Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit01

Unit01

Published by stp_1975, 2021-07-01 04:52:58

Description: Unit01

Search

Read the Text Version

บทที่ 1 แนวคดิ เกีย่ วกบั ขอมลู และฐานขอ มูล ขาวสารขอมลู กลายเปน ปจ จัยสาํ คญั ของการตดั สนิ ใจของผบู ริหารของทกุ บริษัท ดวยเหตดุ ัง กลาวทําใหบุคลากรในระดับบริหารมีความจําเปนตองมีความรูความเขาใจเปนอยางดียิ่งตอระบบสาร สนเทศ (Information System) ซง่ึ เปนปจ จยั สาํ คญั (Critical Factor) ตอการตดั สินใจ ผบู รหิ ารระดับผู จดั การ (Manager) ในปจจุบันจงึ มภี าระรวมรบั ผิดชอบกบั องคก รในฐานะท่ีเปน หวั ใจสาํ คญั ที่จะขบั เคลอื่ นพฒั นาการและการเปลีย่ นแปลงเชงิ สรา งสรรคแกองคก รธุรกิจ ไมวา จะเปนดา นการพฒั นางาน โครงการใหม การบรหิ ารระบบขอมูลสารสนเทศ การบรหิ ารเครอื ขา ยสอื่ สารขอ มลู การบรหิ ารงานบาํ รงุ รกั ษาระบบงาน ตลอดจนการบรหิ ารงานปฏบิ ตั กิ ารประจาํ วนั ซง่ึ ลว นแลว แตตอ งการผูบริหารทีม่ คี วาม รอบรทู างดานเทคนคิ ผสมผสานกบั ทกั ษะการบรหิ าร และการจัดการขอมลู ท่เี กีย่ วขอ งอยา งทนั ทวงที จึงจําเปนตองมีความรูความเขาใจในเร่ืองระบบสารสนเทศท่ีจําเปนและสอดคลองกับองคกรธุรกิจใน ปจ จุบนั 1.1 Information คืออะไร? ตา งจาก Data อยางไร? สงิ่ แรกทเี่ ราตอ งรวู าสารสนเทศ คอื อะไรและประกอบดวยอะไร ความหมายตามตัวศพั ทของสาร สนเทศ กค็ อื Information หรือเรียกวา “ขอ มลู สารสนเทศ” และมอี กี คาํ ท่มี กั จะสับสน คอื คําวา Data หรือขอมลู ทเ่ี ราใชกนั อยา งตดิ ปาก คําวา ขอ มลู มักจะหมายถึง สิง่ ที่มนุษยเ ก็บรวบรวมเพ่อื นาํ ไป ประมวลผล (Computing Process) ตอเพอ่ื ทจ่ี ะไดส ่อื ใหมเ พอ่ื นําไปใชป ระโยชน (ในแงข องผูบรหิ ารก็ เพื่อจะนําไปประกอบการตัดสนิ ใจไดอ ยา งถกู ตอ ง) พดู งา ย ๆ วา ขอ มลู (Data) เปรยี บเหมอื นกบั นาํ้ มนั ดบิ ทย่ี งั ไมผ า นการกลนั่ นน้ั เอง ผลจากการกลนั่ กรอง หรอื การประมวลผล ดังกลา ว กค็ ือ ขอ มลู สารสนเทศ น่ันเอง Data Process Information Information System คอื ระบบทป่ี ระมวลผลขอ มลู ดิบ (Data) เพอ่ื ใหไดมาซ่งึ ขอ มลู ทก่ี อใหเ กดิ ประโยชนหรือขอมูลสารสนเทศ (Information) ซึ่งการประมวลผลอาจจะใชคน แตปจจุบันนิยมใช คอมพิวเตอร จึงเรยี กวา Computer Information System (CIS) ตวั อยางเชน พนักงานขายของบริษัทเทปแหง หนง่ึ ไดท าํ รายงานยอดขายเทปใหแกผบู ริหาร เพอื่ ใหผ ูบรหิ าร ใชใ นการตัดสนิ ใจในการวางแผนการขาย โดยเปน ขอ มูลดบิ ดังตารางตอไปน้ี

เอกสารประกอบการบรรยายวิชา 204204 การออกแบบและพฒั นาฐานขอ มูล 1-2 รหัสลูกคา ชือ่ ลูกคา รหสั อลั บัม ชอ่ื อัลบมั จํานวน วนั ท่ีซอ้ื 1100 สมศกั ด์ิ 622 เพลงรอ็ ค 2 01/02/96 2200 วไิ ล 633 เพลงร็อค Vol 2 3 10/02/96 4600 อรญั ญา 855 เพลงไทยสากล 1 07/03/96 3500 วริ ัตน 553 เพลงบรรเลง 2 10/03/96 6700 วลิ ล่ี 855 เพลงไทยสากล 2 10/03/96 4300 ธงชัย 996 เพลงฮารดรอ็ ค 1 11/03/96 8700 ใหม 750 เพลงคนั ทรี่ 4 01/04/96 4500 มนตสทิ ธิ์ 553 เพลงบรรเลง 2 12/04/96 6800 เจ 996 เพลงฮารดร็อค 3 14/05/96 จากขอ มลู ดบิ ขา งตน จะเหน็ ไดวา ไมม ปี ระโยชนตอการขาย ไมสามารถนาํ ขอมูลมาชว ยในการ ตัดสนิ ใจในการวางแผนการขายได จึงตองมีการนาํ ขอ มลู ไปประมวลผลกอน จากตารางดานลาง จะเหน็ ไดวาเปนขอมูลสารสนเทศมากข้ึน โดยจะบอกรายละเอียดเกย่ี วกับอลั บัมเพลงร็อคทั้งหมด และเรียง ลําดับการส่งั ซื้อจากนอ ยไปมาก รหสั ลกู คา ชอื่ ลูกคา รหสั อัลบัม ชื่ออลั บมั จํานวน วันท่ีซอ้ื 4300 ธงชัย 996 เพลงฮารด รอ็ ค 1 11/03/96 1100 สมศักดิ์ 622 เพลงร็อค 2 01/02/96 2200 วไิ ล 855 เพลงร็อค Vol 2 3 10/02/96 6800 เจ 996 เพลงฮารดร็อค 3 14/05/96 จะเหน็ วา พนกั งานขายทานนี้ สามารถกล่ันกรองขอมลู ดิบ ใหเปนสารสนเทศ เพื่อใชใ นการตดั สนิ ใจของผบู รหิ าร และชว ยใหผบู ริหารของเขาสามารถประหยดั เวลาในการตัดสวนท่ไี มใ ชออกดวยตัว เขาเอง นอกจากนี้ อาจจะสามารถนาํ เสนอดว ยวิธอี ่นื ๆ อาจทาํ การประมวลผลขอมูลลักษณะอนื่ ๆ เพอ่ื ชว ยสงเสริมการตดั สนิ ใจ เชน แสดงในรปู แบบกราฟ ดงั ตัวอยา งตอไปนี้ กราฟแสดงจํานวนการซื้ออัลบัมเพลงร็อค จําแนกตามอายุ จํานวน 80 60 40 20 0 10 20 30 40 50 60 อายุ

บทที่ 1 แนวคดิ เกีย่ วกับขอมูลและฐานขอมลู 1-3 กราฟแสดงการซอ้ื อลั บมั เพลงรอ็ ค จาํ แนกตามภมู ภิ าค 80 เหนือ อสี าน ตะวันออก ใต 60 ภมู ิภาคของประเทศ 40 20 0 กลาง ระบบสารสนเทศ จึงเปนเปน ระบบจดั การขอ มูลสารสนเทศตา งๆ เพอื่ ใหเ กิดประโยชน ตอ ระบบ อนื่ ๆทตี่ อ งใชขอ มูลเหลา นัน้ โดยเฉพาะระบบธรุ กิจ ท่ีตอ งใชต ัวเลข ขาวสาร ขอมลู ในการประกอบธุรกจิ เชน ระบบแจงหนีล้ กู คา ระบบบัญชีตาง ๆ ดงั นัน้ หนา ท่ีหลักของระบบสารสนเทศกน็ า จะเปนการแปลง ขอมูลจาํ นวนมากใหเปนสารสนเทศที่มีประโยชน ระบบสารสนเทศอาจจะใชค อมพิวเตอร หรอื ไมใชก ไ็ ด แลว แตล ะองคกร แตเ นื่องจากเหตผุ ล ของความ รวดเร็วและแมน ยาํ ระบบสารสนเทศสวนใหญจะอยูบ นเครอ่ื งคอมพวิ เตอร สาํ หรับสอื่ ท่ีใชใ นการจดั เก็บขอ มูลและเครือ่ งมอื การประมวลผล อาจจะใชกระดาษเปน ส่อื โดย ประมวลผลดวยคน หรอื เกบ็ ในลกั ษณะทเ่ี ปน electronic ทป่ี ระมวลผลดวยคอมพิวเตอร เปน ตน 1.2 ววิ ฒั นาการของระบบสารสนเทศ มนษุ ยเ รม่ิ คิดคน วิธีการเก็บรวบรวมขอมูลดิบตางๆเขา ดว ยกันโดยขบวนการตา งๆ เชน การ บนั ทกึ ไวท ี่ผนังถํ้า ใบลาน กระดาษ Electronic file หรอื ระบบฐานขอ มูล เปนตน โดยในระยะเร่มิ แรกมี การเกบ็ รวบรวมในแฟมขอมลู ระบบสารสนเทศรุนแรกๆ มกั จะเปน การเก็บในรปู แฟมเอกสาร ท่ีแยก เปนหมวดหมูโ ดยมพี นกั งานรับผดิ ชอบกับขอมูลนัน้ ๆ ตอ มาไดม กี ารคิดคน เคร่ืองคอมพวิ เตอรข น้ึ เพอ่ื ชว ยในการประมวลผลท่ีรวดเรว็ แมนยํา ทาํ ใหระบบ สารสนเทศสมัยใหมเ ร่มิ เกิดขน้ึ นบั แตน้ันเปนตนมา เน่ืองดวยความสามารถที่สูงมากในการประมวลผลของคอมพิวเตอรทําใหการเก็บรวบรวมและการ ประมวลผลโดยใชค อมพิวเตอร สามารถสรา ง ระบบสารสนเทศสมัยใหมทม่ี ีประสทิ ธิภาพ ในชวี ติ ประจาํ วนั มนษุ ย มกี ารติดตอส่อื สารกันในรูปแบบของ ส่อื มลั ติมิเดีย (Multimedia) ตลอดเวลา “ขอ มูลสารสนเทศ” จึงมคี วามแตกตา งไป จากทเี่ ราคนุ เคย กลาวคือ ขอ มลู ไมใชเปนแต เฉพาะตวั หนงั สอื (Text) แตย งั รวมไปถงึ ขอมลู ในรูปแบบของ มลั ติมเิ ดีย (Multimedia) ทกุ รูปแบบอกี

เอกสารประกอบการบรรยายวชิ า 204204 การออกแบบและพัฒนาฐานขอมลู 1-4 ดว ย และขอมูลสารสนเทศกไ็ มใชเ ฉพาะในคอมพิวเตอรเ ทา น้ัน ปจจบุ ันขอมูลสารสนเทศอยูทกุ หนทกุ แหง ตัวอยางทเ่ี หน็ ชดั ของชวี ติ ประจําวันคอื เร่ิมกนั ตง้ั แตเ ราตอกบตั รลงเวลาในเคร่ืองลงเวลาตอนเชา เดินเลยไปที่โตะ ทาํ งานเปด เคร่อื งคอมพวิ เตอรต รวจจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส (E-mail) ภายในองคก ร (Intranet Mail) หรอื Voice Mail ในระบบโทรศัพทร นุ ใหม ตลอดจนการซอื้ สินคา ท่มี กี ารใชแถบบารโคด (BarCode) ที่เราคุนเคยกนั เมอ่ื ตองจายสตางค พนกั งานขายเพยี งนาํ สนิ คาลากผา นเครอื่ งอาน หรอื ระบบ EDI (Electronic Data Interchange) ซงึ่ เปนมาตรฐานสากลสําหรบั การแลกเปลย่ี นขอ มูล การซอ้ื ของทัว่ โลกผานระบบเครือขายอินเตอรเ น็ต จะเหน็ ไดว า ปจ จุบนั มนุษยไ ดนําเอาเทคโนโลยสี มัยใหมมา ปรบั ปรงุ ขอ มูลสารสนเทศใหสามารถเกิดประโยชนอยา งเอกอนนั ต เพอ่ื ทจี ะบรรจุขอ มูลสารสนเทศเหลา นล้ี งในระบบสารสนเทศรนุ ใหม ดงั นน้ั อาจจะสรปุ ระบบสารสนเทศรนุ ใหมจ ะไมอ ยูในวงแคบเหมอื นสมยั กอ นทมี่ กั จะมแี ตตวั อกั ษรบนกระดาษอีกตอไป ทําใหว ทิ ยการดานน้ีมีการพฒั นาการที่รวดเรว็ ตามกระแสความตองการ หวั ใจหลกั ของระบบสารสนเทศรนุ ใหมดงั กลา วคือ ระบบฐานขอมลู ท่ีเกบ็ ขอ มูลทัง้ หมดไว และมรี ะบบจัด การขอ มูลเหลา น้ันอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ดังน้ันศาสตรการเรียนรูเก่ียวกับ การจัดการฐานขอ มลู จงึ เปน สิ่ง จําเปน อยางยิง่ ในยคุ โลกาภวิ ตั รนี้ ลกั ษณะของสารสนเทศที่ดี จําแนกไดเ ปน 5 ลกั ษณะ ไดแ ก 1) ความเปนปจ จบุ นั (Current) ขอ มลู ปรับเปล่ียนไปเรื่อย ๆ มคี วามทนั สมยั เชน เกรดนกั ศกึ ษา เปนตน 2) ทนั เวลา (Timely) มคี ณุ คา ทางเวลามาเกี่ยวขอ ง ถาไมไ ดส ารสนเทศในเวลาท่ตี อ งการ อาจจะเกดิ การสูญเสยี โอกาสได 3) ความเที่ยงตรง (Relevant) ขอทไ่ี ดตองมีความสมบูรณ ถกู ตอ ง 4) ความคงท่ี (Consistent) ขอ มลู ทเ่ี ก็บไวห ลาย ๆ ที่ อาจไมต รงกัน ขัดแยง กัน สารสนเทศทดี่ ตี อ งไมมีความขดั แยง กนั หรือขดั แยง กันนอ ยทส่ี ดุ 5) นําเสนอรปู แบบท่ีมีประโยชน (Present in usable form) มีรูปแบบในการนําเสนอทีเ่ ขาใจงาย เหมาะสม 1.3 ระบบแฟม ขอ มลู (Electronic file or File system) ในอดตี ไดม กี ารใชร ะบบแฟม ขอ มูลอยา งกวา งขวาง โดยที่แฟม ขอมูลแตละแฟม จะประกอบดว ย กลมุ ของระเบียน (Records) ท่ีมรี ูปแบบ (Format) เหมือนกนั และแตละระเบียนจะเกบ็ ขอมลู ท่แี ทนของ อยา งหน่งึ (An instance or occurrence) ในกลุมของของทจ่ี ดั เก็บนัน้ ตวั อยา งเชน แฟม ขอ มูลลกู คา (Customer file) หนึ่งระเบียนของแฟม จะเปนขอ มลู ของลูกคา 1 คน (One instance) เปน ตน การจัด

บทท่ี 1 แนวคดิ เกยี่ วกบั ขอ มลู และฐานขอ มลู 1-5 การโดยระบบแฟมขอมูลสวนใหญจะถูกใชงานเฉพาะเพียงอยางใดอยางหน่ึงเทานัน้ ถา เรามงี านอยาง อน่ื ทต่ี องการใชขอ มลู คลายกัน แตใ นรูปแบบท่ตี างกนั ขอมูลบางสว นทซี่ ํ้ากนั นี้จะถกู จัดเกบ็ ในอกี แฟม ขอมูลอ่ืนตา งหาก ในการจดั การขอ มลู ลกั ษณะเชนน้ีทําใหเ กดิ ปญหาความซาํ้ ซอ น (Redundancy) ของ ขอ มูล อันกอ ใหเกิดความยงุ ยากในการจัดการใหม ีขอมูลทีถ่ ูกแทนสง่ิ เดียวกนั ถกู ตองตรงกนั ในทุก ๆ แฟม ขอมลู ปญหาของระบบแฟมขอมลู มดี ังตอ ไปนี้ 1) Data redundancy ไดแกข อมูลซํ้าซอ นกนั ขอ มูลชดุ เดียวกันถกู จดั เก็บใน 2 แฟมหรือมากกวา ซ่งึ การจะดวู า ขอมูลซ้าํ ซอนกันหรือไม ใหพ จิ ารณาจากตวั อยางตอ ไปน้ี fact หมายถงึ ความสัมพันธระหวา งขอ มลู ท่เี ปน ไปไดห รอื เปนจริง เชน ลําใย สําเรจ็ การศึกษาสาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ ลําใย เปนโปรแกรมเมอร ลําไย มงี านอดิเรกในการรอ งเพลง ขอความทง้ั หมดท่ยี กมาน้ีไมถอื วาซ้ําซอ นกัน เพราะเปน คนละ fact กัน Redundancy หมายถงึ fact ที่ปรากฏมากกวา 1 ครง้ั หรือถกู เกบ็ ไวม ากกวา 1 คร้งั ยกตวั อยา งเชน เกบ็ ช่ือ ตาํ แหนง และแผนกไวในตารางพนกั งานและตารางโครงการถือวา ซํ้าซอนกนั ฐานขอมลู แบบตารางจะมคี วามซํ้าซอนของขอมูลเกดิ ขนึ้ ได 3 แบบ ดงั น้ี 1.1 ความซํ้าซอ นระหวา งตาราง (Inter relation redundancy) 1.2 ความซํ้าซอ นภายในตารางเดยี วกนั (Intra relation redundancy) 1.3 ความซ้ําซอนบน row เดยี วกนั (Intra row redundancy) ขอ เสยี ของความซา้ํ ซอ น คอื - เปลืองเนื้อทใี่ นการจัดเก็บ - เพ่ิมคา ใชจ ายในการนําเขาขอ มลู - จะตองตามแกไ ขขอมูลทกุ ที่ เม่อื ขอมลู มีการเปลย่ี นแปลง - การเช่ือมตารางจะใชทรพั ยากรมาก และชา ขอดี - การทํา query report จะเรว็ ขึ้น 2) Data inconsistency เปนผลมากจาก Data redundancy คอื ขอ มูลชุดเดียวกนั มีคาตา ง กัน ทําใหไ มท ราบวา ขอ มูลชดุ ใดคอื ขอมูลทีถ่ ูกตอ ง 3) Data anomaly เปน ผลมาจาก Data redundancy เชนกัน ทาํ ใหการเพมิ่ ลบ หรอื เปลีย่ น แปลงขอมูลชดุ เดียวกนั ในแฟมขอมูลตาง ๆ ไมครบถวน ซ่ึงเกิดใน 3 ลักษณะ ดงั น้ี

เอกสารประกอบการบรรยายวิชา 204204 การออกแบบและพฒั นาฐานขอมูล 1-6 3.1) Modification anomaly เปน การเปลยี่ นแปลงคาของขอ มูลในแฟม ขอมูลตา ง ๆ ที่ สมั พนั ธก นั ไมค รบถวน เชน เปล่ยี นชอื่ “ดวงใจ” ไปเปน “ดวงพร” ในแฟม ขอ มูล Employee โดยไมเปล่ยี นชือ่ ของพนักงานคนเดยี วกันในแฟม Salesman จะสงผลให “ดวงพร” และ “ดวงใจ” ไมใ ชคนเดยี วกนั เมือ่ ทาํ การเรยี กขอมลู มาดู เปนตน 3.2) Insertion anomaly เปนการกําหนดขอมูลเพิ่มเตมิ ใหกับแฟมขอ มูลตา ง ๆ ที่สัมพันธ กนั ไมค รบถว น เชน มกี ารเพม่ิ ขอมูลพนกั งานขายคนใหมช อ่ื “สมบูรณ” เฉพาะแฟม ขอมูล Salesman โดยไมไ ดเ พ่ิมขอมูลลงในแฟมขอมูล Employee เปน ตน 3.3) Deletion anomaly เปน การลบขอมลู จากแฟมขอมูลตา ง ๆ ทสี่ มั พันธกันไมค รบถว น เชน กรณีที่พนักงานชือ่ “กนกวรรณ” ลาออกแลว มีการลบขอมลู ของพนักงานคนนั้น เฉพาะแฟมขอมูลพนกั งาน โดยไมไดล บขอมูลของพนกั งานคนเดยี วกันในแฟม ขอ มลู พนกั งานขาย เปนตน 1.4 ระบบฐานขอมูล (Database system) โดยท่ัวไปแลวความหมายของฐานขอมูลจะหมายถึง การเก็บรวบรวมไฟลที่เก่ียวของสัมพันธ กนั มาอยูร วมกันไวเขาดวยกัน (Integrated) อยา งมรี ะบบ ไฟลในทนี่ ้จี ะหมายถงึ logical file ความน้ีจะ เปนความหมายทั่ว ๆ ไป ซงึ่ ยังไมสมบรู ณแ บบ ท้ังน้ี เนอื่ งจาก logical file จะประกอบดว ยกลุมของ records แตค วามจรงิ แลวอาจจะไมใชก ไ็ ด เชน ฐานขอ มลู ใหม ๆ ท่ีเปน object oriented model จะ ประกอบดวยกลุม ของ objects ดงั น้นั ความหมายของฐานขอ มลู ท่คี รอบคลมุ ถงึ object oriented ดวยก็ คือความหมายตอไปนี้ ฐานขอมูล หมายถึง ท่ีเกบ็ ขอมลู และความสัมพันธร ะหวา งขอ มูลเหลา นั้น (A collection of data and relationships) โดยปกตแิ ลว ในเรอื่ งของฐานขอมลู มักจะเกี่ยวขอ งกบั logical file มากกวา physical file โดยเฉพาะการออกแบบฐานขอมูลจะเปน การออกแบบในสวนของ logical file ถา กลาวถงึ logical file จะเปนมุมมองของผใู ชหรอื application program แตถ ากลา วถึง physical file จะเปนมมุ มองของ system หรอื operating system การเกีย่ วขอ งกันระหวา ง physical file กับ logical file นัน้ ก็ คอื สามารถใช physical file มาสราง logical file ได สาํ หรบั การเปลยี่ น logical file เปน physical file นนั้ ในระดับไฟลธรรมดาจะใช Operating system แตถาเปน ฐานขอมลู จะใชร ะบบจดั การฐานขอ มูลเปน ตวั เปล่ยี น (map) และนาํ เสนอโครงสรางขอมลู ใหก ับ application หรือผูใช เชน ถาเราใชฐานขอ มูลแบบ relational model โครงสรา งท่เี ห็นจะเปน ตาราง (relation) แตฐ านขอ มลู ที่มโี ครงสรางแบบ hierarchical model หรือ network model นั้น application หรอื ผใู ชจะมองเห็นเปน tree และ link list ตามลาํ ดบั

บทท่ี 1 แนวคิดเกีย่ วกับขอ มูลและฐานขอ มูล 1-7 1.5 คําศัพทท ีเ่ กี่ยวขอ งกบั ฐานขอ มลู ทส่ี าํ คญั 1.5.1 ความถูกตองของขอมูล (Data Integrity) มี 2 ประเภท 1) Static Integrity (State of Data) เปน ความถูกตองของเน้อื ขอ มลู เชน ผูห ญิงลาบวชไมได ผชู ายลาคลอดไมไ ด อายุของ พนักงานอยรู ะหวา ง 18*60 ป หรือสมาชกิ ยมื หนงั สือไดไ มเ กิน 5 เลม เปน ตน 2) Dynamic Integrity (State of Transition) เปน ความถูกตองของลําดบั การแกไ ข เชน การแกไขสถานะภาพสมรสของพนักงาน ดังรปู โสด แตง งาน หยา หมาย ความถกู ตองของขอ มลู จะถูกบังคับโดย integrity rule หรือ integrity constrains และ ไมค วรถูกจดั การโดยโปรแกรม แตจ ะถูกจดั การโดยระบบจัดการฐานขอ มลู 1.5.2 ความเปน อสิ ระของขอ มลู (Data Independence) หมายถงึ การทโ่ี ปรแกรมเปนอสิ ระจากการเปลยี่ นแปลงโครงสรา งขอมูล แบง ออกเปน 2 ชนดิ 1) ความเปน อิสระทางกายภาพ (Physical Data Independence) การเปลี่ยนแปลงโครงสรางขอมูลระดับลาง (Physical structure) จะไมมีผลกระทบตอ โปรแกรม เชน การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งขอมูลจากการเกบ็ แบบ sequential file เปนแบบ Index file หรือ hashing file โปรแกรมทเี่ รียกใชขอมลู จาก file เหลา น้จี ะไมม ีการแกไ ขหรือไมต อ งการทํา compile ใหม หรือการโยกยา ยขอ มูลจากที่หนึง่ ไปยังท่หี น่งึ กไ็ มมีผลกระทบตอ โปรแกรม 2) ความเปน อสิ ระทางตรรกภาพ (Logical Data Independence) การเปล่ยี นแปลงโครงสรางขอ มลู ระดบั กลางหรือระดบั หลักการ (conceptual level) ซงึ่ เปน logical structure จะไมม ผี ลกระทบตอโปรแกรม เชน การเพ่ิมเตมิ ขอมลู เขาไปในโครงสรา งระดับกลางท่ี ผูบริหารฐานขอมลู (Database Administrator) เปน ผกู าํ หนดโปรแกรมทม่ี ีอยเู ดิม ซงึ่ ไมเกี่ยวของกบั ขอ มลู ที่เพิม่ เขา ไปน้นั ไมม ีการเปล่ยี นแปลงหรอื compile ใหม อีกความหมายหนง่ึ กค็ ือ เมอื่ มีการเปลีย่ นแปลงโครงสรา งขอมลู ระดบั บน (external level) ก็ไม มผี ลกระทบตอขอมลู ระดบั กลางและขอ มูลระดับลา ง เชน การสลับลําดบั ของฟล ดในโปรแกรม เปน ตน

เอกสารประกอบการบรรยายวิชา 204204 การออกแบบและพฒั นาฐานขอ มลู 1-8 ความเปนอิสระของขอมูลน้ีทําใหโปรแกรมสามารถเรียกใชขอมูลไดดวยภาษาตางกัน เชน โปรแกรมหนงึ่ เรยี กใชขอมูลไดดวยภาษาตางกนั เชน โปรแกรมหนงึ่ เรยี กใชขอมลู ดวยภาษา COBOL อกี โปรแกรมหนึ่งเรยี กใชขอ มูลดว ยภาษา SQL นอกจากนี้ยังรวมถึงการท่ีโปรแกรมสามารถเหน็ ขอ มลู ไดห ลายรูปแบบแตกตางกัน 1.6 คุณลักษณะทด่ี ขี องฐานขอมลู (Good Characteristics of Database System) 1.6.1 ลดความซา้ํ ซอ นของขอ มลู ใหเ หลือนอ ยทส่ี ดุ (Minimum redundancy) เปนการทําใหป ญ หาเรื่องขอมูลไมต รงกันลดนอยลงหรอื หมดไป โดยนาํ ขอ มูลทงั้ หมดมา รวมกันเพ่ือตัดหรอื ลดสว นทซี่ าํ้ กนั ท้งิ ไป ใหเ หลืออยูเพยี งแหง เดียว และเปน ผลทาํ ใหสามารถแบงขอ มูล กนั ใชไ ดระหวา งผูใ ชหลาย ๆ คน รวมทัง้ การใชข อมลู เดียวกนั ในเวลาพรอม ๆ กนั ไดอ ีกดวย 1.6.2 ความถูกตองสงู สดุ (Maximum Integrity : Correctness) ในระบบฐานขอมูลจะมคี วามถกู ตอ งของขอมูลสงู สุด เพราะวา ฐานขอ มูลมี DBMS คอย ตรวจสอบกฎเกณฑหรือเง่อื นไขตา ง ๆ (Integrity Rules) ใหท กุ คร้งั ทมี่ ีการแกไ ขขอ มลู หรือเพิม่ เติมขอ มูลเขาไปในระบบฐานขอมูลน้ัน โดยกฎเกณฑเหลาน้ีจะเก็บไวในฐานขอมูลตามแนวคิดของ International Organization for Standard (ISO) แตใ นปจ จบุ ันมี DBMS บาง product ทีข่ อ บงั คับเหลา น้ีไมไ ดผ ูกตดิ อยูกฐั านขอ มูลยงั คงเกบํ อยใู นโปรแกรม การเปลย่ี นแปลงกฎเกณฑเ หลา นที้ ําใหตองแกไข โปรแกรมตามไปดวยทกุ คร้งั ซง่ึ ไมส ะดวก เชนเดยี วกบั ระบบแฟมขอ มูลเดมิ ทาํ ใหเกดิ ความยงุ ยากใน การเขยี นโปรแกรม แตถ า ยาย การเกบ็ ขอบังคับหรอื กฎเกณฑเหลา นม้ี าไวท่ฐี านขอมูล ในทางปฏิบัตจิ ะ ทาํ ใหค วามเร็วลดลงกวา แบบเดิม เนอื่ งจากปจจุบนั นีฮ้ ารด แวรที่มคี วามสามารถและประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ ทาํ ใหค วามเร็วพอกัน ระบบจดั การฐานขอมลู บางชนดิ จะมฟี งกชั่นพเิ ศษ (trigger) กับ procedure อยู บน FORM กม็ ี ปจจบุ นั จะมีใหเลือกวา จะไวบ นจอหรอื ไวใ นกฎเกณฑก ลาง ซ่งึ จะเกบ็ ไวท ฐี่ านขอ มูล เรยี กวา stored procedure ซึง่ ถกู ควบคุมดแู ลโดย DBMS สําหรบั DBMS ชัน้ ดสี ว นใหญจ ะเปน compile stored procedure เพราะเก็บกฎเกณฑเหลาน้ีไวท ่ี stored procedure ไมไ ดเ กบ็ ไวใ น โปรแกรมเหมือนระบบแฟมขอมูลเดิม ดังน้ันเม่ือเงื่อนไขเหลาน้ีเปล่ียนแปลงไปก็จะทําการแกไขเพียง แหง เดยี ว ทาํ ใหร ะบบฐานขอมลู มีความถกู ตอ งของขอมลู มากที่สุด และลดคา ใชจ ายในการพัฒนา และ บํารุงรักษา 1.6.3 มคี วามเปน อสิ ระของขอมูล (Data Independence) ถือเปนคุณลักษณะเดนของฐานขอมูลซึ่งไมมีในระบบไฟลธรรมดา เนื่องจากในไฟล ธรรมดาจะเปนขอมูลทไี่ มอ ิสระ (data dependence) กลา วคอื ขอ มูลเหลานี้จะผกู พนั อยกู บั วธิ กี ารจดั เก็บและการเรียกใชขอมูลซึ่งในลักษณะการเขียนโปรแกรมเราจําเปนตองใสเทคนิคการจัดเก็บและเรยี ก ใชข อ มูลไวในโปรแกรม เม่ือมกี ารเปล่ยี นแปลงวิธีการจดั เกบ็ ทําใหตอ งเปล่ียนแปลงแกไ ขโปรแกรมตาม

บทที่ 1 แนวคิดเกย่ี วกับขอมูลและฐานขอ มลู 1-9 ไปดว ย ดงั นนั้ ถา หากมกี ารแกไ ขหรือเปล่ยี นแปลงโครงสรางขอมลู ทงั้ ในระดับ logical และ physical ยอ มมผี ลกระทบตอ โปรแกรม แตถ า ขอมลู เกบ็ ในลกั ษณะของฐานขอมูลแลว ปญหาน้จี ะหมดไป เพราะ ฐานขอ มลู มี DBMS คอยดูแลจดั การให ทําใหโปรแกรมเหลานเ้ี ปน อสิ ระจากการเปล่ยี นแปลงโครงสรา ง ขอมลู 1.6.4 มรี ะบบความปลอดภยั ของขอ มูลสงู (High Degree of Data Security) ฐานขอ มูลจะมีระบบรกั ษาความปลอดภยั ของขอ มลู สงู โดย DBMS จะตรวจสอบรหัสผา น (login password) เปน ประเด็นแรก หลังจากผานเขา สูระบบไดแ ลว DBMS จะตรวจสอบดวู า ผใู ชน ัน้ มี สทิ ธใิ ชข อมูลไดมากนอ ยเพียงใด เชน จะอนุญาตใหใชไ ดเ ฉพาะ inquery หรือ update และสามารถทาํ ไดเฉพาะตารางใดหรอื แถวใดหรือคอลมั นใด เปน ตน นอกจากนี้ โครงสรา งขอมูลระดับลา งยังถกู ซอนไว ไมใหผูใ ชม องเหน็ วา อยูตรงไหน DBMS จะไมยอมใหโปรแกรมใด ๆ เขา ถงึ ขอ มลู ไดโดยไมผา น DBMS 1.6.5 การควบคุมจะอยทู ่ีสวนกลาง (Logically Centralized Control) แนวความคดิ นจี้ ะนาํ ไปสูระบบการปฏิบัติงานท่ดี ี อยา งนอยสามารถควบคมุ ความซ้าํ ซอ น และความปลอดภัยของขอ มูลได นอกจากนใ้ี นการควบคมุ ทกุ อยา งใหมาอยทู สี่ วนกลางจะนํามาสรู ะบบ สารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) โดยตอ งมกี ารควบคุมดูแลจากศูนยกลางทัง้ การใชแ ละการสรา งโดย หลกั การแลว จะไมย อมใหโปรแกรมเมอรส รา งตารางหรือวิวเอง แตจะใหผบู รหิ ารฐานขอ มลู เปน ผสู รา ง ให เพื่อจะไดทราบวา ตารางหรอื วิวซา้ํ หรือไม นอกจากนี้ผบู ริหารฐานขอมลู จะเปน ผใู หส ิทธแิ กผ ใู ชว วิ ดังนน้ั โปรแกรมเมอรจ ะตองติดตอ ประสานงานกับผบู รหิ ารฐานขอมูลในการจดั ทาํ รายงาน คุณลักษณะ นี้จะทาํ ใหม คี วามคลองตัวในการใชง าน ซ่งึ เปน ผลมาจากขอมูลมาอยูรวมกัน 1.7 องคป ระกอบของระบบฐานขอ มูล 1.7.1 Data หมายถงึ ขอ มลู ทีถ่ กู เกบ็ ไวในระบบฐานขอ มลู รวมถงึ ความสมั พันธระหวางขอมลู ดวย ดงั น้ัน data ในทีน่ ีจ้ ึงหมายถึง database 1.7.2 Hardware ไดแ กเ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร อปุ กรณท ่ีเก็บขอมลู ประกอบดว ย secondary storage เชน disk และอุปกรณอ นื่ ๆ ทีเ่ กีย่ วของ 1.7.3 Software คอื โปรแกรมท่จี ดั การเกีย่ วกับฐานขอมูล โดยปกตแิ ลวจะเรยี กวาระบบจัดการฐานขอมูล หรือ DBMS สวนน้จี ะทาํ หนาท่ีเชือ่ มตอ ระหวา งขอมูลกับผูใช ดังน้นั การเรยี กใชห รอื ดงึ ขอมูลจากฐาน ขอ มูลจะตอ งผาน DBMS 1.7.4 User

เอกสารประกอบการบรรยายวชิ า 204204 การออกแบบและพฒั นาฐานขอ มลู 1 - 10 ไดแ กบ ุคคลตาง ๆ ทเี่ ก่ยี วของกบั ฐานขอมลู เชน ผบู รหิ ารฐานขอ มลู โปรแกรมเมอร นกั วเิ คราะหร ะบบ และผใู ช 1.8 บุคคลที่เก่ยี วของกับฐานขอ มลู 1.8.1 ผบู ริหารฐานขอ มลู (Database Administrator หรอื DBA) เปน บคุ คลคนเดียว หรือกลมุ ผเู ชย่ี วชาญซ่งึ มีหนา ที่ควบคมุ และบริหารทรัพยากรฐานขอ มลู ขององคก รใหสามารถดําเนนิ การประยกุ ตใชฐานขอ มูลโดยความรว มมือชว ยเหลอื จากพนกั งานใน หนว ยงานทเี่ กย่ี วของ อีกท้งั ตอ งเปนผูที่สามารถตดิ ตอกับผูบริหารระดบั สงู ผูใ ชแ ผนกตาง ๆ และเจา หนา ทฝี่ า ยปฏบิ ตั กิ าร และควรมคี วามรูท ั้งหลักการบรหิ ารและดานเทคนคิ ของระบบจัดการฐานขอมูล (DBMS) หนาที่ของผบู รหิ ารฐานขอมูล แบงเปน 2 สว น - การออกแบบฐานขอ มลู จะตอ งทราบวิธอี อกแบบและรายละเอยี ดของระบบงาน ซึ่งทจ่ี ริง แลว ในสวนนี้ควรจะเปนหนาที่ของผูจ ดั การขอมูลหรือ DA (Data Administrator) ซึ่งกค็ ือ SA (System Analysis) โดยผใู ชหรือเจา ของระบบงานเขยี นและออกแบบโครงสรา งดว ย ER Model แต SA จะออก แบบอลั กอรทิ ึม - การปฏบิ ตั ิงานกบั DBMS จะตอ บทราบเทคโนโลยขี อง DBMS ดังนัน้ ในสวนน้จี ะเปน หนาท่ีของ DBA โดย DBA จะตอ งทราบวธิ กี ารปฏิบตั งิ านกบั DBMS ดังนี้ 1. การตดิ ตั้งระบบจัดการฐานขอ มลู (Install DBMS) 2. การจัดสรรเนอ้ื ท่ใี นดิสต (allocate disk space) 3. การสรางโครงสรางของขอ มูล (create data structure) 4. การทําขอมลู สาํ รองเอง (backup) และการฟน สภาพขอมูล (recovery) 5. การปรับผลการปฏิบตั งิ าน (performance tuning) DBA จะทําหนา ทเี่ ปน ทป่ี รกึ ษาและประสานงานกับเจาหนาทีฝ่ า ยปฏิบตั ิการ เชน นัก วเิ คราะหแ ละออกแบบโปรแกรมเมอรแ ละผูใช 1.8.2 นกั วิเคราะหและออกแบบ (System Analyst) จะทําหนา ท่ีออกแบบอัลกอริทึม (algorithm) ของระบบงาน 1.8.3 โปรแกรมเมอร (Programmer) เปนผูเขียนโปรแกรมประยกุ ต (application program) สําหรบั ใชก ับฐานขอ มูล อาจจะ เขยี นดวยภาษาระดบั สงู เชน SQL เปนตน 1.8.4 ผใู ช (End User)

บทท่ี 1 แนวคิดเกีย่ วกบั ขอมูลและฐานขอมูล 1- 11 เจา ของระบบงานที่ตองการเรยี กใชฐานขอมลู โดยอาจผานทางโปรแกรมประยกุ ต หรอื ภาษาเรียกคน เชน SQL ผูใชเหลา นไ้ี มจําเปนตอ งมคี วามรเู กีย่ วกบั การเขียนโปรแกรม ถงึ แมว า ฐานขอมูลจะมีคุณลกั ษณะท่ีดีดงั ไดกลา วมาขา งตนแตก ม็ ขี อเสียดงั นี้ 1. ขนาดของระบบจดั การฐานขอมลู มกั มขี นาดใหญและราคาแพง เนอ่ื งจากซอฟตแวร ประกอบดว ยฟงกชนั ตา ง ๆ มากมาย จงึ ตองการฮารดแวรเพิ่มขึ้นทั้งหนวยความจําหลกั และหนวย ความจําสํารอง 2. ตอ งอาศยั ผดู แู ลท่มี ีความรูค วามเขาใจเทคโนโลยี ระบบการจัดการฐานขอ มลู 3. ถาระบบเสยี จะทาํ ใหมผี ลตอ ผใู ชห ลายคน 4. ความเปนเจา ของขอ มูลลดลง ขอมลู จะไมเ ปนของผูห นง่ึ ผูใดโดยเฉพาะ หนง สอื อา งองิ 1. ศภุ กฤษฎ์ิ นวิ ัฒนากลู , การออกแบบและพัฒนาฐานขอมูล, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยสี รุ นารี : นครราชสมี า, 2545 2. ชนวฒั น ศรสี อา น, การออกแบบและพฒั นาฐานขอ มลู , มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี : นครราชสีมา, 2542. 3. รววิ รรณ เทนอสิ สระ, ฐานขอ มลู และการออกแบบ, ซีเอด็ ยูเคชั่น : กรงุ เทพฯ, 2543. 4. วราภรณ โกวทิ วรางกูร, ระบบฐานขอมลู และการออกแบบ, ศนู ยหนงั สอื จุฬาลงกรณ มหาวทิ ยาลัย : กรุงเทพฯ, 2543.

เอกสารประกอบการบรรยายวิชา 204204 การออกแบบและพฒั นาฐานขอ มลู 1 - 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook