Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

FC1

Published by SUCHADA INTARAKUMHANG NA RACHASIMA, 2018-08-16 23:01:40

Description: FC1

Search

Read the Text Version

บทท่ี 5 การเลือกใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ทรัพยากร และ เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั การดูแล ครอบครัวและชุมชน 5.1 การเลือกใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ทรัพยากร และ เทคโนโลยที ี่เหมาะสม สุชาดา อินทรกาแหง ณ ราชสีมา

รัฐธรรมนูญปี 2550• มาตรา 66 บุคคลซ่ึงรวมกนั เป็นชุมชน ชุมชนทอ้ งถิ่นหรือชุมชน ทอ้ งถ่ินด้งั เดิมยอ่ มมีสิทธิอนุรักษห์ รือฟ้ื นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญา ทอ้ งถ่ิน ศิลปวฒั นธรรมอนั ดีของทอ้ งถิ่นและของชาติและมีส่วนร่วมใน การจดั การการบารุงรักษา และการใชป้ ระโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั ความหลากหลายทางชีวภาพอยา่ งสมดุลและยง่ั ยนื

ใน พ.ร.บ.สขุ ภาพแห่งชาติปี 2550 มีการจดั ทาธรรมนญู ว่าดว้ ยระบบสขุ ภาพแห่งชาติธรรมนญู ว่าดว้ ยระบบสขุ ภาพแห่งชาติ คือ กรอบและแนวทางในการกาหนดนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และการดาเนินงานดา้ นสขุ ภาพ ของประเทศ 14

6 “กรอบและแนวทางในการกาหนดนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ และการดาเนินงานดา้ นสขุ ภาพของประเทศ” • ระบบและกลไกจดั ทาแบบมีสว่ นรว่ มทกุ ระดบั • ธรรมนญู ฯ ที่ไดจ้ ะสง่ ผลต่อการดาเนินงานดา้ น สขุ ภาพ และสง่ ผลกระทบต่อสขุ ภาวะของคนไทย และสงั คมไทยในบน้ั ปลาย • เป็ นกระบวนการพฒั นาและเรยี นรรู้ ว่ มกนั อยา่ งเป็ น พลวตั 10

ธรรมนญู ว่าดว้ ยระบบสขุ ภาพแห่งชาติ ม. 47กาหนดว่าใหม้ ีสาระสาคญั เก่ียวกบั “(7) การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชแ้ ละการพฒั นาภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินดา้ นสขุ ภาพ การแพทย์แผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ นและการแพทยท์ างเลือกอื่นๆ” 15

แผนพฒั นายทุ ธศาสตร์ชาติการพฒั นาภูมิปัญญาไท (พ.ศ. 2550 – 2554)2.1 เป้าหมายการพฒั นาเพอ่ื เสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของระบบสุขภาพของ ประเทศ 2.1.3 มีระบบสุขภาพภาคประชาชนที่เขม็ แขง็ โดยใชภ้ ูมิปัญญาการแพทย์ พ้ืนบา้ นในการดูแลสุขภาพของชุมชน ทอ้ งถิ่น ภายใน 5 ปี

แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ การพฒั นาภูมปิ ัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท ฉบับท่ี ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)• “แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ การพฒั นาภูมิปัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท ฉบบั ท่ี 2 (พ.ศ.2555-2559)” เพื่อสานต่อนโยบายและยทุ ธศาสตร์ในระดบั ชาติ ดา้ นการพฒั นาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นเก่ียวกบั สุขภาพ ไม่วา่ จะเป็นการแพทย์ พ้ืนบา้ น การแพทยแ์ ผนไทยและการแพทยท์ างเลือก จากแผน ยทุ ธศาสตร์ชาติฯ ฉบบั ท่ี 1 (พ.ศ.2550-2554) ท่ีหมดวาระลง• เพอื่ ให้ องคก์ รภาคีเครือขา่ ยต่างๆนาไปดาเนินการเพอ่ื มุ่งไปสู่การ พ่งึ ตนเองดา้ นสุขภาพดว้ ยภูมิปัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท ตาม ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง

แผนยุทธศาสตร์ชาติ การพฒั นาภูมปิ ัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)• แผนยทุ ธศาสตร์ชาติ มีท้งั หมด ๖ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เช่ือมโยงซ่ึงกนั และกนั• ๑) การสร้างและจดั การความรู้ ภูมิปัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท• ๒) การพฒั นาระบบสุขภาพชุมชน และระบบบริการสาธารณสุข• ๓) การพฒั นากาลงั คน• ๔) การพฒั นาระบบยาจากสมุนไพร และผลิตภณั ฑส์ มุนไพร• ๕) การพฒั นาระบบและกลไกการคุม้ ครองภูมิปัญญาไทย• ๖) การส่ือสารสาธารณะ

ยทุ ธศาสตร์ชาตกิ ารพฒั นาภูมปิ ัญญาไท สุขภาพวถิ ไี ท ฉบับ ที่ 3 (พ.ศ.2560 – 2564)• คณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติไดใ้ หค้ วามเห็นชอบ ยทุ ธศาสตร์ชาติการ พฒั นาภูมิปัญญาไท สุขภาพวถิ ีไท ฉบบั ที่ 3 (พ.ศ.2560 – 2564) โดยจะ นาเสนอยทุ ธศาสตร์ฯ ดงั กล่าวต่อคณะรัฐมนตรีเพอ่ื พจิ ารณาใหค้ วาม เห็นชอบต่อไป เพอ่ื ใหห้ น่วยงานและองคก์ รต่างๆ นาไปใชเ้ ป็นร่มใหญ่ ต่อยอดการทางานใหเ้ กิดความต่อเน่ือง โดยใชเ้ ป็นแนวทางและเป้าหมาย ในการปฏิบตั ิงานอีก 5 ปี ขา้ งหนา้

ยุทธศาสตร์ชาตกิ ารพฒั นาภูมิปัญญาไท สุขภาพวถิ ไี ท ฉบบั ท่ี 3 (พ.ศ.2560 – 2564) ต่อ• ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์สาคญั 3 ประการ ดว้ ยคายอ่ WIC คือ มุ่งเนน้ สร้าง ภูมิปัญญาไท สุขภาพวิถีไท ใหเ้ ขม้ แขง็ ดว้ ยองคค์ วามรู้ (Wisdom) การบูรณาการระบบบริการ การแพทยแ์ ผนไทย การแพทยพ์ ้ืนบา้ น การแพทยท์ างเลือก และระบบยาสมุนไพรกบั ระบบการแพทยอ์ ื่นๆ (Integration of Health service systems) และ เสริมสร้างขีดความสามารถของประชาชน บุคลากร และเครือขา่ ย (Capacity Building) โดยมีมาตรการรองรับ ท้งั ดา้ นวชิ าการ ดา้ นนโยบายและกฎหมาย

ระบบสขุ ภาพ ระบบสาธารณสขุระบบสขุ ภาพ : ระบบ บรกิ ารทาง การแพทย์ระบบความสมั พนั ธท์ ง้ั มวลที่เกยี่ วขอ้ งกบั สขุ ภาพ (พ.ร.บ.สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550) 4

1 เปิ ดชอ่ งทางใหท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ รว่ มทางาน เรอ่ื งสขุ ภาพรว่ มกนั 2

2 เพ่ิมสทิ ธิในการคมุ้ ครองสขุ ภาพของ ประชาชนและเพิ่มหนา้ ที่ไปพรอ้ มๆกนั ดว้ ย 5

3“กลไกสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหเ้ กิดการทานโยบายและยทุ ธศาสตรด์ า้ นสขุ ภาพและผลกั ดนั ไปสกู่ ารปฏิบตั ิผา่ นทางฝ่ ายรฐั และทกุ ฝ่ ายในสงั คม” ประกอบดว้ ย • ภาคนโยบาย/การเมือง (P) • ภาคประชาสงั คม (S) • ภาควิชาการ/วิชาชีพ (K) 6

4 • กลไกประสานเช่ือมโยง “สานพลงั สรา้ งสขุ ภาวะ” และเป็ นเครอ่ื งมือใหก้ บั ทกุ ฝ่ ายไดใ้ ชป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั • มีคณะกรรมการบรหิ ารสานกั งาน (คบ.) ดแู ล 8

5 • สมชั ชาสขุ ภาพเฉพาะพ้ืนที่ • สมชั ชาสขุ ภาพเฉพาะประเด็น • สมชั ชาสขุ ภาพแห่งชาติ “กระบวนการพฒั นานโยบายสาธารณะเพ่ือสขุ ภาพ หรอื ความมีสขุ ภาพของประชาชน ท่ีเอ้ือใหเ้ กิดการ เรยี นรรู้ ว่ มกนั ในทรุ ะดบั ” • เป็ นเครือ่ งมือของทกุ ภาคสว่ น 9

ความหมายของ สมชั ชา• “สมชั ชา” ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ไดใ้ ห้ ความหมายวา่ สมชั ชา หมายถึง การประชุมเพ่ือประโยชน์อยา่ งใดอยา่ ง หน่ึงโดยเฉพาะ หรือท่ีประชุม• สมชั ชา คือ การประชุมท่ีมีวตั ถุประสงคเ์ ฉพาะ (พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน) ซ่ึงตรงกบั ภาษาองั กฤษวา่ ASSMBLY ซ่ึงให้ ความหมายไวว้ า่ \"A group of persons gathered Together for a common purpose”

• เป็นกระบวนการท่ีมีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล จดั ทาเวทีสาธารณะ การ วิเคราะห์และจดั ทาขอ้ สนองนโยบาย และยทุ ธศาสตร์สุขภาพใน 4 มิติ ไดแ้ ก่ สุขภาพกาย จิตใจ สงั คม และปัญญามาต้งั แต่ระดบั พ้ืนท่ี ระดบั จงั หวดั จนถึงระดบั ชาติ จากน้นั กต็ ิดตาม ผลกั ดนั ใหเ้ กิดการปฏิบตั ิจริง ท้งั โดยการทาเองของภาคประชาชน การนาเสนอให้ อบต. เทศบาล อบจ. จงั หวดั กระทรวง หน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง และรัฐบาลกลางนา นโยบายและยทุ ธศาสตร์เขา้ สู่ระบบแผนและงบประมาณเพื่อนาไปสู่การ ปฏิบตั ิท่ีดีร่วมกนั

ภูมปิ ัญญาหมายถงึ ความรู้ ความคดิ ความเช่ือ ความสามารถความจดั เจน ทไ่ี ด้จากประสบการณ์ทีส่ ั่งสมไว้ในการปรับตวัและการดารงชีพในระบบนิเวศ หรือสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ สังคม วฒั นธรรมท่สี ืบสานกนั มา

การดูแลสุขภาพในชุมชน ปัจเจก ชุมชนการแพทย์แผนไทย ภูมิปัญญาท้องถน่ิ เอกชนการแพทย์พืน้ บ้าน ด้านสุขภาพ สถานบริการสาธารณสุข การแพทย์ทางเลือกอ่ืนๆ ในชุมชน

การแพทยแ์ ผนไทย• การแพทย์แผนไทย หมายถงึ ปรัชญา องคค์ วามรู้ และ วถิ ีการปฏิบตั ิ เพ่ือการดูแล สุขภาพและการบาบดั การรักษาโรค ความเจบ็ ป่ วยของประชาชนไทย แบบด้งั เดิม สอดคลอ้ งกบั ขนบธรรมเนียมวฒั นธรรมไทย และวถิ ีชีวติ แบบไทย• ประกอบดว้ ยการใชส้ มุนไพร หตั ถบาบดั การรักษากระดูกแบบด้งั เดิม การใชพ้ ทุ ธ ศาสนาหรือพิธีกรรม เพ่อื ดูแลรักษา สุขภาพจิต การคลอด การดูแลสุขภาพแบบ ไทยเดิม และธรรมชาติบาบดั ซ่ึงไดจ้ ากการสะสม และถ่ายทอดประสบการณ์ อยา่ งเป็นระบบโดยการบอกเลา่ การสงั เกต การบนั ทึก และการศึกษาผา่ นสถาบนั การศึกษาดา้ นแพทย์แผนไทย

ปัญหาหลกั การแพทยแ์ ผนไทย• ระบบการผลิตและการจดั การกาลงั คนดา้ นการแพทยแ์ ผนไทย ท้งั แบบด้งั เดิม (ครู รับมอบตวั ศิษย)์ และแบบสถาบนั การศึกษา ยงั ขาดกรอบอตั รากาลงั ในสถาน บริการ• บุคลากรผใู้ หบ้ ริการการแพทยแ์ ผนไทยในสถานบริการภาครัฐส่วนใหญ่ไม่มีใบ ประกอบโรคศิลป และมีพ้ืนฐานการอบรมที่หลากหลาย• ขาดระบบการศึกษาวจิ ยั และพฒั นาศาสตร์การแพทยแ์ ผนไทย• การพฒั นาระบบยาแผนไทยจากยาสมุนไพรยงั ขาดทิศทาง• ขาดกลไกในการคุม้ ครองผบู้ ริโภค• ขาดการดาเนินการเชิงรุกตามแผนการยทุ ธศาสตร์ชาติการพฒั นาภูมิปัญญา สุขภาพ วิถีไทย (พ.ศ. 2550 – 2554)

การดูแลสุขภาพแบบพ้นื บา้ น (Indigenous Self-Care)• เป็นภูมิปัญญาที่มุ่งเนน้ การดูแลสุขภาพใหส้ มดุลและสอดคลอ้ งกบั กฎ ทางสังคมวฒั นธรรมและกฎธรรมชาติ เป็นการดูชีวติ ในมิติทางกาย ทาง จิตใจ ทางจิตวิญญาณและทางอารมณ์ใหอ้ ยใู่ นสภาวะ กลมกลืมกบั โลก รอบตวั และหากชีวิตละเมิดกฎทางธรรมชาติ ชีวติ จะเสียสมดุล อ่อนแอ และเจบ็ ป่ วย

การแพทย์พืน้ บ้านไทยหมายถึง การดูแลสุขภาพกนั เองในชุมชนแบบด้งั เดมิจนกลายเป็ นส่วนหน่ึงของวถิ ีชีวติ เกยี่ วข้องกบั ความเช่ือ พธิ ีกรรม วฒั นธรรมประเพณี และทรัพยากรที่แตกต่างกนั ไปในแต่ละท้องถิน่ และเป็ นทย่ี อมรับของชุมชนน้ัน

การแพทยพ์ ้นื บา้ น (Flok medicine) เป็นระบบวฒั นธรรมในการดูแลรักษาสุขภาพแบบพ้นื บา้ นมีเอกลกั ษณ์เฉพาะวฒั นธรรมและมีการเรียนรู้โดยอาศยั รากฐานประสบการณ์และรากฐานความเชื่อศาสนา ระบบการแพทยพ์ ้นื บา้ นประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 3 ส่วนคือ 1. หมอพ้นื บา้ น 2. ผปู้ ่ วย 3. บริบททางสงั คมวฒั นธรรม นอกจากน้นั ระบบการแพทยพ์ ้นื บา้ นยงั มีปฏิสมั พนั ธ์ระบบการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั และระบบการแพทยอ์ ่ืนในสงั คมดว้ ย

ปัญหาหลกั ของการแพทยพ์ ้ืนบา้ น• ปัญหาทางกฎหมาย กฎหมายท่ีมีอยยู่ งั ไม่เพยี งพอในการรับรองความถูกตอ้ งชอบ ธรรมของหมอพ้ืนบา้ นในการรักษาชาวบา้ น• ขาดการสืบทอดสู่หมอพ้นื บา้ นรุ่นใหม่• ขาดการจดั การความรู้ที่มีในตาราและตวั หมอ• การไม่บนั ทึก• หวงและปกปิ ดความรู้• ปัญหาของขนบธรรมเนียมในการถ่ายทอดวชิ าความรู้ไม่เอ้ือตอ่ การรักษาภูมิปัญญา• ขาดผสู้ นใจสืบทอด

การแพทย์ทางเลือก (Aternative Medicine)- ความหมายโดยกองแพทย์ทางเลือก หมายความวา่ ศาสตร์เพือ่ การวนิ ิจฉยั รักษาและป้องกนั โรค นอกเหนือจาก ศาสตร์ การแพทยแ์ ผนปัจจุบนั การแพทยแ์ ผนไทย และการแพทยพ์ ้ืนบา้ นไทย- ความหมายของการแพทย์ทางเลือก ความหมายในทางปฏิบตั ิ ที่เขา้ ใจง่ายๆ หมายถึงการแพทยท์ ี่ยงั ไม่ไดส้ อนในโรงเรียนแพทย์ อะไรที่มีการเรียนการ สอนในโรงเรียนแพทย์ ถือเป็นการแพทยก์ ระแสหลกั เป็นการแพทยแ์ บบแผน ถา้ อะไรท่ียงั ไม่ไดน้ ามาสอนแสดงวา่ เป็นการแพทยท์ างเลือก โดยสรุป การแพทยท์ ่ีคนส่วนใหญ่ยอมรับคือการแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ส่วน การแพทยแ์ บบอ่ืน เช่น ภูมิปัญญาชาวบา้ น ทอ้ งถิ่น การแพทย์ อินเดีย หรือ การแพทยจ์ ีนซ่ึงไม่ไดเ้ อามาสอน ในโรงเรียนแพทย์ จึงถือเป็นการแพทยท์ างเลือก เช่น การฝังเขม็ ยาสมุนไพร การนวด การจดั กระดูกสนั หลงั การฝึกสมาธิ เป็ นตน้

ปัญหาหลกั ของการแพทยท์ างเลือก• ขาดระบบและกลไกในการวเิ คราะห์และคดั กรองศาสตร์การแพทยท์ ่ีมี อยจู่ านวนมากทาใหไ้ ม่สามารถคุม้ ครองผบู้ ริโภคไดท้ นั ท่วงที• การส่งเสริมการแพทยท์ างเลือกในสถานบริการท้งั รฐและเอกชนทาตาม กระแสนิยมและตอ้ งการเพม่ิ รายไดม้ ากกวา่ ส่งเสริมความเขม้ แขง็ ของ ระบบทางเลือกบริการ• การเผยแพร่และการใชป้ ระโยชนก์ ารแพทยท์ างเลือกในภาคประชาชน ยงั ขาดการตรวจสอบ ดูแลอยา่ งเป็นระบบท้งั ดา้ นความปลอดภยั ประสิทธิผล ความคุม้ ค่า และความน่าเชื่อถือ

ขอ้ พจิ ารณาในการเลือกใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ินในการแกป้ ัญหาสุขภาพปัจจุบนั พบว่า องค์ความรู้ภูมิปัญญาส่วนใหญ่มกั เป็นทักษะและประสบการณ์ท่ีสะสมอย่กู ับหมอยาผ้นู ั้นเอง ไม่มกี ารขีดเขยี นบันทึกเป็นตารา สาหรับหมอพืน้ บ้านที่สะสมความรู้ในรูปของตารากพ็ บว่าตาราเหล่านีอ้ ย่ใู นสภาพท่ีเสี่ยงต่อการชารุดเสียหาย หรือมีการชารุดสูญหายไปแล้ว ส่วนใหญ่ยงั ไม่มศี ิษย์หรือผ้สู ืบทอดความรู้ต่อ

ตวั อยา่ งงานวจิ ยั• งานวิจยั ของ ชุลีกร ขวญั ชยั นนท์ (2540) ไดส้ รุปลกั ษณะเด่นของ ระบบการแพทยพ์ ้ืนบา้ น วา่ เป็นระบบการแพทยแ์ บบองคร์ วม (Holistic) ใชก้ ารวนิ ิจฉยั และการรักษาโรคอาศยั บริบททางสงั คม และวฒั นธรรม การรักษาไดผ้ ลดีในกลุ่มอาการโรคท่ีไม่ชดั เจน (Psychosomatic Disorders) ในสงั คมหมู่บา้ นมีความ เจบ็ ป่ วย กลุ่มอาการหน่ึงท่ีหมอและผปู้ ่ วยเช่ือวา่ เกิดจากอานาจเหนือ ธรรมชาติ ส่วนใหญ่เป็นความเจบ็ ป่ วยท่ีแยกออกไม่ชดั เจนระหวา่ ง อาการทางกาย และอาการทางจิต

การแพทยพ์ ้ืนบา้ นมีขอ้ ดอ้ ยบางประการ ไดแ้ ก่1. เป็นระบบการแพทยท์ ่ีขาดการบนั ทึก ขาดขอ้ มูลทางสถิติ ขาดขอ้ มูลที่ ระบุถึงความสาเร็จหรือความลม้ เหลว ซ่ึงเป็นส่ิงสาคญั มาก2. การวดั ประสิทธิภาพการรักษาโดยพจิ ารณาจากความพงึ พอใจ และความ คาดหวงั ของผรู้ ับการรักษาแต่เพยี งอยา่ งเดียวคงไม่ได้ เพราะความรู้สึก ดงั กล่าวเป็นเรื่องท่ีวดั ไดย้ าก ดงั น้นั การวดั ประสิทธิภาพของการแพทย์ พ้นื บา้ นนอกจากจะพจิ ารณาจากมิติทางสงั คม วฒั นธรรมแลว้ จาเป็น อยา่ งยง่ิ ท่ีจะตอ้ งมีหลกั ฐานทางการแพทยม์ าพสิ ูจน์ความเช่ือถือน้นั ดว้ ย

จากการทบทวนงานวิจยั ยงั พบวา่ การศึกษาเก่ียวกบั ประสิทธิภาพของการรักษาโรคแบบพ้ืนบา้ นยงั มีอยนู่ อ้ ยมาก โดยเฉพาะขาดการเกบ็ ขอ้ มูลถึงกระบวนการรักษาโรคจากการปฏิบตั ิจริงของหมอพ้นื บา้ น และขอ้ มูลของผปู้ ่ วยที่มารับการบริการจากหมอ

THE END


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook