2.ยุคของคอมพวิ เตอร์
คอมพวิ เตอร์ยุคท่ี 1 (First Generation Computer) • พ.ศ. 2488 ถงึ พ.ศ. 2501 เป็นคอมพวิ เตอรท์ ่ีใชห้ ลอดสญุ ญากาศซงึ่ ใชก้ าลงั ไฟฟา้ สงู จงึ มปี ัญหา เรอื่ งความรอ้ นและไสห้ ลอดขาดบอ่ ย ถึงแมจ้ ะมรี ะบบระบายความรอ้ นทด่ี มี าก การส่งั งานใช้ ภาษาเครอ่ื งซงึ่ เป็นรหสั ตวั เลขทีย่ งุ่ ยากซบั ซอ้ น เครอ่ื งคอมพวิ เตอรข์ องยคุ นมี้ ีขนาด ใหญ่โต เชน่ มารค์ วนั (MARK I), อนี ิแอค (ENIAC), ยนู ิแวค (UNIVAC)
คอมพวิ เตอร์ยคุ ท่ี 2 (Second Generation) • พ.ศ. 2502 ถึง พ.ศ. 2506 เป็นคอมพวิ เตอรท์ ่ใี ชท้ รานซสิ เตอร์ โดยมีแกนเฟอรไ์ รทเ์ ป็น หนว่ ยความจา มอี ปุ กรณเ์ ก็บขอ้ มลู สารองในรูปของสอ่ื บนั ทกึ แมเ่ หลก็ เช่น จานแมเ่ หลก็ สว่ น ทางดา้ นซอฟตแ์ วรก์ ็มกี ารพฒั นาดขี นึ้ โดยสามารถเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาระดบั สงู ซ่ึงเป็นภาษาที่ เขยี นเป็นประโยคทีค่ นสามารถเขา้ ใจได้ เชน่ ภาษาฟอรแ์ ทน ภาษาโคบอล เป็นตน้ ภาษาระดบั สงู นไี้ ดม้ ีการพฒั นาและใชง้ านมาจนถึงปัจจบุ นั
คอมพวิ เตอร์ยุคที่ 3 (Third Generation Computer) • พ.ศ. 2507 ถึง พ.ศ. 2512 มีการประดิษฐ์คดิ คน้ เกยี่ วกบั วงจรรวม (IC Integrated Circuit) วงจรเหลา่ นสี้ ามารถวางลงบนชิปเลก็ ๆ เพียงแผน่ เดียวและนาชิปเหลา่ นมี้ าใชแ้ ทนทรานซิลเตอร์ ทา ใหป้ ระหยดั พนื้ ทีไ่ ดม้ าก ชิป (Chip) เป็นการเรยี กไมโครชิปอยา่ งสนั้ ๆ เป็นโมดลุ ขนาดเลก็ และซบั ซอ้ น ใชเ้ ป็น หนว่ ยความจาของคอมพวิ เตอร์ หรอื เป็นวงจรทางตรรกะของไมโครโปรเซสเซอร์ ชิปทร่ี ูจ้ กั กนั ดี คอื Pentium ไมโครโปรเซสเซอรข์ อง Intel หรอื Power PC ไมโครโปรเซสเซอรท์ ่ีพฒั นา โดย Apple, Motorola และ IBM ใชใ้ นเครอื่ ง Macintosh และเครอ่ื งเวริ ก์ สเตช่นั บาง รุน่ AMD และ Cyrix เป็นผผู้ ลติ ชิปของไมโครโปรเซสเซอรท์ ่มี ชี ื่อเสยี ง
คอมพวิ เตอร์ยุคที่ 4 (Fourth Generation Computer) • พ.ศ. 2513 จนถงึ ปัจจบุ นั เป็นยคุ ของคอมพิวเตอรท์ ีใ่ ชว้ งจรรวมความจสุ งู มาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เชน่ ไมโครโพรเซสเซอรท์ บี่ รรจทุ รานซสิ เตอรน์ บั หมนื่ นบั แสน ตวั ทาใหข้ นาดเครอื่ งคอมพวิ เตอรม์ ขี นาดเลก็ ลงสามารถตงั้ บนโตะ๊ ในสานกั งาน หรอื พกพาเหมอื น กระเป๋ าหวิ้ ไปในที่ตา่ ง ๆ ได้ ขณะเดยี วกนั ระบบซอฟตแ์ วรก์ ็ไดพ้ ฒั นาขดี ความสามารถสูงขนึ้ มาก มี โปรแกรมสาเรจ็ ใหเ้ ลอื กใชก้ นั มากทาใหเ้ กิดความสะดวกในการใชง้ านอยา่ งกวา้ งขวาง
คอมพวิ เตอร์ยคุ ท่ี 5 (Fifth Generation Computer) • พ.ศ.2533-ปัจจบุ นั คอมพวิ เตอรย์ คุ ท่ี 5 นี้ มงุ่ หนา้ พฒั นาความสามารถในการทางานของระบบคอมพิวเตอร์ และ ความสะดวกสบายในการใชค้ อมพวิ เตอร์ มีการพฒั นาสรา้ งเครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ บบพกพาขนาดเล็ก • โครงการพฒั นาอปุ กรณ์ VLSI (Very Large Scale Integrated Circuit) ใชง้ านงา่ ยมคี วามสา มาสงู ขึน้ รวมทงั้ โครงการวิจยั ปัญญาประดษิ ฐ์ เป็นหวั ใจของการพฒั นาระบบคอมพวิ เตอรใ์ นยคุ นี้ โดยหวงั ใหร้ ะบบ ความพิวเตอรม์ ีความรูค้ วามสามารถวิเคราะหป์ ัญหาอยา่ งมีเหตผู ล • ปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) คอื ความฉลาดเทยี มท่ีสรา้ งขึน้ ใชก้ บั สิง่ ที่ไมม่ ี ชวี ติ ปัญญาประดษิ ฐเ์ ป็นสาขาทางดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอรแ์ ละวิศวกรรมเป็นหลกั และยงั รวมถงึ ศาสตรใ์ นดา้ น ตา่ งๆ เชน่ จติ วทิ ยา ปรชั ญา หรอื ชวี วทิ ยา ซง่ึ สาขาปัญญาประดษิ ฐเ์ ป็นการเรยี นรูเ้ กี่ยวกบั กระบวนการคดิ การ กระทา การใหเ้ หตผุ ล การปรบั ตวั การอนมุ าน และการทางานของสมอง
องค์ประกอบของระบบ ปัญญาประดษิ ฐ์
1. ระบบหุ่นยนต์ หรือแขนกล (Robotics or Robotarm System) • คือ หนุ่ จาลองรา่ งกายมนษุ ยท์ ค่ี วบคมุ การทางานดว้ ยเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ มีจดุ ประสงคเ์ พือ่ ใหท้ างาน แทนมนษุ ยใ์ นงานที่ตอ้ งการความเรว็ หรอื เสย่ี งอนั ตราย เชน่ แขนกลในโรงงานอตุ สาหกรรม หรอื หนุ่ ยนตก์ รู้ ะเบิด เป็นตน้
2. ระบบประมวลภาษาพดู (Natural Language Processing System) • คอื การพฒั นาใหร้ ะบบคอมพิวเตอรส์ ามารถสงั เคราะหเ์ สยี งทมี่ ีอยใู่ น ธรรมชาติ (Synthesize) เพ่ือสอ่ื ความหมายกบั มนษุ ย์ เช่น เครอ่ื งคิดเลขพดู ได้ (Talking Calculator) หรอื นาฬกิ าปลกุ พดู ได้ (Talking Clock) เป็นตน้
3. การรู้จาเสียงพดู (Speech Recognition System) • คือ การพฒั นาใหร้ ะบบคอมพิวเตอรเ์ ขา้ ใจภาษามนษุ ย์ และสามารถจดจาคาพดู ของมนษุ ยไ์ ดอ้ ยา่ ง ตอ่ เน่ือง กลา่ วคอื เป็นการพฒั นาใหเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอรท์ างานไดด้ ว้ ยภาษาพดู เช่น งานระบบรกั ษา ความปลอดภยั งานพมิ พเ์ อกสารสาหรบั ผพู้ กิ าร เป็นตน้
4. ระบบผู้เช่ียวชาญ (Expert System) • คอื การพฒั นาใหร้ ะบบคอมพวิ เตอรม์ คี วามรู้ รูจ้ กั ใชเ้ หตผุ ลในการวเิ คราะหป์ ัญหา โดยใชค้ วามรูท้ ี่ มี หรอื จากประสบการณใ์ นการแกป้ ัญหาหนง่ึ ไปแกไ้ ขปัญหาอ่ืนอยา่ งมเี หตผุ ล ระบบนีจ้ าเป็นตอ้ ง อาศยั ฐานขอ้ มลู (Database) ซง่ึ มนษุ ยผ์ มู้ ีความรูค้ วามสามารถเป็นผกู้ าหนดองคค์ วามรูไ้ วใ้ น ฐานขอ้ มลู ดงั กลา่ ว เพื่อใหร้ ะบบคอมพิวเตอรส์ ามารถวเิ คราะหป์ ัญหาตา่ งๆ ไดจ้ ากฐานความรู้ นนั้ เช่น เครอ่ื งคอมพิวเตอรว์ ิเคราะหโ์ รค หรอื เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ านายโชคชะตาราศี
• เม่ือคอมพิวเตอรพ์ ฒั นามาถึงยคุ ท่ี 5 มีความสามารถมากขนึ้ ทางานไดเ้ รว็ การประมวลผลขอ้ มลู ได้ ครงั้ ละมากๆ สามารถทางานหลายงานไดใ้ นเวลาเดยี วกนั (Multitasking) ขณะเดยี วกนั ก็มี การเช่ือมโยงเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอรภ์ ายในองคก์ ร โดยใชร้ ะบบเครอื ขา่ ยทอ้ งถ่ิน (LAN : Local Area Network) เมอื่ เชื่อมเครอื ขา่ ยหลายๆเครอื ขา่ ยองคก์ ร ก็เกิดเป็นเครอื ขา่ ยอินเตอรเ์ นต็
Search
Read the Text Version
- 1 - 12
Pages: