Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 1_Diode

Unit 1_Diode

Published by stp_1975, 2020-04-17 11:09:20

Description: ใบความรู้ 1_ไดโอด

Search

Read the Text Version

ก คำนำ เอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 1 เร่ืองไดโอด วิชางานพื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์ รหัส วิชา 30105-0003 โดยเนื้อหาสอดคล้องและครบถ้วนสมบูรณ์ตามคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.) พุทธศักราช 2563 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา อิเล็กทรอนกิ ส์ ภายในเนอ้ื หาบทเรียน ประกอบดว้ ย ชนิดของไดโอด โครงสรา้ งของไดโอด สัญลกั ษณ์ ของไดโอด วิธีการไบอัสไดโอด ลักษณะสมบัติทางไฟฟ้าของไดโอด การวัดและทดสอบไดโอด วงจร ใช้งานของไดโอด การดำเนินการสอน 1) ผสู้ อนต้องดำเนนิ การสอนตามกำหนดการสอน 2) การจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน มขี นั้ ตอนดังน้ี (1) ข้ันเตรยี ม/ขนั้ นำ ประกอบดว้ ย การจัดเตรยี มสอื่ การสอน การตรวจสอบนักเรียน การทดสอบก่อนเรยี น แจง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ และนำเขา้ สบู่ ทเรียน (2) ข้ันการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย การถา่ ยทอดความรู้ การทดสอบความเขา้ ใจ ทำแบบฝึกหัดพร้อมเฉลย ทดลองตามใบงาน ตรวจใบงาน การทดสอบหลงั เรยี น บันทึกคะแนน การเก็บคะแนน คะแนนประจำหนว่ ย 60 คะแนน ประกอบดว้ ย (1) คะแนนแบบฝกึ หัด 20 คะแนน (2) คะแนนปฏบิ ตั ิงาน (ทดลองใบงาน) 20 คะแนน (3) คะแนนพฤตกิ รรม/คะแนนดา้ นจิตพสิ ยั 10 คะแนน (4) คะแนนทดสอบหลังเรียน 10 คะแนน สนั ตภิ าพ มะสะ ผู้จดั ทำ

ข สารบัญ หน่วยท่ี 1 ไดโอด หน้า 1.1 แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี 1 1 1.2 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 1 1.3 ใบความรู้ที่ 1 1 1.4 แบบฝกึ หัดที่ 1 3 1.5 เฉลยแบบฝึกหัดท่ี 1 1.6 ใบงานที่ 1 4 1.7 แบบประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน ใบงานที่ 1 28 1.8 แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยที่ 1 31 1.9 เฉลยแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยที่ 1 1.10 แบบประเมินคุณธรรมจริยธรรมและคณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงค์ หน่วยท่ี 1 32 1.11 เอกสารอ้างองิ หน่วยท่ี 1 50 51 53 54 55

1 แบบทดสอบก่อนเรยี น หนว่ ยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวิชา งานพน้ื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ท่ี 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง ชอื่ เรือ่ ง : ไดโอด เวลา 20 นาที คำส่งั จงทำเครอ่ื งหมายกากบาท () ลงบนตวั เลือกท่ถี กู ตอ้ ง 1. ขอ้ ใดคือชนิดของไดโอดท่ีแบง่ ตามลกั ษณะกรรมวธิ ีทผี่ ลติ ก. ชนิดเงนิ กบั ชนดิ ทองแดง ข. ชนดิ หัวต่อพี-เอ็นกับซลิ กิ อน ค. ชนิดจุดสมั ผัสกับชนิดซลิ ิกอน ง. ชนดิ จดุ สมั ผสั กบั ชนิดหวั ต่อพี-เอ็น จ. ชนดิ เยอรมันเนย่ี มกบั ชนิดซิลิกอน 2. โครงสรา้ งของไดโอดเกดิ จากการประกอบของสารก่ึงตวั นำชนิดเอ็นกับสารใด ก. สารเซรามิค ข. สารเยอรมันเนี่ยม ค. สารกงึ่ ตัวนำชนิดพี ง. สารกง่ึ ตวั นำบรสิ ุทธ์ิ จ. สารกงึ่ ตวั นำไมบ่ รสิ ทุ ธิ์ 3. ไดโอดมขี าใชง้ านกขี่ า ก. 2 ขา ข. 3 ขา ค. 4 ขา ง. 5 ขา จ. 6 ขา 4. จากรปู เปน็ สญั ลกั ษณข์ องอปุ กรณ์ใด ก. ไดโอด ข. โฟโต้ไดโอด ค. ตวั ตา้ นทาน ง. ตัวเกบ็ ประจุ จ. ไดโอดเปลง่ แสง 5. การไบอัสไดโอดมีก่วี ิธี ก. 2 วธิ ี ข. 3 วิธี ค. 4 วิธี ง. 5 วิธี จ. 6 วิธี

2 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง ชอ่ื เร่ือง : ไดโอด เวลา 20 นาที 6. จุดทที่ ำให้ไดโอดพงั เสียหาย เรยี กว่าอะไร ก. คทั อนิ ข. เบรกอนิ ค. คัทโอเวอร์ ง. เบรกดาวนโ์ วลเตจ จ. เบรกโอเวอรโ์ วลเตจ 7. ไดโอดไมส่ ามารถนำกระแส เพราะตอ่ ไบอัสแบบใด ก. ฟิกสไ์ บอสั ข. เซล์ฟไบอสั ค. รเี วิรส์ ไบอสั ง. ฟีคแบคไบอสั จ. ฟอร์เวริ ์ดไบอัส 8. เมอื่ เยอรมนั เนย่ี มไดโอดนำกระแส จะเกิดความต่างศกั ย์กโ่ี วลต์ ก. 0.1 V ข. 0.3 V ค. 0.5 V ง. 0.7 V จ. 0.9 V 9. การวดั ทดสอบไดโอด จำนวน 2 คร้ัง ปรากฏวา่ เขม็ มเิ ตอร์ไม่ขน้ึ เลย แสดงว่าไดโอดอยู่ในสภาพใด ก. รัว่ ข. ยืด ค. ขาด ง. ปกติ จ. ชอ็ ต 10. ข้อใดไม่ใช่วงจรใช้งานของไดโอด ก. วงจรคลปิ เปอร์ ข. วงจรเร็กกูเลเตอร์ ค. วงจรแคลมปเ์ ปอร์ ง. วงจรเร็กติฟายเออร์ จ. วงจรมลั ติพลายเออร์

3 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หนว่ ยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ช่ือวิชา งานพ้ืนฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ท่ี 1-2 ชื่อหน่วย ไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง ชือ่ เรื่อง : ไดโอด เวลา 10 นาที เฉลยคำตอบ ข้อที่ ขอ้ ทถ่ี ูกต้อง 1ง 2ค 3ก 4ก 5ก 6ง 7ค 8ง 9ค 10 ข ขอ้ ละ 1 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน

4 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 1-2 ชื่อหน่วย ไดโอด ชื่อเรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 1. บอกชนิดของของไดโอดได้ 2. อธบิ ายโครงสรา้ งของไดโอดได้ 3. บอกสญั ลกั ษณข์ องไดโอดได้ 4. บอกวธิ กี ารไบอสั ไดโอดได้ 5. อธบิ ายลกั ษณะสมบัติทางไฟฟ้าของไดโอดได้ 6. บอกวิธกี ารวดั และทดสอบไดโอดได้ 7. บอกการใชง้ านของไดโอดได้ สาระการเรยี นรู้ 1. ชนดิ ของไดโอด 2. โครงสรา้ งของไดโอด 3. สญั ลักษณข์ องไดโอด 4. วิธกี ารไบอสั ไดโอด 5. ลกั ษณะสมบตั ิทางไฟฟา้ ของไดโอด 6. การวดั และทดสอบไดโอด 7. วงจรใชง้ านของไดโอด

5 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครงั้ ที่ 1-2 ชื่อหน่วย ไดโอด ชอ่ื เรือ่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชั่วโมง ไดโอด (Diode) เป็นอุปกรณ์ท่ีสรา้ งข้นึ จากสารกึง่ ตวั นำ ทำหน้าท่ีเรียงกระแสและตัดสัญญาณ ที่ยอม ให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นได้ทิศทางเดียว ทั้งนี้ ไดโอดมีหลากหลายขนาดและหลากหลายชนิด ดังนั้น จึงมกั พบเหน็ รูปร่างภายนอกของไดโอดท่แี ตกตา่ งกนั ไป ภาพท่ี 1-1 รปู รา่ งของไดโอด ท่ีมาของภาพ : https://www.arduinoall.com/category/52/electronic-component https://www.alibaba.com/product-detail/Hot-selling-t2d-diode-2a-rectifier_ 60465581171.html 1.1 ชนดิ ของไดโอด ไดโอด สามารถจำแนกชนดิ ได้หลากหลายรปู แบบ ไดแ้ ก่ 1) การแบง่ ตามเนื้อสารท่ใี ชผ้ ลติ ไดโอด สามารถแบ่งได้ 2 ชนดิ คอื (1) เยอรมนั เนี่ยมไดโอด คือ ไดโอดทม่ี ีส่วนผสมของสารเยอรมนั เนี่ยม ซ่ึงสารเยอรมนั เน่ียมเป็นเน้ือ สารที่ไม่ค่อยนิยมนำมาผลติ เป็นอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ เนื่องจากมีกระแสรั่วไหลมากกว่าสารซิลิกอน (2) ซิลิกอนไดโอด คือ ไดโอดท่ีมีส่วนผสมของสารซลิ ิกอน ซึ่งสารซิลกิ อน เป็นเน้ือสารที่นิยมนำมา ผลิตเป็นอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ทกุ ชนดิ ในปจั จบุ นั เนอ่ื งจากมีผลตอ่ การรวั่ ไหลของกระแสไฟฟ้าน้อยมาก

6 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครงั้ ท่ี 1-2 ชอ่ื หน่วย ไดโอด ชอ่ื เรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง ก) เยอรมันเนยี มไดโอด ข) ซลิ ิกอนไดโอด ภาพที่ 1-2 แสดงรปู ร่างของไดโอดท่ีแบง่ ตามเนื้อสารท่ีใช้ผลิต ท่ีมาของภาพ : http://oknation.nationtv.tv/blog/jumpiiz/2008/01/02/entry-2 https://www.upteks.com/th/product/-GOODWORK/1N5401.html 2) การแบ่งตามลักษณะกรรมวธิ ที ีผ่ ลติ สามารถแบง่ ได้ 2 ชนดิ คือ (1) ไดโอดชนิดจุดสัมผัส (Point contact diode) เกิดจากการนำเอาสารเยอรมันเนียมชนดิ เอ็นมา อัดเป็นเส้นลวดพลาตินั่ม (Platinum) หรือที่เรยี กว่า หนวดแมว ใส่เข้าไปในหลอดแก้วต่อเข้ากับผลึก ซึ่งเป็นสาร ชนดิ เอน็ เมื่อให้กระแสคา่ สงู ๆ ไหลผ่านรอยตอ่ ระหวา่ งสายและผลกึ จะทำใหเ้ กิดสารชนิดพี ขึน้ รอบ ๆ รอยสัมผัส ในผลกึ เยอรมันเนียม (2) ไดโอดชนิดหัวต่อพี-เอ็น (P-N junction diode) เกิดจากการนำสารกึ่งตัวนำชนิดเอ็นมาแพร่ อนภุ าคอะตอมของสารบางชนดิ เข้าไปในเนอื้ สารกึ่งตัวนำชนิดพขี นึ้ บางสว่ น แลว้ จงึ ต่อขวั้ ออกใช้งาน ไดโอดชนดิ นี้มี บทบาทมากในวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และใช้งานกันอย่างแพรห่ ลาย

7 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพนื้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด ช่ือเรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชวั่ โมง ไดโอดชนดิ จุดสัมผัส ไดโอดชนดิ หวั ตอ่ พี-เอน็ ภาพที่ 1-3 แสดงรปู ร่างของไดโอดทแี่ บ่งตามลกั ษณะกรรมวิธีทีผ่ ลติ ท่มี าของภาพ : http://allowtech.blogspot.com/2011/11/diode.html 1.2 โครงสรา้ งของไดโอด อาโนด P N แคโถด A : Anode K : Cathode ภาพที่ 1-4 แสดงโครงสร้างของไดโอด ไดโอด เป็นอุปกรณ์สารกงึ่ ตวั นำทีไ่ ด้จากการนำสารก่ึงตวั นำชนิดพีกบั สารกง่ึ ตวั นำชนดิ เอ็น ทำให้เกดิ 1 รอยต่อ (Junction) มาตอ่ ชนกันด้วยวิธกี ารปลกู ผลึกหรอื แพร่กระจายสารเจือปนลงไปในสารกงึ่ ตวั นำบรสิ ทุ ธิ์ มี ขาใชง้ าน 2 ขา คอื อาโนด (Anode) เรยี กย่อวา่ ขา A กบั ขาแคโถด (Cathode) เรยี กยอว่า ขา K โดยขา A จะต่อ เขา้ กับสารกงึ่ ตัวนำชนดิ พี สว่ นขา K จะต่อเข้ากบั สารกึง่ ตัวนำชนิดเอ็น

8 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่อื วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังท่ี 1-2 ชือ่ หนว่ ย ไดโอด ชื่อเร่อื ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชวั่ โมง 1.3 สัญลกั ษณข์ องไดโอด ดา้ นปลายหวั ลูกศร จะเป็นขาแคโถด (Cathode) หรือขา K สว่ นอกี ด้านหนงึ่ เป็นขาอาโนด (Anode) หรือขา A ทงั้ นี้ หัวลกู ศรของสัญลักษณไ์ ดโอด จะแสดงทศิ ทางการไหลของกระแสโฮลทไี่ หลจากขาอาโนดไปยังขา แคโถด (เม่อื ไดร้ บั ไบอสั ตรง) AK ภาพท่ี 1-5 แสดงสัญลักษณ์ของไดโอด เมื่อนำรูปร่างของไดโอดมาเปรียบเทียบกับสัญลักษณ์ของไดโอด ด้านที่มีแถบสีเทา (ตัวถังสีดำ) หรือ ดา้ นที่มแี ถบสดี ำ (ตวั ถงั หลอดแก้วสสี ม้ /สีขาว) จะเป็นขา K AK AK AK ภาพที่ 1-6 แสดงรูปรา่ งของไดโอด เมอ่ื เทียบกับสญั ลกั ษณ์ ท่ีมาของภาพ : https://panduanteknisi.com/jenis-jenis-dioda-dan-kegunaanya.html https://www.amazon.com/100-1N4148-Switching-Signal-Diode/dp/B0714P3P6L

9 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด ชื่อเรือ่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ชว่ั โมง 1.4 การไบอัสไดโอด การจะนำไดโอดไปใช้งาน จะต้องมีการจ่ายไบอสั หรอื จัดแรงดันไฟฟา้ เพ่ือให้ไดโอดนำกระแสหรอื หยดุ นำกระแส ซงึ่ การไบอสั ไดโอด สามารถทำได้ 2 วิธี 1) การไบอัสตรง (Forward Bias) คือ การจ่ายแรงดนั ไฟทม่ี ีศกั ยบ์ วกใหก้ บั สารกงึ่ ตัวนำชนิดพีหรือขาอาโนด และจ่ายแรงดันไฟที่มี ศักย์ลบใหก้ ับสารกึ่งตัวนำชนิดเอน็ หรือขาแคโถด AK ID ภาพที่ 1-7 แสดงการจ่ายไบอัสตรงให้กับไดโอด เมื่อไดโอดได้รับไบอัสตรง โดยต่อศักย์บวกของแหล่งจ่ายไฟฟ้าเข้ากับขาอาโนดและต่อศกั ยล์ บ เข้ากับขาแคโถด ไฟลบจะผลักอิเลก็ ตรอนอสิ ระในสารชนิดเอน็ ให้เคลื่อนท่ีได้ ในเวลาเดยี วกันไฟบวกที่จ่ายให้สาร ชนดิ พีจะดงึ ดดู อเิ ล็กตรอนให้เคลอื่ นท่ีเข้ามาหาและจะผลกั โฮลให้เคลือ่ นที่ออกไปข้างหนา้ อเิ ลก็ ตรอนจะเคล่ือนที่ ผ่านสารชนิดพีเข้ากับศักย์ไฟบวกของแหล่งจ่าย และเคลื่อนทีผ่ ่านแหล่งจ่ายไปยงั ขาแคโถดของสารชนิดเอ็นเกดิ กระแสไหลผ่านไดโอด แรงดันไบอัสตรงที่จ่ายให้ไดโอด จะต้องจ่ายให้มากกว่าศักย์ไฟฟ้าที่ตกคร่อมรอยต่อ ซึ่ง ค่าแรงดันจะมากหรือน้อยขึน้ อยกู่ บั ชนดิ ของสารทใี่ ชผ้ ลติ ไดโอด ไดโอดที่ผลิตจากสารเยอรมันเนยี ม จะมแี รงดันตก ครอ่ ม 0.3 โวลต์ สว่ นไดโอดที่ผลิตจากสารซิลิกอน จะมีแรงดันตกคร่อม 0.7 โวลต์ ดังนน้ั เม่ือไดโอดนำกระแสแล้ว จะมีแรงดันตกคร่อมรอยต่อของไดโอดเท่ากับ 0.3 โวลต์ ในไดโอดชนิดเยอรมันเนียม (Ge) และเท่ากับ 0.7 โวลต์ ในไดโอดชนิดซิลกิ อน (Si)

10 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้งั ที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ชื่อเรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง 2) การไบอสั กลบั (Reverse Bias) คอื เปน็ การจ่ายแรงดันไฟฟา้ ให้กับไดโอดแบบกลบั ขว้ั คือจ่ายศักย์ไฟบวกใหส้ ารชนดิ เอน็ หรอื ขา แคโถด (K) และจา่ ยศกั ยไ์ ฟลบใหส้ ารชนิดพหี รอื ขาอาโนด (A) KA ID=0 A ภาพที่ 1-8 แสดงการจา่ ยไบอสั กลบั ใหก้ บั ไดโอด เม่อื ไดโอดไดร้ บั ไบอัสกลับ โดยศกั ย์ไฟบวกทจี่ า่ ยใหก้ ับขาแคโถด จะดงึ อิเล็กตรอนอสิ ระในสารกง่ึ ตวั นำชนดิ เอ็นใหเ้ คล่ือนตวั ออกห่างจากรอยต่อ สว่ นศกั ยไ์ ฟลบท่จี ่ายให้กบั ขาอาโนด จะดึงดูดโฮลจากสารก่ึงตัวนำ ชนดิ พีเคลื่อนตัวออกห่างจากรอยตอ่ ด้วยเช่นกัน ทำใหร้ อยต่อกวา้ งมากข้ึน สง่ ผลให้อิเลก็ ตรอนว่ิงไม่ครบวงจร ไม่มี กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นตวั ไดโอด แต่อาจจะมกี ระแสรว่ั ไหล (Leak Current) เล็กนอ้ ย โดยค่ากระแสร่วั ไหลในไดโอด ท่ผี ลติ จากสารเยอรมันเนยี ม จะมีมากกว่าไดโอดทีผ่ ลติ จากสารซิลิกอน 1.5 ลกั ษณะสมบตั ิทางไฟฟ้าของไดโอด สารกึ่งตัวนำชนดิ พี ซ่งึ มีโฮลเป็นพาหะส่วนใหญ่ มาเช่อื มตอ่ กับสารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น ซ่ึงมีอิเล็กตรอน เปน็ พาหะส่วนใหญ่ (พาหะ หมายถึง การที่อิเล็กตรอนหรอื โฮลเคลื่อนท่ี) จะทำให้อิเล็กตรอนของสารก่ึงตัวนำชนิด เอน็ เคลื่อนท่ผี ่านรอยตอ่ เขา้ ไปหาโฮลในสารก่ึงตวั นำชนิดพี ในทางเดยี วกัน โฮลในสารกึง่ ตวั นำชนดิ พี จะเคล่ือนท่ี ขา้ มรอยต่อเข้าไปหาสารก่ึงตวั นำชนิดเอ็น โดยการเคลือ่ นท่ีของพาหะส่วนใหญ่ จะเกิดขึน้ บริเวณใกล้รอยต่อพีเอ็น ทำให้เกิดสนามไฟฟ้าขน้ึ โดยจะตา้ นทานการเคลื่อนทีข่ องพาหะสว่ นใหญ่ของสารกึ่งตวั นำ ทง้ั 2 ไมใ่ ห้เคล่อื นที่ผ่าน รอยตอ่ เรียกสภาวะนีว้ า่ สภาวะสมดลุ ซง่ึ ในภาวะสมดลุ ที่รอยต่อของสารก่ึงตวั นำชนิดซลิ ิกอน จะมีความต่างศักย์ ท่ีบริเวณปลอดพาหะประมาณ 0.7 โวลต์ และที่รอยตอ่ สารกึ่งตวั นำชนิดเยอรมันเนียมจะมคี วามต่างศักย์บริเวณ ปลอดพาหะ ประมาณ 0.3 โวลต์ ศักย์ไฟฟ้านี้ จะมคี า่ ลดลงเร่อื ย ๆ เม่อื อุณหภมู ิสูงขนึ้

11 ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังท่ี 1-2 ชอื่ หน่วย ไดโอด ชอ่ื เรอ่ื ง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ช่ัวโมง ไดโอดในทางอุดมคติ จะมลี กั ษณะคล้ายกบั สวิตช์ทางไฟฟ้า คือ เมื่อใหไ้ บอสั ตรง จะเหมือนกับสวิตช์ ปิดวงจร (ON) แต่ถา้ ใหไ้ บอสั กลบั จะเหมือนกบั สวิตชเ์ ปดิ วงจร (OFF) ซ่ึงเม่ือไดโอดไดร้ ับไบอัสตรง จะมกี ระแสไหล ผ่านไดโอดได้สงู กรณเี ปน็ ไดโอดท่ผี ลิตจากสารเยอรมันเน่ียม จะมแี รงดนั ตกครอ่ มไดโอด ประมาณ 0.3 โวลต์ กรณีเป็นไดโอดที่ผลิตจากสารซิลิกอน จะมีแรงดันตกคร่อมไดโอด ประมาณ 0.7 โวลต์ ส่วนขณะท่ี ไบอัสกลับ จะมกี ระแสไหลผา่ นน้อยมากเพยี งไมก่ ่ไี มโครแอมป์ กราฟแสดงลักษณะสมบตั ขิ องไดโอด สามารถหาได้ จากการจ่ายไบอัสตรงและไบอัสกลับให้ กับไดโอด เมื่อไดโอดได้รับไบอัสตรงจะเกิดกระแสไหลผ่านไดโอดได้ใน ทิศทางจากสารชนิดพีไปยงั สารชนดิ เอ็น (กระแสนิยม) เรียกว่า กระแสไบอสั ตรง ภาพท่ี 1-9 แสดงกราฟคณุ สมบตั ขิ องไดโอด จากกราฟแสดงคุณสมบตั ิของไดโอด เปน็ การแสดงความสมั พันธร์ ะหวา่ งแรงดนั กบั กระแสไฟฟา้ ซ่งึ จะ แสดงท้งั ในขณะจา่ ยไบอัสตรงและไบอัสกลบั เมือ่ จา่ ยแรงดันไบอสั ตรงใหก้ ับไดโอด ในชว่ งเรม่ิ แรก ไดโอดจะยงั ไม่นำกระแส เพราะแรงดันตกค่อม ไดโอดมคี า่ นอ้ ย หากมีกระแสไหลผา่ น จะมคี า่ นอ้ ยมาก ระดบั ไมโครแอมป์ (µA) กรณไ๊ ดโอดชนิดซิลิกอน เมอ่ื แรงดันตกครอ่ มไดโอด มากกว่า 0.5 V แตน่ อ้ ยกวา่ 0.7 V ไดโอดจะเริ่ม มกี ระแสไหลเพิ่มขึน้ จนกระทัง้ เม่ือแรงดันตกครอ่ มไดโอด เท่ากับ 0.7 V ไดโอดจะสามารถนำกระแสได้ เนอื่ งจาก แรงดนั ตกครอ่ มไดโอด ถึงคา่ แรงดนั คทั อิน (Cut in Voltage) จึงมกี ระแสไหลคงที่

12 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ช่ือวิชา งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 1-2 ชือ่ หน่วย ไดโอด ชอื่ เรอ่ื ง : ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ชว่ั โมง กรณ๊ไดโอดชนดิ เยอรมันเน่ีนม เมื่อแรงดันตกคร่อมไดโอด มากกว่า 0.1 V แต่น้อยกว่า 0.3 V ไดโอด จะเริ่มมีกระแสไหลเพิ่มขึ้น จนกระทั้ง เมื่อแรงดันตกคร่อมไดโอด เท่ากับ 0.3 V ไดโอดจะสามารถนำกระแสได้ เนอ่ื งจากแรงดันตกครอ่ มไดโอด ถึงคา่ แรงดันคัทอิน (Cut in Voltage) จงึ มีกระแสไหลคงท่ี ดังนั้น ถ้าจ่ายแรงดันไบอัสตรงให้กับไดโอดมากกว่าแรงดันคัทอินขึ้นไปแล้ว ไดโอดจะสามารถนำ กระแสได้ โดยมกี ระแส IF ไหลผา่ นไดโอด เม่ือจา่ ยแรงดันไบอสั กลบั ให้กับไดโอด จะไม่มีกระแสไหลในวงจร จะมีเพยี งกระแสร่ัวไหลเลก็ น้อยไหล ผ่านไดโอด มีจำนวนน้อยมากเปน็ ไมโครแอมป์ (A) เปรยี บได้ว่า ไดโอดไม่มีกระแสไหลผา่ นหรือไมน่ ำกระแส แต่ ถ้าเพิ่มแรงดันไบอัสกลับให้สูงมากขึ้น จนถึงค่าแรงดันที่เรียกว่า แรงดันพังทลาย (Breakdown Voltage) ทั้งน้ี ไดโอดจะสามารถนำกระแสได้ แต่อยู่ในสภาวะท่ีรอยตอ่ พเี อน็ ของไดโอดทะลุและมีกระแสไหลผา่ นรอยต่อจำนวน มาก ซึ่งการใช้งานโดยทว่ั ไป จะไมจ่ า่ ยแรงดันไบอสั กลบั แก่ไดโอดเกินกวา่ คา่ แรงดันพังทลายของไดโอด 1.6 การวัดและทดสอบไดโอด การวัดและตรวจสอบไดโอดด้วยโอหม์ มเิ ตอรน์ ั้น มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือหาขาหรือหาสภาพการใชง้ านของ ไดโอด ซึง่ เมอ่ื ไดโอดได้รบั ไบอัสตรง จะยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่าน แสดงวา่ ความตา้ นทานของไดโอดมีค่าตำ่ ปกติ จะเรียกความตา้ นทานน้ีว่า ความต้านทานไบอสั ตรง ซ่งึ มคี ่าประมาณ 70  แตเ่ มื่อไดโอดไดร้ บั ไบอสั กลับ จะไม่มี กระแสไหลผา่ นไดโอด เหมือนกบั วา่ ความต้านทานของไดโอดมีคา่ สูงมาก โดยทั่วไป ค่าความต้านทานของไดโอด จะ มีคา่ อยรู่ ะหวา่ ง 500 K ถงึ  1) การทดสอบไดโอดด้วยมัลตมิ เิ ตอร์แบบอนาลอ็ ก ภาพที่ 1-10 แสดงการวดั และทดสอบไดโอดด้วยมลั ติมิเตอร์แบบอนาลอ็ ก

13 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด ชอ่ื เรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง เวลา 4 ช่ัวโมง ขั้นตอนการวัด (1) ตง้ั ยา่ นวดั ความตา้ นทาน R10  เพ่ือวัดความต้านทานขณะไบอัสตรง โดยตอ่ ข้วั ไฟบวก ของมลั ตมิ ิเตอร์ (มเิ ตอร์ตระกูล Sanwa ขว้ั บวกจะจา่ ยไฟลบและขั้วลบจะจ่ายไฟบวก) เขา้ กับขาแคโถดและต่อขั้ว ไฟลบเขา้ กบั ขาอาโนด จะเห็นว่า เขม็ ของมลั ตมิ เิ ตอรจ์ ะชี้ทีค่ า่ ความต้านทานต่ำ ประมาณ 70  (2) ปรบั ย่านวัดความต้านทานไปท่ี R10K เพ่อื วดั ความต้านทานขณะไบอัสกลับ โดยต่อขั้ว ของมลั ติมเิ ตอรก์ ลับจากเดมิ คอื ต่อ ขั้วไฟบวกเข้ากบั ขาอาโนดและตอ่ ขั้วไฟลบเขา้ กับขาแคโถด เข็มของมัลติมิเตอร์ จะชี้ท่คี า่ ความต้านทานสงู มากหรือคา่ อนนั ต์ () (เขม็ มเิ ตอร์ไมก่ ระดิก) กรณีเปน็ ไดโอดชนดิ ซลิ ิกอน และประมาณ 500 k กรณีเป็นไดโอดชนดิ เยอรมันเนยี ม สรุปผลการวดั และทดสอบไดโอด เมื่อทำการวัดขาของไดโอด จำนวน 2 ครั้ง โดยจะแสดงคา่ ความตา้ นทานสูง 1 คร้ัง และ จะแสดงคา่ ความต้านทานต่ำ จำนวน 1 ครง้ั แสดงวา่ ไดโอด ท่ที ำการทดสอบ อยู่ใน สภาพท่ีสามารถใชง้ านได้ การวัดหาขวั้ หรอื ขาของไดโอด สว่ นใหญท่ ต่ี ัวไดโอดจะมเี ครื่องหมายกำกับไวเ้ พือ่ บอกวา่ เปน็ ขาแคโถดหรอื อาโนด AK ภาพท่ี 1-11 แสดงรูปรา่ งและเครอ่ื งหมายกำกบั ขว้ั ของไดโอด ขัน้ ตอนการวดั (1) ปรบั มัลติมิเตอร์ต้ังยา่ นความต้านทานทีต่ ำแหนง่ Rx10 (2) นำสายวดั ของมลั ติมิเตอร์ ท้งั 2 เส้น มาแตะกัน แลว้ ปรับปมุ่ ซีโรโ่ อหม์ ใหเ้ ข็มมัลติมิเตอรช์ ที้ ี่ เลขศูนยพ์ อดี (3) นำสายวัดมาแตะที่ขาของไดโอด โดยสายบวกของมัลติมิเตอรแ์ ตะขาไดโอดข้างที่มีแถบสี เงิน ส่วนสายลบของมิเตอร์แตะขาไดโอดข้างที่ไม่มีแถบ ผลการทดสอบ เข็มมิเตอร์จะเบี่ยงเบนไปทางขวาหรือ สามารถ อ่านค่าได้ ประมาณ 70  แสดงว่า ขาที่สายลบของมิเตอร์แตะ คือ ขาอาโนด และขาที่สายบวกของ มิเตอร์แตะ คือ ขาแคโถด (สายบวกของมิเตอร์ มแี รงดันศักยล์ บ ส่วนสายลบของมเิ ตอรม์ ีศกั ย์บวก)

14 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพ้ืนฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งท่ี 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ชอ่ื เร่อื ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ช่วั โมง 2) การทดสอบไดโอดดว้ ยมัลติมิเตอรแ์ บบดจิ ิตอล ขน้ั ตอนการวัด ตัง้ ย่านวัดไดโอด โดยวดั ข้ัวทง้ั สองของไดโอดดว้ ยไบอสั ตรง คอื ใหข้ ว้ั ไฟลบ (มเิ ตอรด์ จิ ิตอล ข้ัว ไฟลบจะออกจากขั้วลบของมิเตอร์) ของมิเตอร์ต่อกับแคโถด และขั้วไฟบวกของมิเตอร์ต่อกับขาอาโนด มิเตอร์จะ แสดงค่าแรงดันตกคร่อมรอยตอ่ ของไดโอด (แรงดันคัทอิน) โดยแสดงค่าแรงดัน 0.6 กรณีเป็นไดโอดชนิดซิลิกอน และแสดงค่า 0.2 กรณเี ป็นไดโอดชนดิ เยอรมนั เนียม ภาพท่ี 1-12 แสดงการวดั และทดสอบไดโอดดว้ ยมลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบดิจิตอล การเสียของไดโอด ถ้าผลการวัดและทดสอบไดโอด ไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่แสดงให้เห็นว่า ไดโอด อยู่ในสภาพปกติ แสดงว่า ไดโอด อยู่ในสภาพชำรุดหรือไม่สามารถใช้งานได้ ดังนั้น การเสียของไดโอด มี 3 ลักษณะ คือ (1) ไดโอดขาด (Open) หมายถึง รอยต่อระหว่างสารก่ึงตัวนำชนดิ พีกับสารกึ่งตัวนำชนิดเอ็น เปิด ออกจากกัน ทำให้ไดโอดไมส่ ามารถนำกระแสได้ ทั้ง กรณีไบอสั ตรงและไบอัสกลับ โดยผลการวดั ด้วยมัลติมิเตอร์ แบบอนาลอ็ ก คอื มัลติมิเตอร์ จะแสดง ค่าความต้านทานสูง หรอื เขม็ มเิ ตอร์ ไม่ข้ึนเลย ทง้ั 2 คร้ัง

15 ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ช่อื หนว่ ย ไดโอด ช่อื เรอ่ื ง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง (2) ไดโอดลัดวงจรหรอื ช็อต (Short) หมายถึง รอยต่อระหว่างสารกึ่งตัวนำชนิดพีกับสารกึ่งตัวนำ ชนิดเอ็น เกิดการพงั พลายเขา้ หากนั ไดโอดจะนำกระแส ทั้ง กรณีไบอสั ตรงและไบอสั กลับ โดยผลการวัดด้วยมัลติ มิเตอรแ์ บบอนาลอ็ ก คอื มลั ตมิ เิ ตอร์ จะแสดง คา่ ความต้านทานตำ่ หรอื เข็มมเิ ตอร์ ขน้ึ ทัง้ 2 ครัง้ (3) ไดโอดรว่ั ไหล (Leakage) หมายถึง การวัดไดโอดในลักษณะไบอัสกลบั ซ่งึ ใช้ค่าแรงดนั จากโอห์ม มิเตอร์ที่มีคา่ แรงดนั ตำ่ กวา่ แรงดนั พังทลายของไดโอด จะทำใหม้ ีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น โดยผลการวดั ดว้ ยมัลตมิ เิ ตอร์ แบบอนาลอ็ ก คอื กรณไี ดโอดเปน็ ชนิดเยอรมนั เนียม จะแสดงคา่ ความต้านทานประมาณ 400-500 k ทั้งนี้ จะมี กระแสร่ัวไหลมากกว่าไดโอดชนิดซิลกิ อน ส่วนกรณีไดโอดเปน็ ชนดิ ซิลกิ อน จะแสดงคา่ ความต้านทานเป็นอนันต์ ( อ่านวา่ อนิ ฟินิตี้) หรือ เข็มมิเตอร์ไมก่ ระดิก 1.7 วงจรใชง้ านของไดโอด 1) วงจรเรก็ ติฟายเออร์ (Rectifier Circuit) คือ วงจรเรยี งกระแสไฟฟา้ เป็นวงจรแปลงจากไฟฟา้ กระแสสลับเป็นไฟฟา้ กระแสตรง โดยมไี ดโอด เป็นอปุ กรณท์ ่ที ำหน้าทหี่ ลกั ซง่ึ ยอมใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านทางเดยี ว สามารถแบง่ ออกได้ 3 แบบ คอื (1) วงจรเรียงกระแสไฟฟ้าแบบครงึ่ คล่ืน (Half wave Rectifier) (2) วงจรเรยี งกระแสไฟฟ้าแบบเต็มคลนื่ (Full wave Rectifier) (3) วงจรเรยี งกระแสไฟฟ้าแบบเต็มคลืน่ แบบบริดจ์ (Bridge Rectifier) วงจรเรยี งกระแสไฟฟ้าแบบครงึ่ คล่นื D R ภาพท่ี 1-13 แสดงวงจรเรยี งกระแสไฟฟา้ แบบครึง่ คลนื่

16 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ช่อื วิชา งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 1-2 ช่อื หนว่ ย ไดโอด ชอื่ เร่อื ง : ไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง เวลา 4 ชัว่ โมง การทำงาน ครึ่งไซเกิล้ แรก เมื่อขั้วบนของขดเซคัน่ ดารีได้รบั เฟสบวก ส่วนขั้วล่างได้รับเฟสลบ ทำให้ไดโอด ได้รับไบอัสตรง กระแสไฟฟา้ สามารถไหลผ่านไปได้ เกิดแรงดนั ตกคร่อมทีต่ ัวต้านทาน สง่ ผลให้มสี ัญญาณปรากฏ ทางดา้ นเอาทพ์ ุต คร่งึ ไซเก้ิลหลัง เมอ่ื ขว้ั บนของขดเซคั่นดารีได้รับเฟสลบ สว่ นขั้วล่างไดร้ บั เฟสบวก ทำให้ไดโอด ได้รับไบอสั กลับ กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลผา่ นไปได้ ไม่มีแรงดนั ตกครอ่ มทตี่ วั ตา้ นทาน ทำใหไ้ มม่ สี ัญญาณปรากฏ ทางด้านเอาทพ์ ุต การทำงานของวงจรจะทำงานสลับไปสลบั มา ทำให้สญั ญาณที่ปรากฏทางด้านเอาทพ์ ุตมเี พียง คร่งึ เดยี ว วงจรเรียงกระแสไฟฟ้าแบบเตม็ คล่นื ลักษณะของวงจร จะต้องใช้หมอ้ แปลงแบบมีแท็ปกลางหรอื เซ็นเตอรแ์ ท็ป D1 D2 R ภาพที่ 1-14 แสดงวงจรฟลู เวฟเร็กติฟายเออร์ การทำงาน ครึ่งไซเกิ้ลแรก เมื่อขั้วบนของขดเซคั่นดารีได้รับเฟสบวก ขั้วล่างได้รับเฟสลบ ทำให้ไดโอด D1 ได้รับไบอัสตรง กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผา่ นได้ ส่วนไดโอด D2 ได้รับไบอัสกลับ ไม่สามารถนำกระแส กระแสจะ ไหลผ่านจากขั้วบนของหม้อแปลง ผ่านไดโอด D1 ผ่านตวั ต้านทาน ครบวงจรทเี่ ซน็ เตอรแ์ ท็ป เกดิ แรงดนั ตกคร่อมท่ี ตวั ตา้ นทาน สง่ ผลใหม้ ีสญั ญาณปรากฏทางด้านเอาท์พุต

17 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ที่ 1-2 ช่ือหน่วย ไดโอด ชอื่ เรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชั่วโมง ครง่ึ ไซเกลิ้ หลงั เม่ือขั้วบนของขดเซค่นั ดารีไดร้ บั เฟสลบ ขั้วลา่ งไดร้ บั เฟสบวก จะทำใหไ้ ดโอด D2 ได้รับไบอสั ตรง กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผา่ นได้ สว่ นไดโอด D1 ไดร้ ับไบอสั กลบั กระแสไม่สามารถผา่ นได้ กระแส จะไหลผ่านจากขัว้ ลา่ งของหม้อแปลง ผา่ นไดโอด D2 ผา่ นตวั ต้านทาน ครบวงจรที่แทบ็ กลางหรอื เซน็ เตอร์แทป็ เกดิ แรงดนั ตกคร่อมที่ตวั ตา้ นทาน ส่งผลให้มสี ญั ญาณปรากฏทางด้านเอาทพ์ ุต การทำงานของวงจรเรียงกระแสไฟฟ้าแบบเต็มคล่ืน จะมีไดโอด จำนวน 2 ตัว สลับกันทำงาน ไปมา ตวั ละครงึ่ ไซเกล้ิ ทำใหม้ สี ญั ญาณ ปรากฏทางด้านเอาท์พุตตลอดชว่ ง วงจรเรยี งกระแสไฟฟ้าแบบเตม็ คลนื่ แบบบรดิ จ์ วงจรเรียงกระแสไฟฟา้ แบบเตม็ คลื่นแบบบริดจ์ จะใชไ้ ดโอด จำนวน 4 ตัว ซงึ่ จะสลบั กันทำงาน คร่งึ ไซเกิ้ลละ 2 ตัว D1 D4 D3 D2 R ภาพท่ี 1-15 แสดงวงจรบริดจ์เรก็ ติฟายเออร์ การทำงาน ครึ่งไซเกิ้ลแรก เมื่อข้ัวบนของขดเซค่ันดารีได้รบั เฟสบวก ส่วนขั้วล่างได้รับเฟสลบ ทำให้ไดโอด D1 และ D3 ได้รบั ไบอสั ตรง กระแสไฟฟา้ สามารถไหลผา่ นได้ ส่วนไดโอด D2 และ D4 ได้รบั ไบอัสกลับ ไมส่ ามารถ นำกระแส กระแสจะไหลผา่ นจากขว้ั บนของหมอ้ แปลง ผา่ นไดโอด D1 ผ่านตัวต้านทาน ผ่านไดโอด D4 ครบวงจรท่ี ขั้วล่างของหมอ้ แปลง เกดิ แรงดนั ตกคร่อมท่ตี ัวตา้ นทาน ส่งผลให้มีสัญญาณปรากฏทางดา้ นเอาท์พตุ

18 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพ้ืนฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ท่ี 1-2 ช่อื หน่วย ไดโอด ช่อื เรอ่ื ง : ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ชว่ั โมง ครึ่งไซเก้ลิ หลงั เม่ือขัว้ บนของขดเซคน่ั ดารไี ด้รบั เฟสลบ สว่ นขวั้ ลา่ งไดร้ ับเฟสบวก ทำให้ไดโอด D2 และ D4 ไดร้ ับไบอสั ตรง กระแสไฟฟา้ สามารถไหลผา่ นได้ สว่ นไดโอด D1 และ D3 ได้รับไบอัสกลับ ไม่สามารถ นำกระแส กระแสจะไหลผ่านจากขว้ั ลา่ งของหมอ้ แปลง ผา่ นไดโอด D4 ผ่านตัวตา้ นทาน ผ่านไดโอด D2 ครบวงจร ทข่ี ัว้ บนของหมอ้ แปลง เกิดแรงดนั ตกครอ่ มท่ีตัวต้านทาน ส่งผลใหม้ ีสัญญาณปรากฏทางดา้ นเอาท์พุต การทำงานของวงจรจะทำงานสลบั ไปสลบั มา ทำให้มสี ญั ญาณ ปรากฏทางดา้ นเอาทพ์ ตุ ตลอด สญั ญาณท่ีออกมาทางด้านเอาทพ์ ตุ ของวงจรเร็กตฟิ ายเออร์ทกี่ ลา่ วมา เปน็ สัญญาณไฟฟ้ากระแส ตรงที่ยังไม่เรยี บ การนำแรงดันไฟฟา้ กระแสตรงไปใช้งานนั้น จะต้องเป็นแรงดันทีม่ ีสญั ญาณที่เรียบจริง ๆ ดังน้ัน สามารถทำให้สญั ญาณเรยี บได้โดยใชต้ ัวเก็บประจุ ซ่งึ ทำหน้าทีเ่ ป็นตัวกรองสัญญาณ (Filter) เรยี กตัวเกบ็ ประจุน้ีว่า ซ-ี ฟลิ เตอร์ (C-Filter) ภาพท่ี 1-16 แสดงรูปคลืน่ เอาทพ์ ุตของวงจรเร็กตฟิ ายเออรแ์ บบครึ่งคล่นื เมอ่ื ตอ่ ซี-ฟิลเตอร์ ภาพท่ี 1-17 แสดงรปู คล่นื เอาทพ์ ตุ ของวงจรเร็กติฟายเออร์แบบเตม็ คลื่น เมื่อตอ่ ซี-ฟิลเตอร์

19 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ที่ 1-2 ชอ่ื หน่วย ไดโอด ชื่อเร่ือง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ช่วั โมง การทำงานของวงจรเรก็ ติฟายเออร์ เม่อื ต่อตัวเกบ็ ประจุ ไซเกิ้ลแรก ช่วงที่เกดิ แรงดันตกคร่อมที่ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุจะทำการเก็บประจุ (Charge) ไซเก้ิลหลัง ตัวเก็บประจจุ ะคายประจุ (Discharge) ตวั เก็บประจุท่ีใชใ้ นวงจรฟิลเตอร์ เปน็ ตวั เก็บประจุที่ค่าความจุ มาก ทำใหใ้ ช้เวลาในการคายประจุนาน ยงั ไม่ทนั จะคายหมด คร่งึ ไซเกิล้ บวกใหมเ่ ขา้ มาอีก วงจรเร็กตฟิ ายเออร์แบบบรดิ จ์เปน็ วงจรเร็กตฟิ ายเออรท์ น่ี ยิ มใช้กันมาก จงึ มีการผลติ ไดโอดแบบ บริดจข์ ้นึ มาใช้ เป็นไดโอดสำเรจ็ รปู ทม่ี โี ครงสรา้ งประกอบด้วยไดโอด 4 ตวั ต่อแบบบรดิ จ์ ทุกประการ และถ้าเป็น วงจรเร็กติฟายเออรท์ ีใ่ ช้กบั ไฟ 3 เฟส กจ็ ะเพ่ิมไดโอดอีก 2 ตัว กลายเปน็ ไดโอดบริดจ์ 5 ขา AC AC AC AC AC ++ + AC AC สัญลกั ษณไ์ ดโอดบรดิ จ์ 3 เฟส สญั ลกั ษณไ์ ดโอดบริดจซ์ ิงเกล้ิ เฟส ภาพท่ี 1-18 แสดงสญั ลักษณ์ของไดโอดบรดิ จ์

20 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครงั้ ท่ี 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ชื่อเรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ชัว่ โมง D4 D1 C1 + +DC R1 0 D3 D2 C2 + R2 -DC ภาพท่ี 1-19 แสดงวงจรเรก็ ติฟายเออรแ์ บบเตม็ บรดิ จท์ ่ตี อ้ งการแหล่งจ่าย 2 ชดุ 2) วงจรทวแี รงดัน (Voltage Multiplier Circuit) วงจรทวแี รงดัน เปน็ วงจรทีใ่ ชไ้ ดโอดควบคกู่ บั ตวั เกบ็ ประจุ โดยใหต้ วั เกบ็ ประจทุ ำหนา้ ทเี่ กบ็ และคายประจใุ นแตล่ ะเฟสของสัญญาณกระแสสลบั ทเ่ี ข้ามา และให้แรงดนั เอาทพ์ ุตเป็นแรงดนั ท่เี อาผลบวกของแต่ ละเฟสมารวมกัน วงจรทวีแรงดนั 2 เท่า แบบฮาร์ฟเวฟ C1 D2 + + + RL D1 C2 ภาพที่ 1-20 แสดงวงจรทวีแรงดัน 2 เทา่ แบบฮารฟ์ เวฟ

21 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครง้ั ท่ี 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ช่อื เรือ่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ช่ัวโมง การทำงาน คร่งึ ไซเกิล้ แรก ข้วั บนของหม้อแปลงไดร้ ับเฟสบวก ขว้ั ล่างได้รับเฟสลบ จะมีกระแสไหลผ่าน C1 และ D1 โดย C1 จะทำการเก็บประจุจนมรี ะดบั แรงดนั เทา่ กับแหลง่ จ่าย ครึ่งไซเก้ิลหลัง ขั้วบนไดร้ ับเฟสลบ ขวั้ ลา่ งได้รับเฟสบวก กระแสจะไหลผา่ น C1 D2 และ C2 โดย C2 จะทำการเกบ็ ประจุจนมีระดับแรงดนั เท่ากบั แหลง่ จา่ ย ในขณะเดยี วกนั C1 ก็จะทำการคายประจไุ ปในทศิ ทาง เดยี วกับการไหลของกระแส ทำใหป้ ระจทุ ี่เข้าชาร์จ C2 เทา่ กบั แรงดนั ทางดา้ นอนิ พุตบวกกบั แรงดันที่ประจไุ ว้ท่ี C1 จงึ ทำใหเ้ กิดแรงดันออกมา 2 เท่า ของแรงดนั อนิ พุต เมื่อต่อโหลดทางด้านเอาท์พุต C2 จะจ่ายแรงดนั ไฟฟ้าที่เก็บไว้ให้กับโหลด แรงดันไฟฟ้าทีจ่ า่ ย ออกนั้นเป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง และถ้าหากต่อตัวเก็บประจทุ ี่มีค่าความจุมาก จะทำให้แรงดนั ท่ีออกมาเรียบ มากขนึ้ วงจรทวีแรงดัน 2 เท่า แบบฟลู เวฟ D1 C1 + + C2 + RL D2 ภาพที่ 1-21 แสดงวงจรทวแี รงดนั 2 เทา่ แบบฟูลเวฟ ข้อดี ของวงจรทวีแรงดัน 2 เท่า แบบฟลู เวฟ คือ เป็นวงจรทีส่ ามารถจา่ ยกระแสไดม้ ากกว่า แบบฮารฟ์ เวฟ เนอ่ื งจากสามารถเพ่ิมแรงดนั ตลอดไซเก้ิล โดยใช้ตวั เก็บประจุ 2 ตวั ใหแ้ ต่ละตวั รับแรงดันตัวละครึ่ง ไซเกล้ิ

22 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชื่อวชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้งั ท่ี 1-2 ชือ่ หนว่ ย ไดโอด ชือ่ เรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ชัว่ โมง การทำงาน ครึ่งไซเกิ้ลแรก เมอ่ื ขวั้ บนได้รับเฟสบวก ข้วั ล่างได้รบั เฟสลบ ไดโอด D1 จะทำงาน มกี ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านจากขัว้ บนของหม้อแปลง ผ่าน D1 ผา่ น C1 ครบวงจร ทำให้ C1 เกบ็ ประจจุ นเต็ม มีระดบั แรงดันเท่ากบั แรงดนั อนิ พุต ครึง่ ไซเกิล้ หลงั ข้ัวบนได้รบั เฟสลบ ขั้วลา่ งไดร้ ับเฟสบวก ทำใหไ้ ดโอด D2 ทำงาน มกี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นจากขั้วล่างของหมอ้ แปลง ผา่ น C2 ผ่าน D2 ครบวงจร ทำให้ C2 เกบ็ ประจุจนเต็ม มรี ะดับแรงดันเท่ากบั แรงดนั อินพุต เมื่อนำโหลดมาตอ่ C1 และ C2 จะทำการคายประจใุ หก้ บั โหลด ทำใหแ้ รงดันทีอ่ อกมาทางด้าน เอาทพ์ ตุ มีค่าเทา่ กับ 2 เท่า ซง่ึ เกิดจากแรงดันตกครอ่ ม C1 กับ C2 วงจรทวีแรงดัน 3 เทา่ แบบฮารฟ์ เวฟ RS C1 C2 + + + D1 D2 C3 D3 RL + ภาพที่ 1-22 แสดงวงจรทวีแรงดัน 3 เทา่ แบบฮารฟ์ เวฟ

23 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหสั วิชา 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ท่ี 1-2 ช่อื หน่วย ไดโอด ช่อื เรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชวั่ โมง วงจรทวีแรงดัน 3 เทา่ แบบฟูลเวฟ RS + D1 + C1 D2 C2 + C3 + RL D3 ภาพที่ 1-23 แสดงวงจรทวีแรงดนั 3 เทา่ แบบฟลู เวฟ วงจรทวีแรงดัน 4 เท่า แบบฮารฟ์ เวฟ C1 C2 + RS + + D1 D2 D4 D3 RL ++ C3 C4 ภาพท่ี 1-24 แสดงวงจรทวีแรงดนั 4 เทา่ แบบฮาร์ฟเวฟ

24 ใบความรู้ หน่วยท่ี 1 รหัสวิชา 30105-0003 ช่ือวิชา งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ช่ือหน่วย ไดโอด ชอื่ เรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง D1 + RS D2 C4 + C1 + D3 C3 + RL + C2 D4 ภาพที่ 1-25 แสดงวงจรทวีแรงดัน 4 เทา่ แบบฟูลเวฟ 3) วงจรคลปิ เปอร์ (Clipper Circuit) วงจรคลิปเปอร์ คอื วงจรทปี่ ระกอบด้วยอุปกรณห์ ลกั 2 ตัว คอื ไดโอดกบั ตัวต้านทาน และอาจ จะมสี ญั ญาณความถ่แี ละแรงดันไฟกระแสตรงเกยี่ วข้องด้วย โดยรปู ร่างสัญญาณทางด้านเอาทพ์ ตุ จะถกู ขลิบ (Clip) ระดบั สัญญาณจะขึ้นอยู่กบั ค่าแมกนจี ดู ของแบตเตอรหี่ รอื ระดับแรงดนั ไฟกระแสตรงและคุณสมบัตขิ องไดโอด วงจรคลปิ เปอร์แบบอนุกรม DR DR ภาพที่ 1-26 แสดงวงจรคลิปเปอรแ์ บบอนุกรม

25 ใบความรู้ หนว่ ยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ช่อื วิชา งานพื้นฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ช่อื เรื่อง : ไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชั่วโมง วงจรคลปิ เปอร์แบบขนาน RD RD ภาพท่ี 1-27 แสดงวงจรคลิปเปอรแ์ บบขนาน วงจรคลปิ เปอร์ไบอสั ขนาน RD E RD 0 E ภาพที่ 1-28 แสดงวงจรคลิปเปอร์ไบอสั ขนาน

26 ใบความรู้ หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้งั ท่ี 1-2 ชอื่ หน่วย ไดโอด ชื่อเรือ่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ชว่ั โมง 4) วงจรแคลมเปอร์ (Clamper Circuit) วงจรแคลมเปอร์ คอื วงจรทป่ี ระกอบด้วยไดโอด ตวั เก็บประจุ และตัวต้านทาน อาจมแี หลง่ จ่าย ไฟตรงเกีย่ วข้องด้วย โดยแมกนีจดู ของสญั ญาณทผ่ี า่ น R และ C จะต้องเป็นไปตามค่าคงท่ี (Time Constant : t ) ซึ่งสามารถหาได้จากสตู ร t = RC การประจขุ อง C จะใชเ้ วลาถึง 5 เท่า ของคา่ เวลาคงท่ี จึงจะประจเุ ตม็ 100% V 0 0 C RD -V -2V V 2V 0 C RD -V 0 V C RD 0 0 E 2V -V ภาพท่ี 1-29 แสดงวงจรแคลมเปอร์

27 ใบความรู้ หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชื่อวิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ท่ี 1-2 ชื่อหน่วย ไดโอด ชอื่ เร่ือง : ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ชว่ั โมง บทสรุป ไดโอดเป็นอุปกรณ์สารกึง่ ตัวนำทไ่ี ดจ้ ากการนำสารกงึ่ ตัวนำชนิดพแี ละสารก่ึงตัวนำชนิดพีมาต่อชนกัน ไดโอด มีขาตอ่ ใชง้ าน 2 ขา คอื ขาแอโนดเป็นขาท่ีตอ่ กับสารกึ่งตัวนำชนิดพกี บั ขาแคโถดเป็นขาทต่ี ่อกบั สารกง่ึ ตวั นำ ชนดิ เอ็น วธิ กี ารไบอัสไดโอด มี 2 วธิ ี คือ การไบอสั ตรงเปน็ วธิ ีที่ทำให้ไดโอดนำกระแส และการไบอัสกลบั เปน็ วธิ กี าร ทไ่ี ดโอดจะไมน่ ำกระแส ไม่มีกระแสไฟฟา้ ไหลผ่านในวงจรแตจ่ ะมเี พียงกระแสร่ัวไหล การวดั และตรวจสอบไดโอด สามารถทำได้โดยการใช้โอห์มมิเตอร์ ทง้ั แบบอนาลอ็ กและดจิ ติ อล โดยตั้ง ย่านวัด Rx10 วัดค่าความต้านทานของไดโอด ถ้าหากค่าความต้านทานที่วัดได้ มีความต้านทานต่ำหรือเข็มมิเตอร์ ข้นึ 1 ครั้ง และ มีความตา้ นทานสูงหรอื เขม็ มิเตอร์ไมข่ ้ึน 1 ครงั้ แสดงวา่ ไดโอดอยู่ในสภาพปกติ การเสยี ของไดโอด มี 3 กรณี คอื ลดั วงจรหรือชอ็ ต คา่ ความตา้ นทานของไดโอดจะต่ำหรือเข็มมิเตอร์ จะขึ้นท้ัง 2 ครง้ั , ขาด คา่ ความต้านทานจะสงู หรือเข็มมิเตอร์ไม่ข้ึนทงั้ 2 ครง้ั และถา้ หากค่าความต้านทานต่ำหรือ เข็มมิเตอรข์ ้ึน 1 ครัง้ และค่าความต้านทานค่อนข้างสูงหรือเขม็ มิเตอร์ขนึ้ เล็กน้อย แสดงว่า ไดโอดรั่ว การนำไดโอดไปใชง้ าน สามารถทำได้หลากหลายวงจร อาทิเช่น 1) วงจรเรก็ ติฟายเออรห์ รอื วงจรเรียงกระแส 2) วงจรมลั ติพลายเออรห์ รือวงจรทวแี รงดัน 3) วงจรคลปิ เปอร์หรือวงจรตดั สัญญาณ 4) วงจรแคลมเปอร์หรือวงจรปรับระดับสัญญาณ

28 แบบฝกึ หดั หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชอื่ หน่วย ไดโอด ชือ่ เรือ่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ช่ัวโมง เวลา 30 นาที ตอนที่ 1 จงทำเคร่ืองหมายกากบาท () ลงบนตัวเลอื กทีถ่ กู ต้อง 1. ไดโอดแบง่ ตามลักษณะกรรมวิธที ีผ่ ลิตมกี ่ชี นิด ก. 2 ชนดิ ข. 3 ชนิด ค. 4 ชนดิ ง. 5 ชนิด จ. 6 ชนิด 2. ขาแคโถดของไดโอดต่อกบั สารใด ก. สารเซรามคิ ข. สารเยอรมันเนย่ี ม ค. สารกง่ึ ตัวนำชนดิ พี ง. สารก่ึงตวั นำบรสิ ทุ ธ์ิ จ. สารกง่ึ ตัวนำชนิดเอ็น 3. ไดโอดมีขาใชง้ านกี่ขา ก. 2 ขา ข. 3 ขา ค. 4 ขา ง. 5 ขา จ. 6 ขา 4. ปลายลกู ศรของสญั ลกั ษณ์ไดโอดคือขาใด ก. B ข. C ค. D ง. E จ. K 5. การไบอสั ไดโอด สามารถทำได้กีว่ ธิ ี ก. 2 วิธี ข. 3 วิธี ค. 4 วธิ ี ง. 5 วิธี จ. 6 วิธี

29 แบบฝึกหัด หนว่ ยที่ 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ท่ี 1-2 ชือ่ หนว่ ย ไดโอด ช่ือเร่ือง : ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 30 นาที 6. วงจรฮาร์ฟเวฟเรก็ ติฟายเออร์มีไดโอดกี่ตัว ก. 1 ตวั ข. 2 ตวั ข. 3 ตัว ค. 4 ตวั ง. 5 ตัว 7. สญั ญาณเอาท์พตุ ของวงจรบริดจ์เร็กตฟิ ายเออร์จะเหมือนกับวงจรใด ก. คลิปเปอร์ ข. แคลมเปอร์ ค. มัลตพิ ลายเออร์ ง. ฟูลเวฟเร็กตฟิ ายเออร์ จ. ฮารฟ์ เวฟเร็กติฟายเออร์ 8. เมอ่ื เยอรมันเนย่ี มไดโอดนำกระแส จะเกดิ ความตา่ งศักยก์ โ่ี วลต์ ก. 0.1 V ข. 0.3 V ค. 0.5 V ง. 0.7 V จ. 0.9 V 9. การวดั ทดสอบไดโอด จำนวน 2 คร้ัง ปรากฏว่า เขม็ มิเตอร์ไม่ข้ึนเลย แสดงวา่ ไดโอดอยใู่ นสภาพใด ก. ร่วั ข. ยืด ค. ขาด ง. ปกติ จ. ชอ็ ต 10. วงจรคลปิ เปอร์ คอื วงจรใด ก. วงจรทวีแรงดนั ข. วงจรตดั สัญญาณ ค. วงจรเรยี งกระแส ง. วงจรรกั ษาระดบั แรงดนั จ. วงจรปรับระดบั สญั ญาณ

30 แบบฝกึ หัด หนว่ ยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ช่อื วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด ชื่อเรอื่ ง : ไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 30 นาที ตอนที่ 2 จงเตมิ คำลงในช่องว่างให้สมบรู ณ์ 1. การไบอสั ไดโอด มี ............ วิธี คือ ...................................................................................................................... 2. ไดโอดมรี อยตอ่ …………………. รอยตอ่ 3. ไดโอด มี ……. ขา คอื ……………………………………………..……………………………………………………….………………….. 4. ถา้ ตอ้ งการให้ไดโอดนำกระแส จะต้องตอ่ ไบอสั แบบ .....…………………………………………..………………………………. 5. ถา้ จ่ายแรงดันมากกว่า 0.5 โวลต์ ใหก้ บั ซิลกิ อนไดโอด ขณะไบอัสตรง จะทำให้ไดโอด ......................................... 6. ไดโอดชนิดซิลกิ อน ขณะนำกระแส จะเกิดความตา่ งศกั ย์ ……………………. โวลต์ 7. จดุ ทท่ี ำใหไ้ ดโอดพงั เสยี หาย เรยี กว่า ………………………………………………………………. 8. ไดโอด มลี กั ษณะการเสีย ................ กรณี คือ ...................................................................................................... 9. วงจรเรก็ ตฟิ ายเออร์ ทท่ี ำใหส้ ัญญาณเอาทพ์ ตุ ออกมาเต็มคล่นื คือ ...................................................................... 10. อปุ กรณ์ในวงจรแคลมเปอร์ ประกอบดว้ ย ..........................................................................................................

31 เฉลยแบบฝึกหดั หนว่ ยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วชิ า งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชอ่ื หนว่ ย ไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง ชอ่ื เรือ่ ง : ไดโอด เวลา 30 นาที เฉลยคำตอบ ตอนที่ 1 ข้อที่ ข้อที่ถูกตอ้ ง 1ก 2จ 3ก 4จ 5ก 6ก 7ง 8ข 9ค 10 ข ขอ้ ละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน เฉลยคำตอบ ตอนท่ี 2 1. 2 วธิ ี คือ การไบอัสตรง กบั การไบอสั กลบั 2. 1 รอยต่อ 3. 2 ขา คอื อาโนด กับ แคโถด 4. ไบอสั ตรงหรอื ฟอร์เวิรด์ ไบอสั 5. ไม่นำกระแส 6. 0.3 โวลต์ 7. เบรกดาวน์โวลเตจ (Break down Voltage) 8. 3 กรณี คือ ชอรท์ ร่ัว และ ขาด 9. ฟลู เวฟเรก็ ติฟาเออร์ กบั บริดจเ์ ร็กตฟิ ายเออร์ 10. ไดโอด ตัวต้านทาน และ ตวั เกบ็ ประจุ ข้อละ 1 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน

32 ใบงานที่ 1 หน่วยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชอ่ื วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนคร้ังที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ช่อื เร่ือง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชวั่ โมง จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 1. ประกอบวงจรไดโอดได้ถกู ตอ้ ง 2. ใชม้ ลั ตมิ ิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. วดั และทดสอบไดโอดได้ถูกต้อง เคร่ืองมือและอปุ กรณ์ จำนวน 4 ตวั 1. ไดโอด เบอร์ 1N4001 จำนวน 1 ตัว 2. ไดโอด เบอร์ 1N4007 จำนวน 1 ตัว 3. ไดโอด เบอร์ 1N4148 จำนวน 1 ตวั 4. ตวั ตา้ นทาน 22 k จำนวน 1 ตัว 5. ตัวเกบ็ ประจุ 100 uF จำนวน 1 ตัว 6. ตัวเก็บประจุ 1000 uF จำนวน 1 ตัว 7. ตวั เก็บประจุ 4700 uF จำนวน 1 เคร่อื ง 8. มลั ตมิ ิเตอร์ จำนวน 10 เสน้ 9. สายตอ่ วงจร จำนวน 1 เครื่อง 10. เพาเวอร์ซพั พลาย 0-30 V ทฤษฎีที่เกย่ี วขอ้ ง การไบอัสไดโอด เป็นการจ่ายไบอัสหรอื จัดแรงดันไฟใหก้ ับไดโอด เพื่อให้ไดโอดนำกระแสหรือหยุดนำ กระแส ซ่ึงการไบอสั ไดโอดสามารถทำได้ 2 วธิ ี คือ 1) การไบอัสตรง (Forward Bias) เป็นการจ่ายแรงดันไฟที่มีศักย์บวกให้กับขาแอโนด (A) และจ่าย แรงดันไฟท่ีมศี กั ย์ลบใหก้ ับขาแคโถด (K) 2) การไบอัสกลับ (Reverse Bias) เปน็ การจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้กับไดโอดแบบกลบั ข้วั โดยจ่ายศักยไ์ ฟ บวกใหข้ าแคโถด (K) และจ่ายศกั ย์ไฟลบให้ขาแอโนด (A) การทดสอบไดโอด สามารถวดั ดว้ ยมัลตมิ ิเตอรแ์ บบอนาล็อก โดยตัง้ ยา่ นวดั ความต้านทาน R10 ขณะ วัดความตา้ นทาน เม่อื ไบอัสตรง เข็มของมลั ตมิ เิ ตอร์ จะชท้ี ่ีค่าความตา้ นทานตำ่ ประมาณ 60-70  และสามารถวดั ด้วยมัลตมิ ิเตอรแ์ บบดจิ ิตอล โดยตง้ั ย่านวดั ไดโอด ขณะไบอัสตรง มเิ ตอรจ์ ะแสดงค่าแรงดนั ตกครอ่ มไดโอด (แรงดัน คทั อิน) ประมาณ 0.7 V ในไดโอดชนดิ ซลิ กิ อน และประมาณ 0.3 V ในไดโอดชนิดเยอรมันเนย่ี ม การเสียของไดโอด มี 3 กรณี ไดแ้ ก่ 1) ขาด (Open) หมายถงึ รอยต่อระหวา่ งสารพเี อน็ เปิดออกจากกัน ทำให้ไดโอดไม่สามารถนำกระแส ทงั้ กรณไี บอัสตรงและไบอัสกลับ (เข็มมเิ ตอรก์ ็ไม่กระดกิ ทัง้ 2 ครงั้ )

33 ใบงานท่ี 1 หน่วยที่ 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชื่อวิชา งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ชอื่ เร่ือง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ชั่วโมง 2) ลัดวงจรหรอื ชอ็ ต (Short) หมายถึง รอยตอ่ ระหว่างสารพีเอน็ เกิดการพงั พลายเขา้ หากัน ไดโอดจะ นำกระแสทง้ั กรณีไบอัสตรงและไบอสั กลบั (เข็มมเิ ตอรข์ ้นึ ทง้ั 2 ครงั้ ) 3) รั่วไหล (Leakage) หมายถงึ การวัดไดโอดในลักษณะไบอัสกลับ โดยใชค้ า่ แรงดนั จากโอหม์ มิเตอร์ ซึ่งมคี ่าแรงดันต่ำกวา่ แรงดนั พังทลายของไดโอด มีกระแสไหล ไดโอดชนิดเยอรมันเนี่ยม เมื่อถกู ไบอัสกลับจะมคี า่ ความต้านทานประมาณ 400 k - 500 k ซง่ึ มกี ระแสรั่วไหลมากกวา่ ไดโอดชนิดซิลิกอน โดยไดโอดชนิดซิลิกอน เมอ่ื ถกู ไบอสั กลับจะมคี า่ ความตา้ นทานเป็นอนันต์ (เข็มมเิ ตอรไ์ ม่กระดกิ ) ลำดับขน้ั การทดลอง 1. นำไดโอด เบอรใ์ ดเบอร์หนึ่ง จำนวน 1 ตัว เพื่อทำการวัดและทดสอบ บันทึกเบอรข์ องไดโอดลงใน ตารางบันทึกผลการทดลองที่ 1-1 รูปที่ 1-1 รปู ร่างไดโอด 2. ตั้งมัลตมิ ิเตอร์ไปที่ย่านวัด Rx10 ทำการปรับปุ่ม Zero Adj ให้เข็มของมลั ตมิ ิเตอร์อยูใ่ นตำแหน่ง ศนู ยโ์ อหม์ (0 ) เพื่อความเท่ยี งตรงของการวดั รูปท่ี 1-2 การต้ังยา่ นวดั ของมัลตมิ เิ ตอร์

34 ใบงานท่ี 1 หน่วยที่ 1 รหัสวิชา 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้ังที่ 1-2 ชือ่ หน่วย ไดโอด ชอ่ื เรอ่ื ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชว่ั โมง เวลา 4 ชัว่ โมง 3. ทำการวัดความตา้ นทานของไดโอดขณะไดร้ บั ไบอัสแบบตรง (Forward Bias) โดยใหส้ ายวดั สีแดง แตะทขี่ าแคโถด (K) และสายวดั สีดำแตะที่ขาอาโนด บนั ทึกค่าความต้านทานลงในตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-1 รูปท่ี 1-3 แสดงการวัดไดโอด ขณะไบอสั แบบตรง 4. ต้งั มัลติมิเตอร์ไปทย่ี ่านวดั Rx10k ทำการปรับปุ่ม Zero Adj ใหเ้ ข็มของมลั ตมิ เิ ตอรอ์ ยู่ในตำแหน่ง ศนู ย์โอหม์ (0 ) เพ่อื ความเทย่ี งตรงของการวัด 5. สลับสายวัดของมัลติมิเตอร์หรือสลับขาของไดโอด เพ่ือทำการวัดความต้านทานของไดโอดขณะ ไดร้ บั ไบอสั แบบกลับ (Reverse Bias) โดยใหส้ ายวัดสีดำแตะที่ขาแคโถด (K) และสายวัดสแี ดงแตะท่ีขาแอโนด (A) บันทึกคา่ ความต้านทานลงในตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-1 รูปที่ 1-4 การวดั ไดโอดขณะได้รบั ไบอัสแบบกลบั

35 ใบงานท่ี 1 หน่วยที่ 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ช่ือเรือ่ ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชั่วโมง 6. ทำการทดลองซ้ำตามข้อ 1 ถึง ขอ้ 5 จนทำการวดั ความตา้ นทานของไดโอดครบทกุ ตัว ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองที่ 1-1 ค่าความตา้ นทานของไดโอด เบอร์ของไดโอด ขณะไบอสั ตรง ขณะไบอสั กลับ สภาพของไดโอด (Forward Bias) (Reverse Bias) 7. ต่อวงจรตามรปู ที่ 1-5 โดยป้อนแรงดนั 4.5 V ทำการวดั แรงดันตกครอ่ มตัวตา้ นทาน (VR), วัดแรงดนั ตกครอ่ มไดโอด (VD) และวดั กระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านในวงจร (ID) บนั ทกึ ค่าลงในตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-2 ข้อควรระวงั การจ่ายไฟใหก้ บั วงจร ควรสงั เกตข้ัวของแหลง่ จา่ ยใหถ้ กู ต้อง + VD 1N4001 VR A K + 22 k ID A ++ รูปที่ 1-5 วงจรไดโอดขณะไบอัสตรง

36 ใบงานที่ 1 หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้งั ที่ 1-2 ช่อื หนว่ ย ไดโอด ชื่อเร่อื ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ช่ัวโมง 8. ทำการปรับคา่ แรงดนั เป็น 6 V และ 9 V ตามลำดบั แลว้ ทำการวดั แรงดนั ตกคร่อมตัวต้านทาน (VR), แรงดันตกครอ่ มไดโอด (VD) และวัดกระแสไฟฟา้ ที่ไหลผ่านในวงจร (IT) บันทกึ คา่ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 1-2 9. ต่อวงจรตามรปู ที่ 1-6 โดยปอ้ นแรงดัน 4.5 V ทำการวดั แรงดันตกคร่อมตัวตา้ นทาน (VR), แรงดัน ตกคร่อมไดโอด (VD) และวัดกระแสไฟฟ้าทีไ่ หลผ่านในวงจร (ID) บนั ทึกคา่ ลงในตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-2 VD A 1N4001 K VR ID A 22 k รปู ที่ 1-6 วงจรไดโอดขณะไบอัสกลบั 10. ปรับค่าแรงดนั เป็น 6 V และ 9 V แล้ววดั แรงดนั ตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน แรงดนั ตกครอ่ มไดโอดและ วัดกระแสไฟฟ้าทไ่ี หลผ่านในวงจร บันทกึ ค่าลงในตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 1-2 ตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-2 แรงดันตกคร่อม กระแสไฟฟ้า E=4.5V E=6V E=9V E=4.5V E=6V E=9V ลักษณะการไบอสั VR VD VR VD VR VD ID ID ID ไบอัสตรง (Forward Bias) ไบอสั กลบั (Reverse Bias)

37 ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่ือวชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งท่ี 1-2 ช่ือหนว่ ย ไดโอด ชือ่ เรือ่ ง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ช่ัวโมง 11. ต่อวงจรตามรปู ท่ี 1-7 ใชม้ ลั ตมิ เิ ตอร์วัดแรงดนั ตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บันทกึ ค่าแรงดันเอาทพ์ ุต Vo/p = ....................... Vdc 12. ใชอ้ อสซิลโลสโคป วัดสัญญาณทางเอาท์พตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน วงจรตามรปู ท่ี 1-7 บันทกึ สัญญาณทป่ี รากฏลงในตารางบันทึกผลการทดลองที่ 1-3 220 VAC 6V V D 1N4001 R 22k O/P 0V รูปท่ี 1-7 วงจรฮาร์ฟเวฟเร็กติฟายเออร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองที่ 1-3 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสญั ญาณที่ปรากฏ มคี ่าเทา่ กบั .................. โวลต์

38 ใบงานท่ี 1 หนว่ ยที่ 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชือ่ วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ชอ่ื หน่วย ไดโอด ชอื่ เรอ่ื ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง เวลา 4 ช่วั โมง 13. ตอ่ ตัวเกบ็ ประจุ ค่า 100 F/50 V ครอ่ มตัวต้านทาน ตามรูปที่ 1-8 ใชม้ ัลติมเิ ตอรว์ ัดแรงดนั ตกครอ่ มตัวตา้ นทาน บนั ทึกคา่ แรงดันเอาทพ์ ตุ Vo/p = ....................... Vdc 14. ใชอ้ อสซิลโลสโคป วดั สัญญาณทางเอาทพ์ ตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตัวต้านทาน บนั ทกึ สญั ญาณท่ปี รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-4 6 V D 1N4001 C 100 F/50V 220 VAC R 22k O/P V 0V รปู ท่ี 1-8 ต่อตวั เก็บประจุในวงจรฮาร์ฟเวฟเรก็ ติฟายเออร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองที่ 1-4 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสูง (Amplitude) ของสัญญาณทปี่ รากฏ มีคา่ เท่ากับ .................. โวลต์

39 ใบงานที่ 1 หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ช่อื วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครัง้ ที่ 1-2 ชอ่ื หนว่ ย ไดโอด ชื่อเรอื่ ง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง เวลา 4 ชั่วโมง 15. ต่อตัวเกบ็ ประจุ ค่า 1000 F/50 V ครอ่ มตวั ตา้ นทาน ตามรูปที่ 1-9 ใชม้ ัลตมิ ิเตอร์วดั แรงดัน ตกครอ่ มตัวตา้ นทาน บันทึกคา่ แรงดนั เอาท์พุต Vo/p = ....................... Vdc 16. ใช้ออสซิลโลสโคป วัดสัญญาณทางเอาทพ์ ตุ หรือวัดตกครอ่ มตัวต้านทาน บันทกึ สัญญาณทปี่ รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-5 6 V D 1N4001 C 1000 F/50V 220 VAC R 22k O/P V 0V รูปท่ี 1-9 ต่อตัวเกบ็ ประจุในวงจรฮาร์ฟเวฟเรก็ ตฟิ ายเออร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 1-5 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสัญญาณทีป่ รากฏ มีคา่ เทา่ กับ .................. โวลต์

40 ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชื่อวิชา งานพืน้ ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครงั้ ท่ี 1-2 ช่อื หน่วย ไดโอด ชื่อเรือ่ ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชัว่ โมง เวลา 4 ช่ัวโมง 17. ตอ่ ตวั เกบ็ ประจุ ค่า 4700 F/50 V ครอ่ มตวั ตา้ นทาน ตามรูปท่ี 1-10 ใช้มลั ติมเิ ตอร์วัดแรงดนั ตกคร่อมตวั ตา้ นทาน บนั ทกึ ค่าแรงดนั เอาท์พุต Vo/p = ....................... Vdc 18. ใช้ออสซิลโลสโคป วัดสัญญาณทางเอาทพ์ ตุ หรือวัดตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บันทกึ สัญญาณที่ปรากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-6 6 V D 1N4001 C 4700 F/50V 220 VAC R 22k O/P V 0V รปู ท่ี 1-10 ต่อตัวเก็บประจุในวงจรฮารฟ์ เวฟเร็กติฟายเออร์ ตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-6 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดับความสูง (Amplitude) ของสัญญาณทีป่ รากฏ มีคา่ เทา่ กบั .................. โวลต์

41 ใบงานท่ี 1 หน่วยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชือ่ วิชา งานพน้ื ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชือ่ หน่วย ไดโอด ชอ่ื เร่อื ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ช่ัวโมง 19. ตอ่ วงจรตามรปู ท่ี 1-11 ใชม้ ัลติมเิ ตอร์วดั แรงดันตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บนั ทึกคา่ แรงดันเอาทพ์ ตุ Vo/p = ....................... Vdc 20. ใชอ้ อสซลิ โลสโคป วัดสัญญาณทางเอาทพ์ ตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตัวต้านทาน บันทกึ สัญญาณที่ปรากฏ ลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลองที่ 1-7 D1 1N4001 220 VAC R = 22k O/P V D2 1N4001 รูปที่ 1-11 วงจรฟูลเวฟเรก็ ตฟิ ายเออร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองที่ 1-7 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสูง (Amplitude) ของสัญญาณท่ปี รากฏ มีคา่ เทา่ กับ .................. โวลต์

42 ใบงานที่ 1 หนว่ ยที่ 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพนื้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ สอนคร้งั ท่ี 1-2 ชื่อหนว่ ย ไดโอด ชอ่ื เรือ่ ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชวั่ โมง เวลา 4 ชัว่ โมง 21. ต่อตวั เกบ็ ประจุ คา่ 100 F/50 V คร่อมตัวต้านทาน ตามรปู ที่ 1-12 ใชม้ ัลติมเิ ตอร์วัดแรงดัน ตกครอ่ มตัวต้านทาน บันทกึ คา่ แรงดันเอาท์พตุ Vo/p = ....................... Vdc 22. ใชอ้ อสซลิ โลสโคป วัดสญั ญาณทางเอาท์พตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตัวตา้ นทาน บันทึกสัญญาณทป่ี รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-8 D1 1N4001 220 VAC R = 22k O/P V D2 1N4001 C 100 F/50V รปู ท่ี 1-12 ตอ่ ตวั เกบ็ ประจุในวงจรฟูลเวฟเร็กติฟายเออร์ ตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 1-8 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสญั ญาณทป่ี รากฏ มคี า่ เท่ากบั .................. โวลต์

43 ใบงานที่ 1 หนว่ ยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ช่อื วชิ า งานพื้นฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชอ่ื หน่วย ไดโอด ชอ่ื เรอื่ ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ชัว่ โมง 23. ตอ่ ตัวเกบ็ ประจุ ค่า 1000 F/50 V คร่อมตวั ตา้ นทาน ตามรปู ที่ 1-13 ใช้มัลตมิ ิเตอรว์ ัดแรงดนั ตกครอ่ มตัวตา้ นทาน บนั ทกึ ค่าแรงดันเอาท์พุต Vo/p = ....................... Vdc 24. ใชอ้ อสซลิ โลสโคป วัดสญั ญาณทางเอาทพ์ ตุ หรือวดั ตกครอ่ มตัวตา้ นทาน บนั ทึกสญั ญาณท่ปี รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-9 D1 1N4001 220 VAC R = 22k O/P V D2 1N4001 C 1000 F/50V รูปท่ี 1-13 ตอ่ ตวั เกบ็ ประจุในวงจรฟูลเวฟเร็กตฟิ ายเออร์ ตารางบนั ทึกผลการทดลองที่ 1-9 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดับความสูง (Amplitude) ของสญั ญาณทป่ี รากฏ มคี า่ เทา่ กบั .................. โวลต์

44 ใบงานที่ 1 หนว่ ยท่ี 1 รหัสวชิ า 30105-0003 ชอ่ื วชิ า งานพน้ื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครั้งที่ 1-2 ช่อื หน่วย ไดโอด ชอ่ื เรอื่ ง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ชั่วโมง เวลา 4 ชัว่ โมง 25. ต่อตวั เกบ็ ประจุ คา่ 4700 F/50 V ครอ่ มตวั ตา้ นทาน ตามรปู ท่ี 1-14 ใชม้ ลั ตมิ ิเตอรว์ ัดแรงดนั ตกครอ่ มตวั ต้านทาน บันทึกคา่ แรงดันเอาทพ์ ุต Vo/p = ....................... Vdc 26. ใชอ้ อสซลิ โลสโคป วดั สญั ญาณทางเอาทพ์ ตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บนั ทกึ สญั ญาณท่ปี รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองท่ี 1-10 D1 1N4001 220 VAC R = 22k O/P V D2 1N4001 C 4700 F/50V รูปที่ 1-14 ตอ่ ตวั เก็บประจุในวงจรฟูลเวฟเร็กติฟายเออร์ ตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 1-10 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสัญญาณทป่ี รากฏ มคี า่ เท่ากบั .................. โวลต์

45 ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 1 รหสั วชิ า 30105-0003 ชอ่ื วชิ า งานพืน้ ฐานวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ สอนครั้งที่ 1-2 ชอื่ หนว่ ย ไดโอด ชื่อเร่อื ง : การวดั และทดสอบไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชวั่ โมง 27. ต่อวงจรตามรปู ที่ 1-15 ใช้มัลตมิ เิ ตอร์วดั แรงดันตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บนั ทึกค่าแรงดนั เอาทพ์ ตุ Vo/p = ....................... Vdc 28. ใช้ออสซิลโลสโคป วดั สัญญาณทางเอาท์พตุ หรือวัดตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บันทึกสญั ญาณที่ปรากฏ ลงในตารางบนั ทกึ ผลการทดลองท่ี 1-11 1N4001 x 4 6V D1 D4 220 VAC D3 D2 O/P V 0V R 22k รูปที่ 1-15 วงจรบริดจเ์ รก็ ติฟายเออร์ ตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 1-11 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสัญญาณท่ปี รากฏ มคี า่ เทา่ กบั .................. โวลต์

46 ใบงานที่ 1 หน่วยท่ี 1 รหสั วิชา 30105-0003 ชอื่ วิชา งานพ้นื ฐานวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สอนครง้ั ท่ี 1-2 ชือ่ หนว่ ย ไดโอด ชอ่ื เรือ่ ง : การวัดและทดสอบไดโอด จำนวน 10 ช่วั โมง เวลา 4 ชว่ั โมง 29. ต่อตัวเกบ็ ประจุ ค่า 100 F/50 V ครอ่ มตัวตา้ นทาน ตามรปู ท่ี 1-16 ใชม้ ลั ตมิ เิ ตอร์วดั แรงดัน ตกคร่อมตัวต้านทาน บนั ทึกคา่ แรงดันเอาท์พุต Vo/p = ....................... Vdc 30. ใชอ้ อสซลิ โลสโคป วัดสญั ญาณทางเอาทพ์ ตุ หรอื วดั ตกครอ่ มตวั ตา้ นทาน บนั ทกึ สญั ญาณทป่ี รากฏ ลงในตารางบันทกึ ผลการทดลองที่ 1-12 1N4001 x 4 6V D4 D1 220 VAC D3 D2 O/P V 0V R 22k C 100 F/50 V รปู ที่ 1-16 ต่อตวั เก็บประจใุ นวงจรบริดจเ์ รก็ ตฟิ ายเออร์ ตารางบนั ทึกผลการทดลองท่ี 1-12 Volt/DIV = ……………. Time/DIV = ……………. ระดบั ความสงู (Amplitude) ของสัญญาณทีป่ รากฏ มคี า่ เทา่ กบั .................. โวลต์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook