Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางธุรกิจด้วย MS Excel สถิติเชิงพรรนา

การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางธุรกิจด้วย MS Excel สถิติเชิงพรรนา

Published by Korawin, 2022-08-22 04:54:02

Description: การวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยทางธุรกิจด้วย MS Excel สถิติเชิงพรรนา

Search

Read the Text Version

การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวจิ ยั ทางธุรกจิ ดว้ ย Microsoft Excel การวิเคราะหส์ ถติ เิ ชงิ พรรณนา กรวนิ ท์ เขมะพนั ธุม์ นัส

1 การวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวจิ ยั ทางธรุ กจิ ดว้ ย Microsoft Excel การวเิ คราะหส์ ถติ เิ ชงิ พรรณนา ปัจจุบันการวิเคราะห์ข้อมูลทางการวิจัยนั้น สามารถใช้โปรแกรมสาเร็จรูปช่วยในการ คานวณได้ และโปรแกรมที่ได้ถูกพัฒนาขึ้นมานั้นจะถูกออกแบบให้นักวิจัยหรือผู้ที่ใช้งาน ใช้ได้ โดยง่าย อย่างไรก็ตามผู้ใช้โปรแกรมสาเร็จรูปเพ่ือวเิ คราะหข์ ้อมูลทางการวิจัย จาเป็นต้องรู้และ เข้าใจกระบวนการในการจัดเตรียมข้อมูล การเลือกใช้คาสั่ง และการเลือกใช้เทคนิคทางสถิติที่ เหมาะสม เพื่อใหผ้ ลการวจิ ัยมีคุณภาพ และสามารถนาไปใชต้ ัดสินใจทางธุรกิจได้อย่างถูกต้อง และจากรายงานการศึกษาของนกั วิชาการ พบว่า โปรแกรมสาเร็จรูป Microsoft Excel ที่มีประจาเครื่องของทุกคนนั้น มีประสิทธิภาพในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณที่ถูกต้อง แม่นยา ช่วยประหยัดงบประมาณการซื้อโปรแกรม (กมล บุษบา, สายทอง อมรวิเชษฐ์, และ สารตรัย วัชราภรณ์, 2552) และสามารถจัดการได้ง่ายกว่าโปรแกรมอื่น ๆ (ไอศวรรย์ ช้ัน กาญจน,์ 2549) รวมท้งั มีขอ้ ดีหลายประการ ได้แก่ วิเคราะหค์ ่าสถิติไดโ้ ดยง่าย มีฟงั กช์ ัน่ ชว่ ยใน การวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ (Nunes, Alvarenga, de Souza Sant'Ana, Santos, & Granato, 2015) โปรแกรม Microsoft excel โปรแกรม Microsoft excel เปน็ โปรแกรมทเี่ หมาะสาหรับการวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถิติ เน่อื งจากเปน็ โปรแกรมท่ีใช้กนั อย่างแพร่หลาย (สรชยั พศิ าลบุตร, 2554) โดยในการวิเคราะห์ สามารถทาได้หลายวิธี เช่น การใช้ฟังก์ชั่น การสร้างตาราง pivot table หรือการเพิ่มคาสั่ง Data Analysis Toolpak ซึ่งจะช่วยวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณได้คล้ายคลึงกับโปรแกรม สาเร็จรูปอื่น ๆ (Winston, 2014) รวมทั้งยังเป็นโปรแกรมที่สามารถหาซื้อได้ง่าย และมีความ สะดวกในการใช้งานวิจัยทางธุรกิจ รวมท้ังการวเิ คราะห์ต่าง ๆ ในทางธุรกิจด้วย โดยโปรแกรม Microsoft Excel จะมีความสามารถในทางการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย (Berenson, Levine, & Krenhbiel, 2012) ดังนี้ 1. การแจกแจงความถี่ แบบทางเดยี ว แบบหลายทาง 2. การคานวณค่าสถิติเบื้องต้น เช่น ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความ แปรปรวน คา่ ผลรวม ฯลฯ 3. การทดสอบสมมตฐิ านเกี่ยวกับค่าเฉล่ีย 2 กล่มุ โดยวธิ กี าร z-test และ t-test ใน 2 กรณีคือ กลุ่มตัวอย่างเป็นอิสระต่อกัน (independent) และกลุ่มตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน (dependent หรอื paired sample) รวมถงึ การทดสอบความแปรปรวนของ 2 กลุ่มตวั อย่าง 4. การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยหลายกลุ่ม โดยวิธีการ F-test และการ วิเคราะห์ความแปรปรวน (analysis of variance) ทั้งแบบจาแนกทางเดียว (single factor) การวิเคราะหข์ ้อมลู การวจิ ยั ทางธรุ กจิ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพันธม์ุ นัส

2 และแบบจาแนกสองทาง (two factor) ทั้งกรณีไม่วัดซ้า (without replication) และวัดซ้า (with replication) 5. การหาความสมั พันธ์ (correlation) โดยวธิ กี ารของ Pearson 6. การทดสองความสัมพนั ธ์ โดยวิธีการ Chi-square test 7. การวิเคราะห์การถดถอย (regression) โดยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้น (linear regression) ท้ังแบบอยา่ งงา่ ย (simple) และแบบพหคุ ูณ (multiple) 8. การวิเคราะห์อนุกรมเวลา (time series analysis) โดยวิธีการแบบ moving average และ exponential smoothing เนื่องจากโปรแกรม Microsoft Excel ไม่ได้เป็นโปรแกรมที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการ วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยเฉพาะ ชุดคาสั่งที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจะแยกเก็บไว้ต่างหาก ยังมิได้ถูกติดตั้งไว้โดยปริยาย ดังนั้น การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติจึงต้องเรียกชุดคาสั่ง “data analysis” ขนึ้ มาใช้งาน โดยผ้วู จิ ัยสามารถตดิ ตงั้ เองได้ การติดต้งั คาสัง่ วเิ คราะหข์ ้อมลู ทางสถติ ิ (1) คลกิ แทบ็ file → options→ add-ins →analysis toolpak → คลกิ drop down ในสว่ น manage การวิเคราะห์ข้อมูลการวจิ ยั ทางธุรกิจ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพนั ธุ์มนัส

3 (2) คลกิ dropdown ท่ี Manage เลอื ก Excel add-ins → go (3) คลกิ เลอื ก Analysis Toolpak → คลกิ ok ในแทบ็ data จะปรากฏคาสง่ั data analysis ซึ่งเมอ่ื คลกิ เรยี กดจู ะปรากฏคาสง่ั ดงั ภาพ (4) คลกิ แทบ็ data จะเหน็ ชดุ คาสง่ั data analysis การวิเคราะห์ขอ้ มูลการวิจัยทางธรุ กจิ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพนั ธุ์มนสั

4 การสรา้ งและเรยี กใช้แฟ้มข้อมลู ตัวอย่างการบันทกึ ข้อมูล แถวที่ 1 เปน็ แถวกาหนดเป็นชือ่ ตวั แปรเรียงตามลาดับในแบบสอบถาม แถวที่ 2 เปน็ ต้นไป บนั ทกึ ข้อมูลที่เกบ็ รวบรวมมาแลว้ ตามรหัสทกี่ าหนด การวิเคราะห์ขอ้ มลู การวจิ ยั ทางธรุ กจิ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพันธ์มุ นสั

5 การวเิ คราะหส์ ถติ พิ รรณนาของขอ้ มลู เชงิ กลมุ่ การแจกแจงความถี่และหาคา่ ร้อยละ การแจกแจงความถข่ี องข้อมลู (พศิ าลบุตร, 2554) เปน็ การจาแนกข้อมูลตามลกั ษณะ ตา่ ง ๆ เพื่อความสะดวกตอ่ การเปรียบเทียบ และนาไปใช้ในการวิเคราะห์เรื่องอ่นื ๆ ตอ่ ไป ใน การวิจัยทางธุรกิจ โดยอาจแสดงในรูป จานวน รอ้ ยละ หรือกราฟรูปแบบต่าง ๆ (กัลยา วานิชย์ บญั ชา, 2550) โดยการสร้างตารางแจกแจงความถ่ี โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel มีดังนี้ การสรา้ งตารางแจกแจงความถีด่ ว้ ยโปรแกรม Microsoft Excel โดยใชค้ าสงั่ Pivot table การใช้ตาราง pivot table สามารถแจกแจงความถี่ได้ทั้งตัวแปรเดียว หรือมากกว่า 2 ตัวแปร โดยการแจกแจงความถี่จะเหมาะกับข้อมูลเชิงกลุ่ม คือ อยู่ในระดับ nominal และ ordinal ขั้นตอนการสร้างตาราง pivot table การสร้างตารางแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ สรปุ ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของผู้เรยี น (1) คลกิ แทบ็ insert → Pivot Table การวเิ คราะห์ขอ้ มูลการวจิ ยั ทางธรุ กิจ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพนั ธม์ุ นัส

6 (2) เลอื ก select a table or range เลือกพนื้ ทขี่ ้อมลู และ new worksheet→ ok (3) ในช่อง pivot table field list ให้ drag ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูลมาใส่ไว้ ในช่อง row และ ช่อง values เชน่ ต้องการวเิ คราะห์ตัวแปรเพศ ให้ drag ตวั แปร gender มาใสไ่ ว้ทัง้ 2 ชอ่ ง และถ้า ต้องการวิเคราะห์ขอ้ มูลร้อยละ ให้ drag ตวั แปร gender มาใสไ่ วใ้ นชอ่ ง value 2 คร้ัง การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั ทางธุรกจิ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพันธ์ุมนัส

7 (4) คลิกที่ตัวแปรที่ต้องการวิเคราะห์ข้อมูล และเลือก value field setting เพื่อเลือก สถติ ทิ ีจ่ ะวิเคราะห์ กรณีนเ้ี ลือก นับจานวนเพอ่ื แจกแจงความถ่ี คลกิ เลือก count การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวจิ ัยทางธุรกิจ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพนั ธม์ุ นัส

8 (5) ต้องการวิเคราะห์ค่าร้อยละ เลือก count of gender 2 คลิกแท็บ show values as → % of column total → ok (6) ได้ตารางแจกแจงความถด่ี ังภาพ (7) ถ้าต้องการเปรียบเทียบเพศและความถี่การซื้อ เลือกตัวแปร gender ใส่ในช่อง column → เลือกตัวแปร freq ใส่ในช่อง row → เลือกตัวแปร gender มาใส่ในช่อง values → เลือก value field setting ใน summarize values by เลือกเป็น count → เลือกตัวแปร gender มาใส่ในช่อง values อีกครั้ง เลือก value field setting ใน show values asเป็น % of parent total จะได้ตารางเปรียบเทยี บเพศและความถกี่ ารซือ้ ดงั ภาพ การวิเคราะหข์ อ้ มลู การวจิ ัยทางธรุ กจิ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพันธุ์มนสั

9 การวเิ คราะหส์ ถติ พิ รรณนาของข้อมลู เชงิ ปรมิ าณ การวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel การเรียกใชช้ ุดคาสง่ั data analysis มขี ้นั ตอนดังน้ี คลกิ แทบ็ data → คลกิ dropdown ใต้ pivot table → pivot table ทชี่ ่อง input range เลอื กคอลมั นอ์ ายทุ งั้ คอลมั น์ → คลกิ label in first row เพอ่ื ให้ โปรแกรมกาหนดใหแ้ ถวแรกคือชอ่ื ตวั แปร → ต้งั ชอื่ ชตี ใหม่ ในทน่ี ้ี ตงั้ วา่ สถติ ิพรรณนา → แลว้ เลอื กคาสั่ง summary statistics การวิเคราะห์ขอ้ มูลการวิจยั ทางธรุ กจิ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพันธุ์มนสั

10 ไดข้ อ้ มูลสถิตพิ รรณนา ตัวแปรอายุ ดังภาพ ตารางผลลพั ธ์ คอื ตารางแสดงคา่ สถิตเิ ชิงพรรณนา มีรายละเอียดดังนี้ • mean คือ คา่ เฉล่ยี เลขคณิต อายเุ ฉลยี่ ของลูกคา้ คอื 24.82 ปี • Standard error คือ คา่ ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของค่าเฉลี่ยอายุตัวอย่าง เทา่ กับ 0.65 • Median คอื ค่ามัธยฐานของอายุตวั อย่าง เทา่ กับ 23 ปี การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวิจยั ทางธุรกจิ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพนั ธุ์มนัส

11 • Mode คือ ค่าฐานนิยม หมายถึงอายุที่มีค่าซ้ามากที่สุด ในที่นี้อายุที่มี ค่าซ้าทสี่ ุดคอื 24 ปี • standard deviation คือ คา่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เท่ากบั 7.68 • Sample variance คือ คา่ ความแปรปรวนของตวั อย่าง เท่ากบั 58.99 • kurtosis คือ ค่าความโด่ง จากตัวอย่างมีค่าเท่ากับ -0.004 ซึ่ง การแจกแจง ของข้อมูลมีค่าเข้าใกลศูนย์ หมายความว่า การแจกแจงข้องข้อมูลเป็นโฆ้ง ระฆงั • Skewness คือ ค่าความเบ้ จากตัวอย่างมีค่าเท่ากับ 0.92 หมายถึงข้อมูลเบ้ ซ้าย แสดงวา่ ขอ้ มูลสน่ ใหญ่อย่ทู างด้านซ้าย • Range คือ ค่าพิสัย หมายถึงผลต่างระหว่างค่าสูงสุดและค่าต่าสุดของข้อมูล เท่ากับ 31 • Minimum คือ ค่าตา่ สดุ เท่ากับ 15 • Maximum คือ ค่าสงู สดุ เท่ากับ 45 • Sum คือ ผลรวมของข้อมลู ทง้ั หมด เท่ากบั 3425 • Count คอื จานวนข้อมลู ในทีน่ เ้ี ท่ากบั 138 การนาเสนอผลลัพธ์ของค่าสถิติเชิงพรรณาของข้อมูลเชิงปริมาณ ที่ได้จากโปรแกรม Microsoft Excel จะนาเสนอข้อมลู เฉพาะที่จาเป็นเท่าน้นั ดงั ตวั อยา่ งตารางที่ 3.3 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิจัยทางธรุ กิจ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพันธุ์มนสั

12 ตวั อยา่ งแบบสอบถาม การศกึ ษาความพงึ พอใจของผบู้ รโิ ภคและปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การตดั สนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ าร รา้ น Coffe Club สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม  2) หญงิ 1. เพศ  2) พนักงานบรษิ ัท  1) ชาย  4) อ่นื ๆ…………………………….. 2. อายุ …………………….. ปี  2) 5,001 – 10,000 บาท 3. อาชีพ  4) 15,001 – 20,000 บาท  5) มากกว่า 20,000 บาท  2) 3-4 คร้งั / สปั ดาห์  1) เจ้าหน้าท่ีรฐั /รัฐวิสาหกิจ  4) มากกว่า 6 ครงั้ / สัปดาห์  3) นักเรยี น / นักศกึ ษา  2) 09.00 น. – 12.00 น.  3) 12.00 น. – 15.00 น. 4. รายได้ต่อเดอื น  5) 17.00 น. เปน็ ต้นไป  1) ไม่เกนิ 5,000 บาท  3) 10,001 – 15,000 บาท 5. ความถี่ในการเข้าใชบ้ ริการร้าน Coffe Club  1) 1-2 ครัง้ / สัปดาห์  3) 5-6 ครั้ง / สปั ดาห์ 6. ชว่ งเวลาท่เี ข้ามาใช้บริการ  1) 07.00 น. – 09.00 น.  4) 15.00 น. – 17.00 น. สว่ นท่ี 2 ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลตอ่ การตัดสนิ ใจเลอื กใชบ้ รกิ าร Coffe Club 7. วัตถปุ ระสงค์หลักในการเข้ามาใช้บริการ Coffe Club (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)  2) แก้ง่วงนอน  1) ทานอาหารเช้า  3) แกก้ ระหาย  4) เคยชินกับการบริโภค 8. ชนิดของเครอื่ งดื่มทท่ี า่ นดื่มเป็นประจาในรา้ น Coffe Club  3) อื่น ๆ…………………….  1) ประเภทกาแฟ  2) ประเภทชา 9. ลกั ษณะของเคร่อื งด่ืมท่ีท่านดื่มเป็นประจาจากรา้ น Coffe Club  1) เครอื่ งดืม่ รอ้ น  2) เครอื่ งด่ืมเยน็  3) เคร่ืองด่ืมป่นั  4) อืน่ ๆ……………………… 10. ราคาในการจาหน่ายสนิ ค้า ท่านคิดวา่ ราคาเคร่ืองดืม่ ในข้อใดเหมาะสมทส่ี ุด  1) 25-30 บาท  2) 30–35 บาท  3) 35–40 บาท  4) 40–45 บาท 11. โปรดเรียงลาดับความสาคัญปัจจยั ที่ท่านตดั สินใจซ้ือเครอ่ื งดม่ื จากร้าน Coffe Club เปน็ ประจา (ปจั จยั สาคัญที่สดุ เป็น ลาดบั ท่ี 1)  1) รสชาติ  2) ใกล้สถานทเี่ รยี น/ทางาน  3) ราคาถกู  4) พนกั งานบรกิ ารดี  5) เพอื่ นแนะนา การวเิ คราะห์ขอ้ มูลการวิจยั ทางธรุ กิจ ด้วย Microsoft Excel กรวนิ ท์ เขมะพันธ์มุ นัส

13 สว่ นท่ี 3 ความพงึ พอใจเกย่ี วกบั รา้ น Coffe Club ระดับความพงึ พอใจ มาก ปานกลาง นอ้ ย ปจั จยั ดา้ น มากทส่ี ดุ นอ้ ยทสี่ ดุ 1. ปจั จยั ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ 1.1 รสชาตแิ ละกลน่ิ ของเคร่ืองดื่ม 1.2 คณุ ภาพของวตั ถุดบิ 1.3 บรรจุภณั ฑท์ ใ่ี สเ่ ครอื่ งด่ืมมคี วามแขง็ แรง 1.4 บรรจุภัณฑท์ ่ใี สเ่ ครื่องดื่มมีความสะอาด 1.5 บรรจภุ ณั ฑ์ท่ใี ส่เครื่องดม่ื มขี นาดทเ่ี หมาะสม 1.6 ความหลากหลายของเครือ่ งดืม่ 2. ปจั จยั ดา้ นราคา 2.1 ปรมิ าณเคร่ืองดม่ื ที่ไดร้ ับเหมาะสมกบั ราคา 2.2 คุณภาพวัตถดุ บิ เหมาะสมกบั ราคา 2.3 มีการแสดงราคาเครื่องดม่ื ไว้อยา่ งชดั เจน 2.4 รสชาติของเครือ่ งดื่มคมุ้ คา่ กับเงินทจ่ี ่ายไป 3. ปจั จยั ดา้ นชอ่ งทางการจดั จาหนา่ ย 3.1 ลูกคา้ สามารถมองเหน็ รา้ นได้อย่างชดั เจน 3.2 มีบริการจดั สง่ ให้ถงึ ที่ (delivery) 4. ปจั จยั ดา้ นการสง่ เสรมิ ทางการตลาด 4.1 มบี ัตรสะสมแตม้ เพอ่ื แลกเคร่ืองดืม่ ฟรี 4.2 มีเมนูแนะนาเคร่ืองดืม่ ออกใหม่ 4.3 มรี ูปภาพตวั อย่างเคร่อื งด่มื แสดงให้เห็นอยา่ ง ชดั เจน 4.4 พนกั งานมีการแนะนาเครอ่ื งด่มื ทีอ่ อกใหม่แก่ ลกู ค้า 5. ปจั จยั ดา้ นพนกั งาน 5.1 พนักงานมีความร้เู รอ่ื งเครื่องดืม่ สามารถแนะนา เครอื่ งด่ืมได้เป็นอยา่ งดี 5.2 พนักงานพดู จาสุภาพ 5.3 พนกั งานย้มิ แยม้ แจม่ ใส 5.4 พนักงานแตง่ กายสะอาด 5.5 พนกั งานสามารถจดจาลูกค้าได้ 6. ปจั จยั ดา้ นขน้ั ตอนการใหบ้ รกิ าร 6.1 มกี ารทวนรายการเครอื่ งด่มื ท่ลี ูกค้าสง่ั 6.2 ลกู ค้าได้รบั เครื่องด่ืมถูกต้องตรงตามท่ีสง่ั 6.3 ระยะเวลาในการชงเครือ่ งดื่มมีความรวดเร็ว 7. ปจั จยั ดา้ นสภาพแวดลอ้ มของร้าน 7.1 บริเวณโดยรอบของร้านมคี วามสะอาด 7.2 ป้ายชือ่ ร้านสามารถมองเหน็ ได้ง่าย 7.3 อุปกรณท์ ี่ใช้ภายในรา้ นมีความสะอาด 7.4 การตกแตง่ ร้าน มีความเปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะตัว 7.5 การจดั เรียงอปุ กรณม์ ีความเป็นระเบียบ 7.6 มพี ืน้ ทส่ี าหรับให้ลูกคา้ ยืนรอเคร่ืองดื่ม ขอ้ เสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... การวเิ คราะหข์ ้อมลู การวจิ ัยทางธุรกิจ ด้วย Microsoft Excel กรวินท์ เขมะพันธ์มุ นสั

********************************************************* Email: [email protected] *********************************************************