใน เปรยี บเสมอื นกบั การนำเอสซีอาร์ จำนวน 2 ตวั มาตอ่ หวั และท้าย ชนกัน ส่วนไดแอค มีโครงสร้างภายใ เปรียบเสมือนกับการนำไดโอด จำนวน 2 ตัว มาต่อหัวและท้ายชนกนั เพือ่ ใหส้ ามารถนำไปใช้ในการควบคมุ ไฟฟ้ากระแสสลบั A2 , MT2 A1 G A1 , MT1 A2 ก.) วงจรสมมูลของไตรแอค ข.) วงจรสมมลู ของไดแอค ภาพที่ 6-5 วงจรสมมูลของของไตรแอคและไดแอค
268 ใบความร้ทู ี่ 6 หน่วยท่ี 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ท่ี 12-13 ช่ือหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ชื่อเร่อื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ช่ัวโมง 6.2 สญั ลกั ษณ์ของไตรแอคและไดแอค A1 A1 A2 G A2 A2 ข.) สญั ลกั ษณ์ของไดแอค A1 ก.) สัญลักษณ์ของไตรแอค ภาพท่ี 6-6 สัญลกั ษณข์ องของไตรแอคและไดแอค 6.3 การไบอสั ไตรแอคและไดแอค การไบอัสไตรแอค การไบอัสไตรแอค นอกจากการจ่ายไฟใหก้ บั ขาอาโนด 1 (A1) และขาอาโนด 2 (A2) แล้ว จะต้อง ทำการทรกิ เกอรห์ รอื จุดชนวน (Trigger) ทีข่ าเกต (G) เพ่ือใหไ้ ตรแอคทำงาน จะเหมอื นกบั เอสซอี าร์ แตส่ ามารถ ทรกิ ได้ทั้งไฟบวกหรือไฟลบ ไตรแอค มีคุณสมบัตคิ ล้ายกบั เอสซอี าร์ ตรงท่ี เมื่อนำกระแสแลว้ จะนำกระแสตลอดไป เช่นกัน แต่ไตรแอค (Triac) น้นั มขี ้อแตกต่างตรงทีส่ ามารถนำกระแสได้ 2 ทศิ ทาง ไมว่ า่ จะเปน็ การไหลของกระแสจาก A1 มายัง A2 ดังนั้น จึงนิยมใช้ไตรแอคในงานควบคุมกำลังไฟที่ตอ้ งการใช้งาน ทั้งไซเกิลบวกและลบ (ไฟสลบั ) เพราะสามารถนำมาใช้เป็นอุปกรณห์ รไ่ี ฟหรือใช้ควบคมุ กระแสไฟฟ้าสลบั ได้ จากคุณสมบัตขิ องไตรแอคเกี่ยวกบั การนำกระแสนั้น สามารถแบง่ การทำงานของไตรแอค (Triac) ออกเปน็ 4 ควอแดรนท์ (Quadrant) หรอื 4 รปู แบบ ควอแดรนท์ท่ี 1 จา่ ยไฟบวกใหก้ ับขาอาโนด 2 (A2) จา่ ยไฟลบใหข้ าอาโนด 1 (A1) แลว้ ทริกด้วย ไฟลบท่ขี าเกต (G) ควอแดรนท์ที่ 2 จา่ ยไฟบวกใหก้ ับขาอาโนด 2 (A2) จา่ ยไฟลบใหข้ าอาโนด 1 (A1) แลว้ ทรกิ ดว้ ย ไฟบวกที่ขาเกต (G) ควอแดรนท์ที่ 3 จา่ ยไฟลบใหก้ บั ขาอาโนด 2 (A2) จา่ ยไฟบวกให้ขาอาโนด 1 (A1) แล้วทรกิ ดว้ ย ไฟลบที่ขาเกต (G) ควอแดรนท์ที่ 4 จ่ายไฟลบใหก้ ับขาอาโนด 2 (A2) จา่ ยไฟบวกใหข้ าอาโนด 1 (A1) แลว้ ทรกิ ด้วย ไฟบวกท่ขี าเกต (G)
269 ใบความรู้ที่ 6 หนว่ ยท่ี 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ชื่อเร่อื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง 12 34 ภาพท่ี 6-7 การทำงานของไตรแอค ทัง้ 4 ควอแดรนท์ กราฟคุณสมบัติของไตรแอค I On-state trigerred -V 0 V OFF-state trigerred On-state ภาพท่ี 6-8 กราฟคณุ สมบตั ขิ องไตรแอค ทม่ี าของภาพ : http://www.oocities.org/supagorn_j/new_page_6.htm.
270 ใบความรู้ที่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพนื้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครงั้ ที่ 12-13 ช่ือหน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ชื่อเรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชัว่ โมง จากกราฟคุณสมบัตขิ องไตรแอคที่แสดงความสัมพันธ์ของกระแสท่ไี หลระหวา่ ง A2-A1 ท่ีให้ได้ทั้ง บวกและลบกบั แรงดนั ตกครอ่ มตัวมัน ในขณะที่ให้แรงดันคร่อม A2-A1 มีค่าเป็นบวกเทยี บกับ A1 และถ้ายงั ไม่มี การจุดชนวน (Trigger) แล้ว จะมีค่าแรงดันระหว่าง A2-A1 ค่าๆ หนึ่ง คือ แรงดันพัง (Break Over Voltage) ที่ ทำให้ไตรแอคนำกระแสได้ เช่นเดียวกับเอสซีอาร์ แต่ถ้าใหแ้ รงดัน A2-A1 มีค่าน้อยกว่าแรงดันพัง แล้วทำการจุด ชนวน (Trigger) กระแสเกตไม่ว่าจะเป็นกระแสเกตที่มีค่าเป็นบวกหรือลบ ไตรแอคจะนำกระแสทันที กราฟความสัมพันธ์และข้อจำกัดต่าง ๆ จะเหมือนกับของเอสซีอาร์ ในทำนองเดียวกัน ถ้าให้ แรงดนั ที่ A1 มีค่าเป็นบวก เมือ่ เทียบกับ A2 ส่วนของกราฟ คือ แกน x ทางดา้ นลบ โดยถา้ เพมิ่ แรงดันน้ี มีคา่ มาก ขน้ึ จนถงึ คา่ แรงดันพัง จะทำใหไ้ ตรแอคนำกระแสได้ และถ้าหากวา่ ไมม่ ีการจำกดั กระแสในตัวไตรแอค จะเกดิ การ เสียหายได้ ขณะที่ไตรแอคนำกระแส ถ้าลดค่ากระแสลงจนถึงค่ากระแสต่ำสุดที่ยังคงทำให้ไตรแอคนำ กระแสตำ่ สดุ ซึง่ เรียกวา่ กระแสโฮลด้ิง (IH : Holding Current) จะทำให้ไตรแอคหยดุ นำกระแส ถา้ ไตรแอคยงั ไม่ นำกระแสจะมกี ระแสรัว่ ไหลเกิดข้นึ แต่คา่ กระแสนีม้ ีค่าน้อยมาก เนอื่ งจากไตรแอค สามารถให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ ทงั้ 2 ทาง จงึ เหมาะกับการนำไปใช้กับไฟ สลบั มากกว่าเอสซอี ารแ์ ละสำหรบั กระแสไฟสลับ (เป็นคลืน่ รปู ไซน์) จะมีชว่ งเวลาหน่ึงทก่ี ระแสตกต่ำกว่ากระแส โฮลด้ิง (Holding Current) ดงั น้ัน จงึ ทำใหไ้ ตรแอคหยดุ นำกระแสและจะรอการจดุ ชนวนใหมอ่ ีกคร้ังและถ้าหาก ครงึ่ ลบของสญั ญาณไฟสลับ จะนำกระแสทางดา้ นลบได้เช่นเดียวกัน และจะหยุดนำกระแส เม่ือค่ากระแสลดลง ต่ำกว่ากระแสโฮลดิง้ ข้อควรระวังในการใช้ไตรแอค การวดั แรงดนั ตกครอ่ มโหลด จะไมส่ ามารถวัดเทยี บกบั แรงดันอ่ืนได้ เนื่องจากใชจ้ ุดรว่ มคนละจดุ กัน และการติดต้ังไตรแอคจะตอ้ งยึดบนแผน่ ระบายความร้อนอย่างแน่นหนาแข็งแรงและใช้วัสดุที่สามารถทน ความร้อนไดด้ ี จุดอ่อนของไตรแอคอยู่ที่ขาเกต ถ้าแรงดันที่ตกคร่อมเกตมีค่าสูง จะทำให้เกิดทะลุได้ง่าย โดยเฉพาะการนำไตรแอคไปใชใ้ นวงจรกำลงั ดังนนั้ ทข่ี าเกตจะต้องตอ่ ไดแอคเขา้ ไปเพือ่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ไตรแอคเกิด ความเสียหาย และเพื่อกำหนดแรงดันทจ่ี ะมากระตุ้นเกตดว้ ย
271 ใบความรทู้ ี่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหสั วิชา 30105-0003 ช่ือวิชา งานพนื้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครง้ั ท่ี 12-13 ชอื่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่วั โมง ชือ่ เรือ่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชัว่ โมง การไบอัสไดแอค การไบอสั ไดแอค จะอาศัยชว่ งแรงดนั พังทลายเป็นส่วนของการทำงาน เมื่อป้อนแรงดนั บวก (+) เข้าท่ีขาอาโนด 1 (A1) และแรงดนั ลบ (-) เข้าทข่ี าอาโนด 2 (A2) ทำให้รอยต่อสารก่งึ ตวั นำชนดิ เอ็น (N) และสาร ก่ึงตัวนำชนิดพี (P) ตรงบริเวณขาอาโนด 1 (A1) จะอยใู่ นลักษณะไบอัสกลับ จงึ ไมม่ ีกระแสไหลจากขาอาโนด 1 (A1) ไปยังขาอาโนด 2 (A2) ได้ เมอื่ เพิม่ แรงดนั ไบอสั กลับสูงขึ้นเร่ือย ๆ จนถงึ คา่ แรงดันค่าหนึ่ง จะทำให้กระแสสามารถไหลทะลุ ผา่ นรอยต่อสารก่งึ ตัวนำ N-P มาได้ สว่ นรอยตอ่ ตรงขาอาโนด 2 (A2) นน้ั อยู่ในสภาวะไบอสั ตรงอยู่แลว้ ดังน้ัน กระแสที่ไหลผ่านไดแอคน้ี จงึ เสมือนกบั เป็นกระแสทเี่ กิดจากการพงั ทลายของไดโอด และถา้ หากไม่มีการจำกัด กระแสแล้ว ไดแอคก็สามารถพังได้เช่นกนั ถ้าสลับขวั้ ศกั ย์แรงดันระหวา่ งขาอาโนด 1 (A1) และ ขาอาโนด 2 (A2) ไดแอคจะทำงานได้เชน่ เดียวกนั เขยี นกราฟแสดงความสัมพันธ์ของแรงดันตกคร่อมตวั ไดแอค และกระแสทไี่ หล ผ่านไดแอค แรงดันพัง A2 แรงดันตกครอ่ มไดแอค S1 หลอดไฟ 1000 W ภาพที่ 6-9 กราฟคุณสมบัตขิ องไดแอค จากกราฟ เมื่อไดแอคนำกระแส แรงดันตกคร่อมไดแอค จะลดค่าลงอกี เล็กนอ้ ย โดยปกติจะลดลง จากค่าแรงดนั พงั ประมาณ 5 โวลต์ ดงั นัน้ จากลักษณะสมบตั ขิ องไดแอค จงึ เหน็ ว่าไดแอคเหมาะท่ีจะนำไปใชเ้ ป็น ตัวปอ้ นกระแสจุดชนวนให้กับอปุ กรณ์ไตรแอค เพราะนำกระแสไดท้ ้ังสองด้าน ตัวอยา่ ง ค่าแรงดนั พังของไดแอค เบอร์ตา่ ง ๆ GT- 32 แถบสแี ดง VBO = 27-37 V GT-35 แถบสสี ม้ VBO = 30-40 V GT-40 แถบสเี หลอื ง VBO = 38-48 V GT-50 แถบสเี ขียว VBO = 56-70 V
272 ใบความรทู้ ี่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวิชา งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 12-13 ชอื่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่วั โมง ชื่อเรอื่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชัว่ โมง 6.4 การวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอค การหาขาไตรแอคดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ ให้พจิ ารณาจากโครงสร้าง พรอ้ มกบั ตารางค่าความตา้ นทานประกอบ และปฏิบัติ ดังนี้ 1) ทำการสมมติขาของไตรแอค เปน็ ขา A , ขา B และ ขา C หรือขาท่ี 1 , ขาท่ี 2 และ ขาท่ี 3 2) นำสายวดั ของโอหม์ มิเตอร์ทำการวัดทขี่ าของไตรแอคเป็นคู่ ๆ ดังตาราง A2 , NP , N N PN 1 2 3 A1 G , ภาพท่ี 6-10 การสมมติตำแหนง่ ขาและคา่ ความตา้ นทานระหว่างขาตา่ ง ๆ ของไตรแอค ตารางท่ี 6-1 แสดงค่าความตา้ นทานระหวา่ งขาต่าง ๆ ของไตรแอค คูท่ ี่ ศักยไ์ ฟ ความต้านทาน บวก (+) ลบ (-) 1 ขา 1 ขา 2 ขา 2 ขา 1 ความตา้ นทานตำ่ () ความตา้ นทานต่ำ () 2 ขา 2 ขา 3 ขา 3 ขา 2 3 ขา 1 ขา 3 ขา 3 ขา 1
273 ใบความรู้ที่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชื่อวิชา งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ที่ 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่ือเรอื่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง ผลจากตารางแสดงค่าความตา้ นทาน พอสรปุ ได้ดังน้ี 1) การวัดไตรแอค ท้งั หมด 6 ครัง้ จำนวน 3 คู่ สามารถอ่านค่าความต้านทานได้ 2 ครัง้ หรือท่ี เรียกว่า “วัด 6 ครัง้ เข็มขน้ึ 2 ครั้ง” 2) ขาที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับค่าความต้านทาน ทั้ง 2 ครั้ง คือ ขาอาโนด 2 หรือ ขา A2 3) ขาคู่ท่ี 2 จะมคี า่ ความตา้ นทานทใี่ กล้เคียงหรอื เท่ากนั และไมส่ ามารถบอกไดว้ ่า ขาใดเปน็ ขา A1 หรือ ขา G ดังนั้น จงึ ต้องทำการตรวจสอบ โดยวธิ กี ารไบอสั การทดสอบดว้ ยวธิ ีการไบอัส วธิ ีการไบอสั ทำไดโ้ ดยการสมมติให้ ขาใดขาหนงึ่ เป็นขาเกต (G) แล้วทำการจุดชนวน โดยใชไ้ ฟ จากขาอาโนด 2 (A2) ดังภาพท่ี 6-11 (ก.) เข็มมิเตอร์จะชีท้ ่คี า่ ความต้านทานประมาณ 15 ตอ่ จากนั้น ใหส้ ลับขา ทีเ่ หลือเปน็ ขาเกต แลว้ ทำการจดุ ชนวน โดยใช้ไฟจากขาอาโนด 2 ดังภาพที่ 6-11 (ข.) เข็มมเิ ตอรจ์ ะชท้ี ีค่ ่าความต้านทานประมาณ 20 จากการวดั จะสังเกตได้ว่า เมอ่ื ทำการจุดชนวนท่ขี าเกต จะได้คา่ ความตา้ นทานตำ่ กวา่ จุดชนวน ท่ขี าอาโนด 1 (A1) A2 A2 แอ (ก.) (ข.) ภาพท่ี 6-11 การจดุ ชนวนเพอื่ หาขาเกตของไตรแอค
274 ใบความรู้ท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ช่อื วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 12-13 ช่อื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ชื่อเรื่อง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง การวัดและทดสอบไดแอคดว้ ยโอหม์ มเิ ตอร์ การวดั หาขาของไดแอค พิจารณาไดจ้ ากโครงสรา้ งและสญั ลักษณข์ องไดแอค โดยต้งั ย่านโอหม์ มิเตอร์ทีย่ า่ นวดั RX10 A1 N P , N A2 ภาพที่ 6-12 การวดั และทดสอบไดแอค ผลการวัด กรณที ี่ 1 นำสายมิเตอร์ ศักย์ไฟบวกจบั ทีข่ าอาโนด 1 (A1 ) สายมิเตอรศ์ กั ยไ์ ฟลบจบั ทขี่ าอาโนด 2 (A2) เขม็ จะช้ีทต่ี ำแหน่ง กรณที ่ี 2 ทำการสลบั ขวั้ มิเตอร์ ผลทไ่ี ด้เขม็ จะชี้ที่ตำแหนง่ แสดงวา่ ไดแอค อยู่ในสภาพปกติ การวดั และทดสอบไดแอคดว้ ยโอห์มมเิ ตอรน์ น้ั สามารถตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องไดแอค วา่ อยู่ใน สภาพใด ชอ็ ตหรือไมอ่ ย่างเดยี ว ดังนน้ั การทดสอบทส่ี มบูรณ์นน้ั ควรทีจ่ ะปอ้ นแรงดันไบอัสให้กบั ไดแอคตามคา่ แรงดนั พังของไดแอค สว่ นขาใชง้ านนนั้ สามารถสลับขาใชง้ านได้เพราะมีคุณสมบตั ิเหมอื นกนั
275 ใบความรู้ท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครง้ั ที่ 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่ัวโมง ชอื่ เรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชั่วโมง 6.5 วงจรใช้งานของไตรแอคและไดแอค ไตรแอค มีคณุ สมบัตใิ นการควบคุมเฟส นอกจากจะนำไปใช้กบั แรงดันไฟตรงแลว้ ยังสามารถควบคุม เฟสของสัญญาณไฟสลบั ไดท้ ้งั ชว่ งบวกและชว่ งลบ และมกั จะใช้ควบคกู่ ับไดแอค ซงึ่ เปน็ อปุ กรณ์ในกลุ่มไทรสิ เตอร์ เช่นเดยี วกัน ทำหน้าที่ควบคุมแรงดนั และกระแสทใ่ี ช้ในการจดุ ชนวนขาเกตของไตรแอค มปี ระโยชน์ต่อการใช้งาน ทางดา้ นอตุ สาหกรรมอยา่ งกวา้ งขวาง การนำไตรแอคและไดแอคไปใชง้ าน สามารถยกตัวอย่างวงจรตา่ ง ๆ ดังน้ี 1) วงจรหรี่ไฟขดลวดความร้อนหรือวงจรฮีทเตอร์ดมิ เมอร์ (Heater Dimmer Circuit) วงจรจะใช้ไตรแอคและไดแอคทำงานรว่ มกนั ขดลวดความรอ้ น อาจจะสรา้ งขน้ึ ในรูปของเตาไฟฟา้ กาต้มน้ำไฟฟ้า และหัวแร้งไฟฟ้า ไตรแอค ทำหนา้ ท่ี เปน็ สวติ ช์ตัดต่อวงจร เพื่อใหก้ ระแสไฟฟา้ จำนวนมากผ่านตามการควบคมุ ของ แรงดันจดุ ชนวนขาเกต (G) ของไตรแอค วงจรควบคมุ มมุ เฟสของแรงดนั จุดชนวนขาเกต (G) ประกอบด้วย ตวั ต้านทานและตวั เก็บประจุ ไดแอค เป็นตัวปอ้ งกันกระแสกระชากเขา้ ขาเกต (G) ของไตรแอค ตวั ต้านทาน R1 และ R2 รวมทั้ง ตัวเก็บประจุ C1 ต่อรว่ มกนั เป็นวงจรหนว่ งเวลาหรอื ดเี ลยท์ ามม์ เพื่อจ่ายแรงดันให้ไดแอคถงึ ค่าเบรกโอเวอร์ ความรอ้ นทเี่ กดิ ขน้ึ จะเกิดจากปรมิ าณของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขด ลวดความร้อน ลกั ษณะของวงจร สามารถแสดงได้ดังภาพท่ี 6-13 Heater S1 R1 Q1 R2 D1 ~ VAC C1 ภาพท่ี 6-13 วงจรหรไี่ ฟขดลวดความร้อน
276 ใบความรู้ที่ 6 หน่วยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ชอ่ื เรื่อง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชัว่ โมง การทำงานของวงจร ตวั ตา้ นทาน R1 เป็นทางผา่ นของกระแสไฟฟา้ มาประจุที่ตวั เก็บประจุ C1 โดยมีตัวต้านทาน R2 เป็นตวั ตา้ นทานปรบั คา่ ได้ ทำหนา้ ที่ปรบั เปลี่ยนค่าแรงดันท่จี ะมาประจใุ ห้ตัวเกบ็ ประจุ C1 ถา้ ปรับตัวต้านทาน R2 ใหม้ คี า่ มาก ตัวเกบ็ ประจุ C1 จะประจุแรงดนั ได้นอ้ ยลงและใชเ้ วลานาน กว่าจะถงึ แรงดนั ค่าเบรกโอเวอรข์ องไดแอค สง่ ผลให้ไดแอคนำกระแสช้าหรอื ไม่นำกระแส ทำใหข้ ดลวดความรอ้ น (Heater) ไมร่ ้อน ถ้าปรบั ตวั ต้านทาน R2 ให้มคี ่าความตา้ นทานนอ้ ย จะทำใหแ้ รงดันผ่านไปประจุท่ีตัวเก็บประจุ C1 เร็วข้ึน การหนว่ งเวลานอ้ ยลง ทำให้แรงดนั ถึงจุดเบรกโอเวอรท์ ี่ไดแอคเรว็ ขึน้ มแี รงดันไปจดุ ชนวนขาเกต (G) ของไตรแอค สง่ ผลใหไ้ ตรแอคนำกระแส มกี ระแสไหลผา่ นขดลวดความรอ้ น ทำใหข้ ดลวดความรอ้ นเกิดความรอ้ น ขึ้น ถ้าปรับตัวต้านทาน R2 ให้มีคา่ น้อยลง แรงดันที่จะมาประจุที่ตัวเก็บประจุ C1 จะเร็วเพิ่มขน้ึ ทำให้แรงดนั ถงึ จดุ เบรกโอเวอรเ์ รว็ มากข้ึน มแี รงดนั ไปจดุ ชนวนท่ขี าเกต (G) ของไตรแอคเรว็ ข้ึน ส่งผลให้ไตรแอค นำกระแสเรว็ ข้นึ มีกระแสไหลผา่ นขดลวดทำใหเ้ กดิ ความร้อนเพ่ิมข้นึ ตวั เก็บประจุ C1 จะคายประจุในขณะไดแอคและไตรแอคนำกระแส โดยคายประจผุ า่ นไดแอค ไปที่ขาเกต (G) และ ขาอาโนด (A) ของไตรแอค ครบวงจรที่ตัวเก็บประจุ C1 และ จะประจุแรงดันอีกครั้ง เมื่อ แรงดันไฟสลับที่ป้อนเขา้ มาลดค่าลงถึง 0 โวลต์ หรือมีกระแสไหลผ่านไตรแอคต่ำกว่ากระแสโฮลด้ิง ซึ่งจะทำให้ ไตรแอคหยดุ นำกระแส 2) วงจรหร่ไี ฟแสงสว่าง (Light Dimmer Circuit) ส่วนประกอบของวงจร ประกอบด้วย อปุ กรณ์ ดงั น้ี ตัวเกบ็ ประจุ C1 ทำหนา้ ทปี่ ้องกันสญั ญาณรบกวน ขดลวดเหน่ียวนำ L1 ทำหน้าทต่ี ้านกระแสไฟฟ้าใหไ้ หลหรือมกี ารเปลย่ี นแปลงชา้ ลง เพอื่ ชว่ ย ป้องกนั การกระชากของกระแสในวงจร ควอแดรก (Quadrag) Q1 ทำหนา้ ทเ่ี ปน็ สวิตช์เปิด-ปดิ หลอดไฟ H1 ตัวต้านทาน R1 , ตัวต้านทานปรับค่าได้ VR2 และ ตัวเก็บประจุ C2 เป็นวงจรปรับเฟสและ หนว่ งเวลา นอกจากน้ี ตัวเกบ็ ประจุ C2 ทำหน้าท่ีกำจดั ความถ่ฮี าร์โมนกิ ส์ทง้ิ ลงกราด์ เพอ่ื ไมใ่ หส้ ัญญาณรบกวน ส่งออกไปภายนอก ลกั ษณะของวงจร สามารถแสดงไดด้ งั ภาพที่ 6-14
277 ใบความรู้ท่ี 6 หนว่ ยท่ี 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 12-13 ชือ่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่ัวโมง ชอื่ เร่ือง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ช่วั โมง H1 R1 S1 C1 VR2 G D1 A2 C2 Q1 ~ VAC A1 ภาพท่ี 6-14 วงจรหร่ไี ฟแสงสว่าง การทำงานของวงจร เมือ่ ปรับตวั ตา้ นทาน VR2 ใหม้ ีคา่ ความต้านทานมาก ตัวเกบ็ ประจุ C2 จะประจแุ รงดันได้ช้า แรงดันจุดชนวนทจี่ า่ ยใหข้ าเกต (G) ของควอแดรก จะชา้ ดว้ ย ดงั น้นั ควอแดรกจะนำกระแสช้าในช่วงแรงดันไฟ สลบั ท่จี า่ ยให้หลอดไฟ H1 น้อย ทำใหห้ ลอดไฟสว่างนอ้ ยมาก เมือ่ ปรบั ตวั ต้านทาน VR2 ให้มีค่าความตา้ นทานนอ้ ยลง ตวั เก็บประจุ C2 จะประจุแรงดนั ได้ เรว็ ขน้ึ แรงดันจดุ ชนวนท่จี า่ ยให้ขาเกต (G) ของควอแดรกจะเร็วขน้ึ ดงั นัน้ ควอแดรกจะนำกระแสเรว็ ขึน้ ทำให้ ช่วงแรงดันไฟสลับทจี่ า่ ยใหห้ ลอดไฟ H1 มากขนึ้ หลอดไฟ จงึ สว่างมากขนึ้ 3) วงจรควบคุมความเรว็ มอเตอร์ (Motor Speed Control circuit) วงจรควบคมุ ความเร็วมอเตอร์ เป็นวงจรท่ใี ช้ควบคุมเวลาและเฟสของวงจรจดุ ชนวน เพือ่ ให้ เอส.ซ.ี อาร์. ไตรแอคหรือควอแดรก ทำงานในการจ่ายกำลงั ไฟฟ้าให้กับมอเตอร์ มอเตอร์ จะตอ้ งเปน็ ยนู เิ วอรแ์ ซลมอเตอร์ (Universal Motor) ซึ่งเป็นมอเตอรท์ ีส่ ามารถใช้งานได้ ทั้งไฟกระแสตรงและกระแสสลบั มอเตอรน์ ี้ จะนำไปใช้กับจกั รเย็บผ้า สว่านไฟฟ้า เคร่ืองผสมอาหาร แตส่ ว่ นใหญ่ จะนำไปใช้กบั ไฟกระแสสลับ ลกั ษณะของวงจร สามารถแสดงวงจรได้ดังภาพที่ 6-15
278 ใบความร้ทู ี่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพน้ื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ท่ี 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่ัวโมง ชือ่ เรือ่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง S1 M D1 R3 R1 ~ A2 C2 VAC VR2 Q1 C1 A1 ภาพท่ี 6-15 วงจรควบคุมความเรว็ มอเตอร์ ส่วนประกอบของวงจร ประกอบดว้ ย อปุ กรณ์ ดังน้ี มอเตอร์แบบยนู ิเวอรแ์ ซลจะตอ่ อนกุ รมกบั ไตรแอค Q1 ตวั ตา้ นทาน R1 และ VR2 รวมท้งั ตัวเก็บประจุ C1 เปน็ ชดุ ควบคุมและหน่วงเวลา เพอ่ื จา่ ยแรงดัน เบรกโอเวอรใ์ ห้กับไดแอค D1 นำกระแส ป้อนแรงดันไปจุดชนวนท่ขี าเกต (G) ของไตรแอคใหน้ ำกระแสด้วย เพอ่ื ควบคุมความเรว็ มอเตอร์ ตัวต้านทาน R3 และ ตัวเก็บประจุ C2 จะต่ออนกุ รมและตอ่ ครอ่ มขนานกับไตรแอค ทำหนา้ ที่ ป้องกันไตรแอคจากแรงดันและกระแสยอ้ นกลับ ที่เกิดจากการเหน่ียวนำของสนามแม่เหล็กในตัวมอเตอร์ซึ่งมี เฟสของแรงดันและกระแสตา่ งกัน 1800 ซ่ึงอาจทำให้ไตรแอคหยดุ นำกระแสในคร่ึงไซเกลิ้ ใดไซเกลิ้ หน่งึ ได้ และทำ หนา้ ท่ีช่วยจำกัดการเพม่ิ ขึ้นของแรงดันสวิตช์ออฟไม่ให้เกนิ คา่ ทก่ี ำหนดไว้ การทำงานของวงจร เมื่อกดสวิตช์ S1 แหล่งจ่าย VAC จะจ่ายให้วงจร ตัวเก็บประจุ C1 จะเริ่มประจุแรงดัน โดยมี ตัวตา้ นทาน R1 และ VR2 เป็นตวั กำหนดค่าเวลาในการประจขุ องตัวเก็บประจุ C1 ถ้าปรับค่าตัวต้านทาน VR2 ให้มีค่าความต้านทานมาก ตัวเก็บประจุ C1 จะประจุแรงดนั ได้ชา้ และถึงคา่ แรงดนั เบรกโอเวอร์ของไดแอคชา้ ไดแอคและไตรแอคก็จะนำกระแสช้า แรงดันตกคร่อมมอเตอร์จะมคี า่ นอ้ ย กำลังไฟฟ้าทมี่ อเตอร์จะนอ้ ย มอเตอรห์ มนุ ช้า
279 ใบความรู้ท่ี 6 หน่วยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ที่ 12-13 ชอื่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่อื เร่ือง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชั่วโมง เมอ่ื ปรบั ค่าความต้านทาน VR2 ให้มีค่าตำ่ ลง กระแสไฟฟ้าไปประจทุ ี่ตัวเกบ็ ประจุ C1 เรว็ ขน้ึ จงึ ทำให้แรงดันไปประจทุ ่ีตวั เกบ็ ประจุ C1 มากขน้ึ ทำใหแ้ รงดนั ถงึ แรงดันเบรกโอเวอร์ของไดแอคเร็วข้ึน ไดแอคและ ไตรแอคนำกระแสเรว็ ขนึ้ แรงดันตกคร่อมมอเตอร์มากขึ้น กำลังทเ่ี กิดขึน้ กบั มอเตอรม์ ากขนึ้ มอเตอรห์ มนุ เรว็ ขึน้ ยิ่งปรับค่าความตา้ นทาน VR2 ให้มีค่าน้อยลง การประจุของตัวเกบ็ ประจุ C1 จะเร็วมากขนึ้ ทำให้ ไดแอคและไตรแอคนำกระแสเรว็ มากข้นึ เกิดแรงดันตกคร่อมและกำลงั มากข้ึน มอเตอร์ยง่ิ หมุนเร็วมากข้นึ ขณะทแ่ี หล่งจา่ ย VAC ตกลงเป็น 0 โวลต์ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าในตวั มอเตอร์ เกิดการยบุ ตวั ตดั กบั ขดลวดมอเตอร์ เกดิ แรงเหนย่ี วนำ และมีขัว้ ตรงข้ามกับแหล่งจ่าย VAC ทำให้มอเตอร์หยดุ นำกระแสและหยดุ หมนุ แรงเหนี่ยวนำของมอเตอร์จะต้านกบั แรงดนั แหลง่ จา่ ย VAC ซึง่ ในชว่ งนี้ ตัวเก็บประจุ C1 จะคายประจุ ออกมาตา้ น กบั แรงเหน่ียวนำของมอเตอร์ 4) การควบคุมแรงดนั ไฟสลบั ชนดิ 3 เฟส โดยใชไ้ ตรแอค วงจรท่ใี ช้กบั ไฟสลับชนดิ 3 เฟส จะตอ้ งมีแรงดันไฟสลบั จา่ ยให้กบั วงจร 3 ชดุ แตล่ ะชดุ จะมเี ฟส ต่างกนั 1200 แตล่ ะแหล่งจา่ ยจะป้อนใหก้ ับโหลดแตล่ ะชดุ โดยเฉพาะ ดังนนั้ การควบคุมแรงดันไฟสลับชนิด 3 เฟส จึงตอ้ งตอ่ ไตรแอคควบคมุ การทำงานของโหลดแตล่ ะชุด แหล่งจา่ ยแรงดันไฟสลบั แต่ละชุด จะมีเฟสต่างกนั 1200 เชน่ VA จา่ ยแรงดนั เริ่มตน้ ท่ี 00 VB จา่ ย แรงดันเริ่มต้นที่ 1200 และ VC จ่ายแรงดนั เรมิ่ ตน้ ที่ 2400 (1) วงจรควบคุมไฟสลบั ชนดิ 3 เฟส ตอ่ โหลดแบบสตาร์ชนดิ แยกไตรแอค VA Q1 iA ~ VB Q2 iB ZL1 ~ ZL2 ZL3 iC VC Q3 ~ ภาพท่ี 6-16 วงจรการต่อไตรแอคควบคมุ โหลดแตล่ ะชดุ ทต่ี ่อแบบสตาร์ ไตรแอค Q1 ควบคุมโหลด ZL1 ไตรแอค Q2 ควบคุมโหลด ZL2 ไตรแอค Q3 ควบคมุ โหลด ZL3
280 ใบความรู้ที่ 6 หนว่ ยที่ 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครง้ั ที่ 12-13 ชือ่ หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ช่ือเรื่อง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชวั่ โมง (2) วงจรควบคุมไฟสลับชนดิ 3 เฟส โหลดตอ่ แบบสตาร์โดยต่อไตรแอค ร่วมกัน VA Q1 ZL1 iA ZL2 Q3 ~ Q2 ZL3 VB iB ~ VC iC ~ ภาพที่ 6-17 วงจรควบคุมไฟสลบั ชนดิ 3 เฟส โหลดตอ่ แบบสตารโ์ ดยต่อไตรแอคิรว่ มกัน การทำงานของโหลดแตล่ ะชดุ จะข้นึ อยกู่ ับการทำงานของไตรแอคแตล่ ะตวั ถ้าไตรแอค Q1 ทำงาน โหลด ZL1 และ โหลด ZL2 ทำงาน ถา้ ไตรแอค Q2 ทำงาน โหลด ZL2 และ โหลด ZL3 ทำงาน และ ถ้าไตรแอค Q3 ทำงาน โหลด ZL1 และโหลด ZL3 ทำงาน
281 ใบความรู้ท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครงั้ ที่ 12-13 ชอ่ื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่วั โมง ช่อื เรื่อง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ช่ัวโมง (3) วงจรควบคมุ ไฟสลับชนดิ 3 เฟส ต่อโหลดแบบเดลตา้ ชนดิ แยกไตรแอค VA Q1 ZL1 ZL3 ~ ZL2 VB Q2 ~ VC Q3 ~ ภาพท่ี 6-18 วงจรควบคุมไฟสลับชนดิ 3 เฟส ตอ่ โหลดแบบเดลตา้ ชนดิ แยกไตรแอค โหลด ZL1 จะทำงาน เมื่อไตรแอค Q1 และ Q2 ทำงาน โหลด ZL2 จะทำงาน เมอื่ ไตรแอค Q2 และ Q3 ทำงาน โหลด ZL3 จะทำงาน เมอื่ ไตรแอค Q1 และ Q3 ทำงาน (4) วงจรควบคุมไฟสลบั ชนดิ 3 เฟส ตอ่ ไตรแอคอนกุ รมกับโหลดโดยตอ่ แบบเดลตา้ VA ~ ZL1 VB Q1 Q3 ~ ZL2 Q2 VC ZL3 ~ ภาพท่ี 6-19 วงจรควบคมุ ไฟสลบั ชนิด 3 เฟส ตอ่ ไตรแอคอนกุ รมกับโหลดโดยตอ่ แบบเดลตา้
282 ใบความรทู้ ่ี 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 12-13 ชอื่ หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชวั่ โมง ช่ือเรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 4 ชว่ั โมง บทสรุป ไทริสเตอร์ (Thyristors) เปน็ ช่อื ทเ่ี รียกอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สก์ ลมุ่ ทมี่ ชี ั้นของสารกง่ึ ตัวนำ 4 ชั้นขึ้น ไป (Four Semiconductor Layers : PNPN) นิยมนำไปใช้งานควบคุมกำลังไฟฟ้า เช่น ควบคุมแสงสว่างของ หลอดไฟฟ้า ควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ ระบบจุดระเบิดอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์เหล่านี้ถูกนำไปใช้ ประโยชน์สำหรับการทำสวิตชิ่ง, การควบคุมเฟสของไฟกระแสสลับเพื่อใช้ปรับความเข้มของไฟสองสว่าง, การปรับความเรว็ ของมอเตอร์, การปรบั ลวดความรอ้ น และอื่น ๆ ไตรแอค ประกอบจากสารกึง่ ตัวนำชนดิ พีและชนิดเอ็น วางซ้อนสลับกัน 5 ชั้น เปรียบเสมือนกบั การนำเอสซอี าร์ 2 ตัว มาต่อหัวชนกัน เพื่อให้สามารถนำไปใช้ในการควบคมุ ไฟฟ้ากระแสสลับไตรแอค มีขาใช้ งาน 3 ขา คอื ขาแอโนด 1 (Anode1) : A1 หรือ MT1 (Main Terminal1) , ขาแอโนด 2 (Anode2) : A2 หรอื MT2 (Main Terminal2) และขา เกต (Gate) : G ทำหน้าท่เี ปน็ สวติ ช์ มีคณุ สมบัตเิ ปน็ สวิตช์ดกี ว่าสวิตช์ธรรมดา หลายประกาย ไตรแอคและไดแอค นำไปใช้งานในวงจรควบคู่กัน ซึ่งมีหลากหลายวงจร เช่น วงจรหรี่ไฟขดลวด ความร้อนหรอื วงจรฮที เตอร์ดมิ เมอร์ (Heater Dimmer Circuit), วงจรหรไ่ี ฟแสงสวา่ ง (Light Dimmer Circuit), วงจรควบคุมความเร็วมอเตอร์ (Motor Speed Control circuit) และวงจรควบคุมแรงดันไฟสลับชนิด 3 เฟส โดยใช้ไตรแอค
283 แบบฝกึ หัดท่ี 6 หนว่ ยท่ี 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชื่อวิชา งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ที่ 12-13 ช่ือหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่ือเรือ่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที ตอนที่ 1 จงทำเคร่ืองหมายกากบาท () ลงบนตัวเลอื กท่ีถกู ตอ้ ง 1. ขอ้ ใดเป็นอปุ กรณ์ไทรสิ เตอร์ ก. เฟต ข. ไดโอด ค. ไตรแอค ง. ซเี นอรไ์ ดโอด จ. ทรานซสิ เตอร์ 2. ไตรแอคจะนำกระแสหรอื ทำงานได้ จะตอ้ งจดุ ชนวนทีข่ าใด ก. A ข. G ค. K ง. A1 จ. A2 3. เม่อื ไตรแอคนำกระแส กระแสจะไหลจากขาใดไปยังขาใด ก. A ไปยัง K ข. A ไปยัง G ค. A ไปยงั A1 ง. K ไปยงั A2 จ. A1 ไปยงั A2 4. การไบอัสไตรแอค สามารถทำไดก้ ี่วิธี ก. 1 วิธี ข. 2 วิธี ค. 3 วธิ ี ง. 4 วิธี จ. 5 วิธี 5. ถา้ ไตรแอค อยู่ในสภาพปกติ การวดั และทดสอบดว้ ยวธิ ีการวัดคา่ ความต้านทาน เข็มมิเตอร์ ตอ้ งขน้ึ กค่ี ร้งั ก. ไมข่ ้ึนเลย ข. 1 ครัง้ ค. 2 ครงั้ ง. 3 ครั้ง จ. 4 ครง้ั
284 แบบฝึกหัดท่ี 6 หนว่ ยที่ 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังท่ี 12-13 ชือ่ หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่อื เร่ือง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที 6. ไดแอคนำไปตอ่ กับขาใดของไตรแอค ก. A ข. G ค. K ง. A1 จ. A2 7. การไบอัสไดแอค สามารถทำไดก้ ี่วิธี ก. 1 วิธี ข. 2 วธิ ี ค. 3 วธิ ี ง. 4 วิธี จ. 5 วธิ ี 8. ไดแอค สามารถนำกระแส ได้ก่ที าง ก. 1 ทาง ข. 2 ทาง ค. 3 ทาง ง. 4 ทาง จ. 5 ทาง 9. ข้อใดคอื ขาใช้งานของไดแอค ก. A , K ข. G , K ค. A1 , A2 ง. A , B , C จ. B , C , E 10. ถา้ ไดแอค อยู่ในสภาพปกติ การวดั และทดสอบดว้ ยวธิ กี ารวดั ค่าความตา้ นทาน เข็มมเิ ตอร์ ตอ้ งข้ึนกค่ี รั้ง ก. ไมข่ ึ้นเลย ข. 1 ครัง้ ค. 2 คร้งั ง. 3 ครัง้ จ. 4 คร้ัง
285 แบบฝึกหดั ท่ี 6 หน่วยท่ี 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ชอื่ เร่อื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที ตอนท่ี 2 จงเติมคำลงในช่องวา่ งให้สมบรู ณ์ 1. อปุ กรณไ์ ทรสิ เตอร์ ทำหน้าท่ี ...................................................................... 2. ขอ้ ดขี องไตรแอคดกี วา่ สวิตช์ธรรมดา คอื ………………………………………………………………………………………………. 3. การวัดคา่ ความตา้ นทานของไตรแอค ระหวา่ งขา …………… กับขา ………………. ใหค้ ่าความตา้ นทานต่ำสดุ 4. ไตรแอค มีขาใช้งาน .............. ขา คือ ………….………………………………………………………… 5. โครงสรา้ งของไตรแอค เหมอื นกบั .............................. จำนวน ..................... ตัว 6. ไดแอค มีขาใช้งาน ………………… ขา คอื …………………………………………………………………… 7. โครงสร้างของไดแอค เหมือนกับ โครงสรา้ งของ ………………………………………………………………………. 8. ไดแอค จะนำกระแสได้ จะต้องจ่ายไฟ …………… ที่ขา …………… และ จ่ายไฟ …………… ที่ขา …………….. 9. ไดแอค ทำหน้าที่ ………………………………………………………………………………………… เมอ่ื ใชร้ ่วมกับไตรแอค 10. ไดแอค นำไปใชใ้ นวงจร …………………………………………………………………….
286 เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี 6 หนว่ ยท่ี 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชั่วโมง ชอื่ เรือ่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที เฉลยคำตอบ ตอนที่ 1 ขอ้ ที่ ขอ้ ที่ถูกต้อง 1ค 2ข 3จ 4ง 5ค 6ข 7ข 8ข 9ค 10 ก ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เฉลยคำตอบ ตอนท่ี 2 1. อุปกรณไ์ ทริสเตอร์ ทำหน้าท่ี เป็นสวิตช์อิเลก็ ทรอนิกส์ 2. ข้อดขี องไตรแอคดีกว่าสวติ ช์ธรรมดา คือ ใช้พลงั งานนอ้ ย ไม่มีการสปารค์ ควบคุมเรื่องเฟสของสัญญาณได้ 3. การวดั ค่าความตา้ นทานของไตรแอค ระหวา่ งขา A1 กับขา G ให้คา่ ความตา้ นทานตำ่ สุด 4. ไตรแอค มีขาใชง้ าน 3 ขา คอื A1 , A2 และ G 5. โครงสรา้ งของไตรแอค เหมือนกบั เอสซอี าร์ จำนวน 2 ตัว 6. ไดแอค มขี าใช้งาน 2 ขา คอื A1 กบั A2 7. โครงสรา้ งของไดแอค เหมือนกบั โครงสรา้ งของ ทรานซสิ เตอร์ 8. ไดแอค จะนำกระแสได้ จะต้องจ่ายไฟ บวกหรือลบ ท่ีขา A1 และ จ่ายไฟ บวกหรือลบ ท่ขี า A2 9. ไดแอค ทำหนา้ ท่ี จุดชนวนและจำกัดกระแสและปอ้ งกนั การกระโชกของแรงดนั ไฟสลบั ท่อี าจทำให้ไตรแอค ชำรดุ เสียหาย เมื่อใช้ร่วมกับไตรแอค 10. ไดแอค นำไปใชใ้ นวงจร ปรบั ระดบั ความรอ้ นของเคร่อื งทำนำ้ อนุ่ วงจรหร่ไี ฟแสงสว่าง วงจรปรับความ มอเตอร์
287 ใบงานที่ 6 หน่วยท่ี 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ที่ 12-13 ชื่อหน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่ือเรือ่ ง : การวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ชว่ั โมง จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 1. ประกอบไตรแอคและไดแอคได้ถกู ต้อง 2. วดั และทดสอบไตรแอคและไดแอคไดถ้ ูกต้อง 3. ใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ตรวจสอบสภาพของไตรแอคและไดแอคไดถ้ ูกตอ้ ง เคร่อื งมอื และอุปกรณ์ จำนวน 1 ตวั จำนวน 1 ตัว 1. ไตรแอค เบอร์ C206D จำนวน 1 ตัว 2. ไตรแอค เบอร์ TIC246D 3. ไดแอค เบอร์ C206D จำนวน 1 ตวั จำนวน 1 ตวั 4. ไดแอค เบอร์ TIC246D จำนวน 1 ตัว 5. ตวั ต้านทาน 1 k 6. ตัวต้านทาน 10 k จำนวน 1 ตัว จำนวน 1 เครอ่ื ง 7. แอลอดี ี จำนวน 10 เสน้ 8. มลั ตมิ เิ ตอร์ 9. สายต่อวงจร จำนวน 1 เคร่ือง 10. เพาเวอร์ซพั พลาย 0-30 V ทฤษฎีทเ่ี ก่ยี วข้อง การตรวจสอบและการหาขาไตรแอคดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ 1) การวดั ไตรแอค ทั้งหมด 6 ครง้ั จำนวน 3 คู่ สามารถอา่ นคา่ ความตา้ นทานได้ 2 ครงั้ หรอื ท่ี เรยี กว่า “วดั 6 ครงั้ เขม็ ข้ึน 2 ครง้ั ” 2) ขาท่ีไมม่ สี ่วนเกีย่ วข้องกบั ค่าความตา้ นทาน ท้งั 2 ครัง้ คอื ขาอาโนด 2 หรอื ขา A2 3) ขาคู่ท่ี 2 จะมีคา่ ความตา้ นทานทีใ่ กลเ้ คยี งหรอื เทา่ กนั และไมส่ ามารถบอกได้วา่ ขาใดเปน็ ขา A1 หรอื ขา G ดงั นน้ั จึงตอ้ งทำการตรวจสอบ โดยวธิ ีการไบอสั 4) วิธกี ารไบอัส ทำไดโ้ ดยการสมมติให้ ขาใดขาหน่งึ เป็นขาเกต (G) แลว้ ทำการจดุ ชนวน โดยใช้ ไฟจากขาแอโนด 2 (A2) ดังรปู ท่ี 5-1 (ก.) เขม็ มิเตอร์จะชที้ คี่ า่ ความตา้ นทานประมาณ 15 ตอ่ จากน้นั ให้สลับ ขาทเี่ หลอื เปน็ ขาเกต แล้วทำการจดุ ชนวน โดยใชไ้ ฟจากขาแอโนด 2 ดังรปู ท่ี 5-1 (ข.) เข็มมเิ ตอร์จะชี้ท่ีค่าความ ต้านทานประมาณ 20 จากการวดั จะสังเกตได้วา่ เม่ือทำการจดุ ชนวนท่ขี าเกต จะได้ค่าความต้านทานต่ำกว่า จุดชนวนทขี่ าแอโนด 1 (A1)
288 ใบงานที่ 6 หนว่ ยท่ี 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วชิ า งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชั่วโมง ชือ่ เรอ่ื ง : การวดั และทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ชั่วโมง A2 A2 แ รปู ท่ี 6-1 การไบอสั ไตรแอค เพือ่ หาตำแหนง่ ขา การอ่านค่มู อื และแปลพารามเิ ตอร์ของไตรแอค รายละเอียดขีดจำกดั ของไตรแอค 1) ค่าแรงดนั ไบอสั ตรง (VF : Forward bias) และแรงดันไบอัสกลบั (VR : Reverse bias) โดยอปุ กรณ์ ไตรแอค จะตอ้ งทนค่าแรงดนั นี้ได้ 2) ค่ากระแสสงู สุด ไตรแอค ตอ้ งทนกระแสตอ่ ใช้งานได้ นอกจากนตี้ อ้ งทนกระแสกระชาก สูงสุดใหไ้ ดป้ ระมาณ 15 เท่าของกระแสต่อเน่ืองท่ีไหลในวงจร 3) ความเร็วในการทำงาน อปุ กรณท์ เี่ ลอื กใช้งานนั้น จะต้องกลบั สสู่ ภาวะ OFF หลงั จากเร่มิ ทำงานในเวลาไมเ่ กิน 1 ของการใช้งาน ซงึ่ f หมายถึง ความถใี่ นการใชไ้ ทรสิ เตอร์ทำหน้าทเี่ ป็นสวติ ช์ หรอื 2f ความถ่ีทใ่ี ช้งาน 4) กระแสรั่วไหล จะต้องมีคา่ ไม่มาก ไมว่ ่าจะเปน็ กระแสร่วั ไหลทางด้านไบอสั ตรงหรอื ไบอสั กลบั 5) แรงดันทตี่ กคร่อมไตรแอค จะต้องมคี ่าไมม่ าก เพราะถา้ หากมคี า่ มากเกินไป จะเป็นผลต่อ โหลดโดยตรง นำไป ใชง้ าน ปจั จุบันการสรา้ งไตรแอค จะโด๊ปไดแอคไวท้ ข่ี าเกตของไตรแอค เพ่อื ขจัดความยุ่งยากในการ ตัวอย่าง ไตรแอคทล่ี งท้ายดว้ ยอักษร LT เชน่ Q4010LT หมายถงึ ไตรแอคที่ทนแรงดนั ได้ 400 V ทนกระแสได้ 10 A มีไดแอค Q4005LT หมายถงึ ไตรแอคทท่ี นแรงดนั ได้ 400 V ทนกระแสได้ 5 A มีไดแอค Q6005LT หมายถงึ ไตรแอคทีท่ นแรงดนั ได้ 600 V ทนกระแสได้ 5 A มีไดแอค
289 ใบงานที่ 6 หน่วยท่ี 6 รหสั วิชา 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 12-13 ชื่อหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ชอื่ เรือ่ ง : การวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ช่วั โมง ลำดบั ขน้ั การทดลอง 1. นำไตรแอค เบอร์ใดเบอรห์ น่ึง จำนวน 1 ตวั เพอื่ ทำการวัดและทดสอบ โดยบันทกึ เบอรแ์ ละวาด รูปรา่ งของไตรแอค ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 6-1 2. ตั้งยา่ นมัลตมิ เิ ตอร์ ที่ Rx1k แลว้ ทำการปรบั Zero Adj เพอื่ ให้เข็มชท้ี ่ี 0 พอดี 3. วดั ความต้านทานระหว่างขาของไตรแอค เพื่อหาตำแหนง่ ขา โดยสมมติตำแหน่งขาของไตรแอค เปน็ 1 , 2 และ 3 ตามรปู ที่ 6-2 ซึง่ เรยี งจากทางซ้ายไปยงั ทางขวา บันทึกผลการวดั ลงในตารางบนั ทกึ ผลการ ทดลองท่ี 6-1 4. ทำการทดลองซำ้ ตามขอ้ 1 ถงึ ขอ้ 3 จนสามารถหาตำแหนง่ ขาไตรแอค ได้ครบทุกตัว 123 รปู ท่ี 6-2 การสมมตติ ำแหนง่ ขาของไตรแอค ตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 6-1 เบอรข์ องไตรแอค รปู ร่างของไตรแอค ขาของไตรแอค สภาพของ หมายเหตุ ขา 1 ขา 2 ขา 3 ไตรแอค
290 ใบงานที่ 6 หน่วยท่ี 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพนื้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครง้ั ที่ 12-13 ช่อื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่อื เร่อื ง : การวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ชวั่ โมง 5. ต่อวงจรตามรูปที่ 6-3 ปอ้ นแรงดนั เฉพาะ VA โดยจ่ายไฟบวกใหก้ บั A2 และไฟลบใหก้ บั A1 LED RA = 1k VA = 9V RG = 10k VG = 6V A2 TRIAC A1 รปู ที่ 6-3 การวงจรไบอัสไตรแอค 6. ทำการวัดกระแสที่ไหลผ่านขาแอโนด 2 (IA2) ขณะยังไม่ได้ทำการทรกิ ทีข่ าเกต บันทกึ ผลการวดั ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 6-2 7. ทำการปอ้ นแรงดนั VG โดยจา่ ยไฟบวกใหก้ บั ขาเกต และวดั กระแสทีไ่ หลผ่านขาแอโนด 2 (IA2) ขณะทำการทรกิ ที่ขาเกต บนั ทกึ ผลการวัดลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 6-2 8. ทำการปอ้ นแรงดนั VG โดยจ่ายไฟลบใหก้ บั ขาเกต และวัดกระแสที่ไหลผ่านขาอาโนด 2 (IA2) ขณะทำการทรกิ ที่ขาเกต บนั ทึกผลการวดั ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 6-2 9. ปอ้ นแรงดันเฉพาะ VA โดยจ่ายไฟลบใหก้ บั A2 และไฟบวกใหก้ บั A1 ทำการวดั กระแสท่ีไหลผ่าน ขาอาโนด 2 (IA2) ขณะยังไม่ไดท้ ำการทรกิ ทข่ี าเกต บันทกึ ผลการวดั ลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 6-2 10. ทำการป้อนแรงดนั VG โดยจ่ายไฟบวกให้กับขาเกต และวัดกระแสท่ีไหลผ่านขาอาโนด 2 (IA2) ขณะทำการทริกที่ขาเกต บนั ทึกผลการวัดลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 6-2 11. ทำการปอ้ นแรงดัน VG โดยจ่ายไฟลบใหก้ บั ขาเกต และวดั กระแสท่ีไหลผา่ นขาอาโนด 2 (IA2) ขณะทำการทริกท่ีขาเกต บันทกึ ผลการวัดลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 6-2
291 ใบงานที่ 6 หน่วยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวิชา งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 12-13 ชือ่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่ือเรื่อง : การวัดและทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ช่วั โมง ตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 6-2 คา่ กระแสไฟฟา้ (mA) สภาวะของไตรแอค ไมท่ รกิ ขา G , A2 (+) A1 (-) ทริก ขา G ด้วยไฟบวก ทริก ขา G ด้วยไฟลบ ไม่ทรกิ ขา G , A2 (-) A1 (+) ทรกิ ขา G ดว้ ยไฟบวก ทรกิ ขา G ด้วยไฟลบ คำถามหลงั การทดลอง 1. การวดั และทดสอบไตรแอค โดยใช้มลั ตมิ เิ ตอร์แบบอนาล็อก ซึง่ ผลการวดั ระหวา่ งขาใดทีม่ คี า่ ความตา้ นทานตำ่ สดุ ..………………………………………………………………………….…………………………………………………………….. 2. ถา้ จ่ายไบอัสใหก้ บั ไตรแอค ด้วยศักยไ์ ฟลบทข่ี าอาโนด 1 กบั ขาเกต และจ่ายศักย์ไฟบวกท่ีขาเกต จะเกิดผลอย่างไร .......……………………………………………………………….…………………………………………………………….. สรุปผลการทดลอง ............................................................................................................................. .................................................... ............................................................................................................................. .................................................... ................................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................................... .................................................................................................................................................................................
292 แบบประเมินผลการปฏิบตั งิ านใบงานที่ 6 หน่วยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 12-13 ชอ่ื หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชัว่ โมง ช่ือเรือ่ ง : การวดั และทดสอบไตรแอคและไดแอค จำนวน 5 ช่วั โมง ลำดับที่ หัวขอ้ ประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ 5 1. กระบวนการปฏิบัตงิ าน 1 1 1.1 การเตรียมวสั ดุอปุ กรณ์ 1 1 1.2 การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ 1 10 1.3 การใช้เครอ่ื งมอื 2 2 1.4 ความปลอดภยั ในการปฏบิ ัตงิ าน 2 2 1.5 การปฏิบัตงิ านตามข้นั ตอน 2 5 2. คณุ ภาพของผลงาน 1 1 2.1 ความถูกต้องของการต่อวงจร 1 1 2.2 การบันทกึ คา่ จากการทดลอง 1 20 2.3 การตอบคำถามทา้ ยการทดลอง 2.4 การสรุปผลการทดลอง 2.5 ความสะอาดเรยี บรอ้ ยของงาน 3. กิจนสิ ยั การปฏิบตั ิงาน 3.1 การตรงต่อเวลา 3.2 ความต้งั ใจในการปฏบิ ัติงาน 3.3 ความประณตี ในการปฏบิ ตั งิ าน 3.4 ความสามัคคีในการปฏิบัตงิ าน 3.5 ความเรยี บรอ้ ยหลงั การปฏิบตั งิ าน รวมคะแนน
293 แบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยท่ี 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ท่ี 12-13 ชือ่ หนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่อื เรือ่ ง : ไตรแอคและไดแอค เวลา 30 นาที คำสงั่ จงทำเครื่องหมายกากบาท () ลงบนตวั เลือกท่ีถูกตอ้ ง 1. ข้อใดคอื ขาใชง้ านของไดแอค ก. B , E ข. A , K ค. N , P ง. A1 , A2 จ. A , K , G 2. วงจรสมมลู ของไตรแอค ประกอบดว้ ยอปุ กรณใ์ ด ก่ีตัว ก. ไดโอด 2 ตัว ข. เอสซีอาร์ 2 ตวั ค. ตัวตา้ นทาน 4 ตวั ง. ซเี นอร์ไดโอด 3 ตวั จ. ทรานซสิ เตอร์ 3 ตวั 3. ขอ้ ใดคอื สญั ลักษณข์ องไตรแอค ก. ข. ค. ง. จ. 4. ไตรแอคจะนำกระแสหรอื ทำงานได้ จะต้องจดุ ชนวนทข่ี าใด ก. G ข. K ค. A1 ง. A2 จ. A 5. อปุ กรณใ์ ด สามารถนำกระแสได้ 2 ทิศทาง ก. ไดโอด ข. ไตรแอค ค. เอสซอี าร์ ง. ซเี นอร์ไดโอด จ. ทรานซิสเตอร์
294 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยท่ี 6 รหัสวิชา 30105-0003 ชื่อวิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 12-13 ชื่อหนว่ ย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชว่ั โมง ช่อื เรอื่ ง : ไตรแอคและไดแอค เวลา 30 นาที 6. ข้อใดคือสญั ลักษณข์ องไดแอค ก. ข. ค. ง. จ. 7. การวัดคา่ ความต้านทานของไตรแอค ระหว่างขาใด มีค่าความตา้ นทานต่ำ ก. A กบั K ข. G กับ K ค. G กบั A1 ง. G กบั A2 จ. A1 กบั A2 8. ถ้าผลการวดั และทดสอบไตรแอค ด้วยมัลติมเิ ตอร์ พบวา่ เข็มขนึ้ 4 คร้งั แสดงวา่ ไตรแอคอยู่ในสภาพใด ก. รว่ั ข. ขาด ค. ปกติ ง. ชอ็ ต จ. ยืด 9. ถ้าผลการวัดและทดสอบไดแอคด้วยมลั ตมิ เิ ตอร์ พบวา่ เขม็ ไมข่ ้นึ เลย แสดงวา่ ไดแอคมสี ภาพใด ก. ร่วั ข. ขาด ค. ปกติ ง. ชอ็ ต จ. ยดื 10. ข้อใดคอื วงจรใชง้ านของไตรแอค ก. วงจรเรก็ กเู ลเตอร์ ข. วงจรกำเนิดความถี่ ค. วงจรขยายสญั ญาณ ง. วงจรชาร์จแบตเตอร่ี จ. วงจรควบคมุ ไฟกระแสสลับ
295 เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน หน่วยที่ 6 รหสั วชิ า 30105-0003 ชอ่ื วชิ า งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 12-13 ชอื่ หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ชั่วโมง ชอ่ื เรอื่ ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที เฉลยคำตอบ ข้อท่ี ขอ้ ทถ่ี ูกต้อง 1ง 2ข 3จ 4ก 5ข 6จ 7จ 8ง 9ค 10 จ ขอ้ ละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน
296 แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมและคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์ หนว่ ยที่ 6 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 12-13 ช่อื หน่วย ไตรแอคและไดแอค จำนวน 10 ช่ัวโมง ช่อื เรอ่ื ง : ไตรแอคและไดแอค จำนวน 30 นาที แบบสงั เกตพฤตกิ รรมผเู้ รยี น (ดา้ นคณุ ธรรม-จรยิ ธรรม และคณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์) รายการทปี่ ระเมนิ ชอ่ื -สกุล การแต่งกายตามระเบียบ การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความข ัยน/ความ ั้ตงใจ ีมม ุนษ ์ยสัม ัพน ์ธ ความซื่อสัต ์ย ความประณีต ความสามัค ีค คะแนนรวม ที่ หมายเหตุ คะแนน 2 1 1 2 1 1 1 1 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
297 เอกสารอ้างอิง “กราฟคุณสมบตั ขิ องไตรแอค”. ม.ป.ป.. [ระบบออนไลน์]. แหลง่ ทมี่ า http://www.oocities.org/supagorn_j/ new_page_6.htm. สืบคน้ เมือ่ 14 กนั ยายน 2558. พันธศ์ กั ดิ์ พฒุ มิ านิตพงศ์. ม.ป.ป.. อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร. กรงุ เทพฯ : สำนกั พิมพ์ศนู ยส์ ่งเสรมิ วิชาการ. ไวพจน์ ศรีธญั . 2546. อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์. กรงุ เทพฯ : สำนักพมิ พว์ งั อกั ษร. สถาบนั อเิ ล็กทรอนกิ สก์ รงุ เทพ. 2543. ดง่ิ ลกึ สู่เนอ้ื ในการใช้งานเอสซีอาร.์ อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ฮนด์บุ๊ค 8, 48 : 67-74. อดลุ ย์ กลั ยาแกว้ . 2556. อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์ศนู ย์ส่งเสรมิ อาชวี ะ.
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: