Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.4การสร้างความสัมพันธ์

1.4การสร้างความสัมพันธ์

Published by Bodee Thanok, 2019-09-19 21:28:54

Description: 1.4การสร้างความสัมพันธ์

Search

Read the Text Version

โรงเรียนน้ำปลีกศึกษาโดย กลุ่มงานชุมชนและภาคีเครือข่าย ได้บริหารและปฏิบัติงานตามภารกิจ ของสถานศึกษาและภารกิจอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมายในปีการศึกษา ๒๕๖๒ ซึ่งโรงเรยี นได้จัดโครงสร้างการ บรหิ ารงานออกเป็น ๕ กล่มุ งาน กลมุ่ งานชมุ ชนและภาคีเครือข่าย เป็นหนึง่ ใน ๕ กลุ่มงานตามโครงสร้าง ท่ี มุ่งพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนซึ่งมีภาระงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษาตามที่ได้รับ มอบหมาย บัดนีก้ ารปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานโรงเรยี นมัธยมศกึ ษาได้ดำเนนิ งานมาระยะหน่ึงแล้วจงึ ไดส้ รปุ และ รายงานผลการปฏิบัตงิ านตามมาตรฐานโรงเรยี นมธั ยมศกึ ษาดังต่อไปนี้ งานชุมชนและภาคเี ครือข่ายฯ ๑. การสรา้ งความสมั พนั ธร์ ะหว่างโรงเรียนกับชมุ ชนและภาคีเครอื ขา่ ย ๑.๑ การรวบรวม และวิเคราะหข์ ้อมลู ของชมุ ชนและภาคีเครือข่าย ๑) การปฏบิ ัตงิ าน (๑) สำรวจความต้องการ การสำรวจขอ้ มูลพน้ื ฐาน (๒) การกำหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา (๓) การวางแผนพัฒนาสถานศกึ ษาตามวิสยั ทัศน์ พันธกจิ (๔) กิจกรรมการปฏบิ ตั ิ คือ แนวทางปฏิบัตทิ ่จี ะนำไปสู่ความสำเรจ็ (๕) การประเมนิ ผล คือ การประเมนิ แนวทางปฏบิ ตั ิ (๖) การสรุปผลการมีสว่ นรว่ ม เพอื่ พัฒนากระบวนการทำงานร่วมกนั การมีส่วนรว่ มของประชาชน และชมุ ชนในการจดั การศึกษา นับเป็นกระบวนการท่ีสำคัญ ทจี่ ะ ชว่ ยพัฒนาการศกึ ษาให้ตอบสนองความต้องการของท้องถ่นิ โดยเฉพาะในโรงเรยี นขนาดเล็ก หากชุมชนมีส่วน ร่วมในการสนบั สนุนทรัพยากรการศกึ ษา รวมถึงการเชญิ ผู้ปกครองท่ีมีความร้แู ละมีเวลาว่างมาเป็นครูพอ่ ครแู ม่ ให้ความรดู้ ้านวิชาการ ดา้ นภูมปิ ัญญากบั บุตรหลาน ยอ่ มเกิดผลดีท้ังต่อโรงเรยี นทีไ่ ด้บุคลากรเพิ่ม ส่วน ผปู้ กครองย่อมภาคภมู ใิ จท่ีได้สอนบตุ รหลานในโรงเรียน รวมถึงนักเรยี นที่จะมีความเคารพและนบั ถอื ในตวั ผู้ปกครองเพ่ิมมากขึน้ ซ่ึงเป็นการสรา้ งความสัมพันธ์ทีด่ ีกับชุนชม การจดั การศกึ ษาใหเ้ กดิ ผลดี มปี ระสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของประชาชน โดยเฉพาะ ผ้ปู กครอง ต้องอาศยั กระบวนการนำกระบวนการมีสว่ นร่วมมาใช้ ซึ่งพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.

๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับท่ี (๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ กล่าวถงึ การมสี ว่ นรว่ มไวใ้ นมาตรา ๘ (๒) ให้สงั คมมีส่วน ร่วมในการจดั การศกึ ษา ซึ่งสอดคล้องกบั รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ มาตรา ๕๘ ได้ บัญญตั ิเร่อื งการมีสว่ นร่วมไว้ว่า บคุ คลยอ่ มมสี ทิ ธมิ ีส่วนรว่ มในกระบวนการพจิ ารณาของเจ้าหน้าท่ขี องรฐั ใน การปฏบิ ตั ิราชการทางปกครองอนั มผี ลหรอื อาจมีผลกระทบตอ่ สทิ ธิและเสรีภาพของตน พระราชบัญญัติ การศกึ ษาแห่งชาติ สถานศึกษาท่จี ัดการศกึ ษาทุกระดบั จึงตอ้ งปฏิบัติตามโดยการเปิดโอกาสใหป้ ระชาชน ชุมชนเขา้ มามีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา ทง้ั น้ีเพราะเมื่อผู้ปกครองควรมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาย่อมจะ ชว่ ยขับเคลือ่ นใหก้ ารบรหิ ารจดั การศึกษาดำเนินไปตามความตอ้ งการของผ้ปู กครองและชุมชน ชว่ ยให้ สถานศกึ ษาได้รับการยอมรบั จากชุมชน ชุมชนรักและหวงแหนสถานศกึ ษา ซง่ึ ส่งผลให้ผู้ปกครองและชมุ ชน สนบั สนุนทรพั ยากรการศึกษา และให้ความรว่ มกบั สถานศึกษาในการดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ด้วยความเตม็ ใจ การมีสว่ นร่วมของประชาชนและชมุ ชน จงึ เปน็ กระบวนการท่เี ปิดโอกาสใหป้ ระชาชนได้เข้ามามสี ว่ น ร่วมในการจดั การศกึ ษาร่วมกับโรงเรียน เป็นกระบวนการเรียนรู้ซึ่งกันและกันของทุกฝ่าย นบั ตง้ั แตก่ ารแสดง ความคดิ เหน็ การวางแผน การดำเนินการและการแก้ไขปญั หา ตลอดจนการควบคมุ กำกับ ตดิ ตามและ ประเมนิ ผล เพ่ือประโยชนใ์ นการพฒั นาการศึกษาให้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ทต่ี ั้งไว้ ซ่งึ สามารถทำได้ท้ัง ทางตรง คือ รว่ มเป็นคณะทำงานและทางอ้อมรว่ มวางแนวทาง นโยบาย การมีสว่ นร่วมของผู้ปกครองและชุมชนในการจัดการศกึ ษา กระทรวงศึกษาธิการ (เอกสาร อบรมผูน้ ำการเปลี่ยนแปลงสำหรบั ผ้บู รหิ าร. ๓๕๕๐: ๘๘-๙๐) ได้เสนอแนวทางการมีส่วนร่วมไว้ ดงั น้ี ๑. การมสี ว่ นร่วมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โดยสถานศึกษาสามารถเปดิ โอกาสให้ ผปู้ กครองและชมุ ชนจัดสร้างหลกั สตู รสถานศึกษา และกำกบั ตดิ ตามการใช้หลักสูตรสถานศกึ ษา ๒. การมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา การสรา้ งความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษากับผปู้ กครอง และชุมชนเปน็ ยุทธศาสตรท์ ีจ่ ำเปน็ อยา่ งย่งิ ผูบ้ ริหารและบุคลากรในสถานศึกษาควรระลึกถึง ซง่ึ มีหลกั ๑๐ ประการ คือ ๑) สรา้ งความศรัทธาและความเชื่อมนั่ ต่อชุมชน, ๒ ฝกึ ใหเ้ ปน็ คนใจกวา้ งและมีจติ สาธารณะ, ๓) ตระหนกั ในสง่ิ ทีจ่ ำเปน็ และขาดแคลน ไมว่ างเฉย ทกุ อย่างทำได้หากตง้ั ใจทำ, ๔) ต้องหม่นั สร้างและปรุงแต่งตนเองใหเ้ ปน็ บุคคลที่มีเสน่ห์เป็นทช่ี ่ืนชมศรทั ธาของชุมชนและ เพือ่ รว่ มงาน ๕) ออ่ นน้อมถ่อมตน วางตวั เรยี บง่าย อยกู่ บั ชมุ ชนและเพ่ือนรว่ มงานได้ทุกเวลา,

๖) หลีกเลย่ี งการโต้แย้งท่ีไรเ้ หตุผล พัฒนาทกั ษะการประนีประนอม, ๗) ให้การต้อนรับชุมชนด้วยบรรยากาศมิตรภาพ, ๘) พฒั นาเทคนิคการวเิ คราะหช์ ุมชนใหล้ ึกซึง้ เพ่ือสำรวจจดุ เด่น จดุ ดอ้ ย เพ่ือเปน็ ฐานข้อมูล ในการพฒั นา, ๙) หมน่ั แสวงหาแหลง่ งบประมาณ วัสดุ ครุภณั ฑ์ จากหนว่ ยงาน บรษิ ัท ห้าง ร้านค้า โดยใช้ โครงการทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ๑๐) สร้างและพฒั นาค่านิยมการสรา้ งสมั พนั ธภาพกับชมุ ชนอย่างสมำ่ เสมอ ๕ กระบวนการมสี ว่ นร่วมของชุมชนในการจดั การศกึ ษา ควรดำเนนิ การ ดงั น้ี ๑) สำรวจความ ต้องการ การสำรวจขอ้ มูลพืน้ ฐาน,๒ ) การกำหนดมาตรฐานของสถานศกึ ษา, ๓) การวางแผนพัฒนา สถานศกึ ษาตามวิสัยทัศน์ พนั ธกิจ, ๔) กิจกรรมการปฏิบัติ คือ แนวทางปฏิบตั ทิ ี่จะนำไปสู่ความสำเรจ็ , ๕) การประเมินผล คือ การประเมินแนวทางปฏิบัติ, และ ๖) การสรุปผลการมสี ว่ นร่วม เพอื่ พัฒนา กระบวนการทำงานรว่ มกนั การมีส่วนร่วมของประชาชน และชมุ ชนในการจดั การศกึ ษา นับเป็นกระบวนการท่สี ำคัญ ทจี่ ะ ช่วยพฒั นาการศกึ ษาใหต้ อบสนองความต้องการของท้องถิน่ โดยเฉพาะในโรงเรยี นขนาดเล็ก หากชมุ ชนมสี ว่ น ร่วมในการสนับสนนุ ทรพั ยากรการศกึ ษา รวมถงึ การเชิญผู้ปกครองทีม่ ีความรู้และมเี วลาวา่ งมาเป็นครูพอ่ ครแู ม่ ใหค้ วามรู้ด้านวิชาการ ดา้ นภูมปิ ัญญากับบุตรหลาน ย่อมเกิดผลดที ัง้ ต่อโรงเรยี นท่ไี ดบ้ ุคลากรเพม่ิ ส่วน ผู้ปกครองย่อมภาคภูมใิ จท่ีได้สอนบุตรหลานในโรงเรยี น รวมถึงนักเรียนท่ีจะมีความเคารพและนับถือในตวั ผปู้ กครองเพิ่มมากข้ึน ซึ่งเป็นการสรา้ งความสัมพนั ธท์ ี่ดีกับชนุ ชม ภาพประกอบ

๒) ผลท่ีเกดิ จากการปฏิบัตงิ าน (๑) มกี ารแต่งต้ังผรู้ ับผดิ ชอบเป็นลายลกั ษณ์อักษร (๒) มีการวเิ คราะห์ข้อมลู สภาพแวดล้อมของชมุ ชนและภาคเี ครอื ขา่ ย (๓) มกี ารจัดระบบฐานข้อมลู สารสนเทศของชุมชนและภาคเี ครอื ข่าย (๔) มีการพัฒนาข้อมูลของชุมชนและภาคีเครือขา่ ย.ให้ครบถ้วนและเปน็ ปัจจุบนั ๓) เอกสารอ้างอิง ในภาคผนวก ได้แก่ รปู ภาพ สอบถามบคุ ลากรท่ีเกย่ี วข้อง ๑.๒ การดำเนนิ งานสร้างความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งโรงเรยี นกับชมุ ชนและภาคีเครือข่าย ๑) การปฏิบัติงาน (๑) การกำหนดนโยบาย เปา้ หมายการจัดการศกึ ษาแกส่ ถานศกึ ษา, (๒) การประชาสัมพนั ธ์ สนับสนนุ กิจกรรมทางการศึกษา, (๓) การเป็นผู้สนับสนนุ ทรพั ยากรและบุคลากรในการจัดการศึกษา (๔) การตรวจสอบการจดั การศกึ ษา (๕) การมสี ่วนร่วมในการจัดและสง่ เสรมิ กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรยี นท้ังทบ่ี า้ นและ ทส่ี ถานศึกษา ภาพประกอบ

๒) ผลท่เี กิดจากการปฏบิ ตั ิงาน (๑) ความสัมพนั ธร์ ะหว่างโรงเรยี นกับชมุ ชนและภาคีเครอื ข่ายมมี ากข้ึน (๒) โรงเรียนมแี ผนการสรา้ งความสัมพนั ธ์ระหว่างโรงเรียนกบั ชมุ ชนและภาคี เครอื ข่าย โดยชมุ ชน ภาคเี ครอื ข่าย และผู้มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งมามีส่วนร่วมในการวางแผน (๓) มกี ารประเมินผลการดำเนนิ งานและเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ ๓) เอกสารอา้ งอิง ในภาคผนวก ได้แก่ รปู ภาพ สอบถามบุคลากรท่ีเก่ยี วข้อง ๒. การให้บริการชมุ ชน ๒.๑ การใหบ้ ริการชุมชน ๑) การปฏบิ ัตงิ าน การสอนใหผ้ เู้ รียนนำความรไู้ ปใช้ในครอบครัวและชุมชน เช่น การละเว้นจากยาเสพตดิ การ ลดละเลกิ อบายมุข การลดละเลกิ ใชย้ าฆ่าแมล่ ง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟา้ การปลูกผกั ปลอดสารพษิ การปลูก ป่ารกั ษาธรรมชาตสิ ิง่ แวดล้อม ฯลฯ เนื้อหาวิชาเหล่านเี้ ม่ือผู้เรยี นเรยี นในสถานศึกษาแล้ว ผ้สู อนจะย้ำให้ ผู้เรียนนำไปใช้ในครอบครวั และชมุ ชน และติดต่อประสานงานกบั ผู้ปกครองใหอ้ บรมดูแลวา่ ผู้เรยี นว่านำ ความรไู้ ปใช้หรือไม่อยา่ งไรอีกดว้ ย ใหค้ วามช่วยเหลือให้บริการชุมชน ซึง่ ไดด้ ำเนนิ การได้อย่างหลากหลาย เชน่ (๑) ใหค้ วามชว่ ยเหลือในดา้ นความรู้และเผยแพร่ความรใู้ หม่ๆแกป่ ระชาชนในชมุ ชน เช่น ความรู้

เก่ยี วกับอาหาร โรคภัยไข้เจ็บตา่ งๆ การรักษาโรคแบบธรรมชาตบิ ำบัด อนั ตรายจากยาฆา่ แมล่ งในผักผลไม้ การเกษตรทฤษฎใี หม่ เกษตรกรรมทางเลือก เป็นต้น (.๒) จดั บริการขา่ วสารเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนในชุมชน เชน่ สถานศกึ ษาทำ แผ่นพับท่เี ปน็ ความรู้เพื่อประชาชนจะได้นำไปใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้ หรืออา่ นข่าวสารความร้เู กยี่ วกบั การรักษา สขุ ภาพอนามัยเป็นตน้ (๓) การเปน็ ผนู้ ำและใหค้ วามรว่ มมือในการพัฒนาชมุ ชน สถานศึกษาไดด้ ำเนินการโดยจดั โครงการพัฒนาชุมชน โดยชมุ ชนสนบั สนนุ ดา้ นบคุ ลากรและวัสดอุ ุปกรณ์ เชน่ ทำความสะอาดวดั เป็นตน้ (๔ ) บริการเกยี่ วกับอาคารสถานทข่ี องสถานศกึ ษาแกป่ ระชาชนในชุมชน เชน่ ให้ประชาชน ในชุมชนใชห้ อประชุม ใช้ห้องสมดุ ใชห้ ้องพยาบาล ใชโ้ รงอาหาร และใช้สนาม-กีฬา เป็นต้น (๕) การออกเย่ียมเยยี นผ้ปู กครอง และผู้เรียนตามบา้ น เชน่ เมอื่ ผ้เู รยี นเจบ็ ป่วยรวมท้งั การ เข้าร่วมกจิ กรรมของชุมชน เช่น รว่ มงานการทอดกฐินทว่ี ดั ร่วมงานมงคลในชมุ ชน เป็นต้น (๖) การประชาสมั พันธ์สถานศึกษา เช่นจดั ใหม้ สี งิ่ พมิ พเ์ พ่ือเผยแพรข่ า่ วสารของสถานศกึ ษา จดั ใหม้ ีเจา้ หนา้ ที่ประชาสัมพันธเ์ พ่ือให้ขอ้ มลู แก่ผมู้ าติดตอ่ สอบถามหรือใหค้ วามสะดวกแก่ผูม้ าติดต่อ สถานศึกษา (๗) การเชิญผู้ปกครองและประชาชนในชมุ ชนมาประชมุ เช่นในวนั ปฐมนเิ ทศนักเรยี นใหม่ วันเปิดเรยี นในภาคเรยี นแรกของปีการศึกษา เปน็ ต้น (๘) การรายงานผลการเรยี นและอน่ื ๆให้ผปู้ กครองทราบ เชน่ การรายงานเป็นประจำวนั หรอื การทำสมดุ พกประจำตัวนักเรียน ซึง่ จะมีท้งั ผลการเรยี น ความประพฤติ สุขภาพ และอน่ื ๆ (๙) การใช้ทรัพยากรท้องถ่ินในงานวชิ าการ แบ่งออกได้เป็น 4 ข้อย่อย ดงั นี้ ๙.๑ ทรัพยากรบคุ คล ไดแ้ ก่ นกั วชิ าการ ครอู าจารยจ์ ากสถานศกึ ษาอ่ืน ศลิ ปิน-พื้นบา้ น ผู้ อาวโุ ส ผเู้ ปน็ ปชู นยี บคุ คลในหมูบ่ า้ น ผูป้ กครองนักเรยี น ซึ่งนำมาใชใ้ นลักษณะของคำปรึกษาและ ข้อเสนอแนะ หรือเชญิ เป็นวิทยากรให้ความรแู้ กผ่ เู้ รยี น เปน็ ต้น ๙.๒ ทรัพยากรวัตถทุ ่มี นุษยส์ รา้ งขน้ึ ได้แก่ โสตทัศนปู กรณ์ สถานศกึ ษาอนื่ นำมาใช้ใน ลกั ษณะของการสนบั สนุนวสั ดุอปุ กรณ์การศกึ ษา การร่วมมือทางวิชาการ เปน็ ต้น

๙.๓ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ป่าไม้ สมนุ ไพร ซึ่งจะนำมาใช้ในลักษณะเป็นสอื่ การเรยี น การสอน การไปทัศนศึกษา การชว่ ยกนั อนรุ ักษ์ไว้ เป็นตน้ ๙.๔ ทรพั ยากรสงั คม ได้แก่ วันสำคัญ ศลิ ปะพ้นื บ้าน วฒั นธรรมพ้ืนบา้ น โบราณวัตถุสถาน ประเพณีตา่ งๆ ซ่ึงจะนำมาใชไ้ ด้ในลักษณะให้ครูอาจารย์ นสิ ิต นักศึกษา นกั เรียนเข้าร่วมกิจกรรมโดยตรง, จัด นทิ รรศการ, การศึกษาหาข้อมูลเพอื่ จะได้ช่วยกนั อนุรกั ษไ์ ว้ เปน็ ตน้ ภาพประกอบ ๒) ผลท่ีเกิดจากการปฏิบัติงาน (๑) มกี ารใหบ้ ริการในดา้ นวิชาการ (๒ ) มีการใหบ้ รกิ ารดา้ นอาคารสถานที่ (๓) มกี ารใหบ้ ริการดา้ นวสั ดุ อุปกรณ์ ครุภณั ฑ์ (๔) มกี ารให้บิการดา้ นบุคลากร ๓) เอกสารอ้างอิง ในภาคผนวก ไดแ้ ก่ สอบถามจากบุคลากร รปู ภาพกิจกรรม ๓. การมสี ว่ นร่วมในการพัฒนาชมุ ชน ๓.๑ โรงเรียนจัดกิจกรรมเพือ่ พัฒนาชมุ ชน

๑) การปฏิบตั งิ าน (๑) มีการประชาสัมพนั ธ์ และบริการขา่ วสารแก่ชุมชน (๒ ) มีการจัดกจิ กรรมพฒั นาชุมชน และชมุ ชนสนใจเข้ารว่ มกจิ กรรม (๓ ) มกี ารประเมินผลการจัดกิจกรรมพัฒนาชุมชน (๔ ) มีการปรับปรงุ และพัฒนาการจัดจดั กิจกรรมเพ่อื พัฒนาชุมชน ภาพประกอบ ๒) ผลทเี่ กิดจากการปฏบิ ตั ิงาน (๑) มกี ารประชาสมั พันธ์ และบริการข่าวสารแก่ชุมชน (๒ ) มกี ารจัดกจิ กรรมพฒั นาชุมชน และชุมชนสนใจเขา้ รว่ มกิจกรรม (๓ ) มกี ารประเมนิ ผลการจัดกจิ กรรมพฒั นาชมุ ชน (๔ ) มีการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดจดั กจิ กรรมเพือ่ พฒั นาชมุ ชน ๓) เอกสารอ้างอิง ในภาคผนวก ไดแ้ ก่ รปู ภาพ สอบถามบคุ ลากรที่เกย่ี วข้อง ๓.๒ โรงเรยี นให้ความรว่ มมือในการพัฒนาชุมชน ๑) การปฏบิ ตั งิ าน ภาพประกอบ

๒) ผลทเ่ี กดิ จากการปฏิบตั งิ าน (๑) มกี ารรว่ มมือกับชุมชนในการพฒั นาชมุ ชน (๒ ) โรงเรยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมพัฒนาชุมชนอยา่ งต่อเนื่อง (๓ ) โรงเรยี นกับชุมชนมคี วามสัมพันธ์กนั เป็นอยา่ งดี (๔ ) มีการปรบั ปรุงและพฒั นาการใหค้ วามร่วมมอื ในการพัฒนาชมุ ชน ๓) เอกสารอา้ งองิ ในภาคผนวก ได้แก่ รูปภาพ สอบถามบุคลากรที่เกย่ี วข้อง ๔.. การไดร้ ับการสนบั สนุนจากชมุ ชน ๔.๑ การจัดตง้ั องค์กร เพ่ือสนับสนนุ โรงเรยี น ๑) การปฏิบตั ิงาน (๑) เชิญศิษยเ์ ก่าประชมุ (๒ ) สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั ตงั้ องค์กร ภาพประกอบ ๒) ผลทเี่ กดิ จากการปฏบิ ัตงิ าน (๑) มอี งคก์ รท่สี นบั สนนุ โรงเรยี น คณะศิษย์เกา่ (๒ มผี ลงานท่ีสนบั สนุนโรงเรียน อาทิ Cover Way รถโรงเรยี น ๓) เอกสารอ้างองิ ในภาคผนวก ไดแ้ ก่ สอบถามผ้เู กี่ยวขอ้ ง หลักฐานทีป่ รากฎ ๔.๒ โรงเรยี นไดร้ ับการสนับสนนุ จากชมุ ชน ๑) การปฏิบตั ิงาน

ภาพประกอบ ๒) ผลที่เกิดจากการปฏิบตั งิ าน (๑) ชมุ ชนสนับสนุนโรงเรียนโดยมีหลักฐานให้ตรวจสอบได้ (๒) โรงเรยี นไดร้ ับการสนบั สนนุ ทส่ี อดคล้องกบั ความต้องการ

ต่อเนื่อง (๓) โรงเรียนไดร้ บั ความร่วมมือและการสนับสนุนจากชมุ ชนอยา่ งหลากหลาย และ ๓) เอกสารอา้ งองิ ในภาคผนวก ได้แก่ สอบถามบุคลากรท่ีเก่ียวข้อง รูปภาพ. ๕. การประเมนิ ผลการดำเนินงานงานชุมชนและภาคีเครือขา่ ย ๕.๑ การประเมนิ ผลการดำเนินงานชมุ ชนและภาคีเครือข่าย ๑) การปฏบิ ัตงิ าน (๑) นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม การดำเนนิ งานชุมชนและภาคเี ครือขา่ ย (๒) ประเมนิ ผลการดำเนนิ งานชุมชน และภาคเี ครือข่าย (๓) มึการวิเคราะหผ์ ลการประเมนิ การดำเนนิ งานชมุ ชน และภาคเี ครือข่าย ภาพประกอบ ๒) ผลท่ีเกิดจากการปฏิบัติงาน (๑) มรี ่องรอย หลักฐานการประเมินผลการดำเนินงานชมุ ชนและภาคีเครือขา่ ย (๒ ) มีการประเมนิ ผลการดำเนินงานชมุ ชน และภาคเี ครือข่าย (๓) มีการนำผลการวเิ คราะหไ์ ปใช้ในการปรบั ปรุง พฒั นาการดำเนินงานชมุ ชน และ ภาคีเครือข่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook