Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อโลกปัจจุบัน

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อโลกปัจจุบัน

Published by krujee2104, 2022-08-28 11:04:26

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อโลกปัจจุบัน

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 4-6 กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 4 เหตกุ ารณส์ าคญั ทางประวตั ศิ าสตรฯ์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ • วเิ คราะหเ์ หตกุ ารณส์ าคญั ตา่ งๆ ทีส่ ง่ ผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม เศรษฐกจิ และการเมืองเขา้ สูโ่ ลกสมยั ปัจจุบนั ได้ • วเิ คราะห์ผลกระทบของการขยายอทิ ธิพลของประเทศในยโุ รป ไปยัง ทวีปอเมริกา แอฟรกิ า และเอเชียได้

เหตุการณส์ าคญั ในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) ระบอบการปกครองแบบฟวิ ดัล • สังคมฟวิ ดลั แบง่ ประชากรออกเปน็ 3 ฐานันดร ฐานนั ดรท่ี 1 คอื พระราชวงค์-ขนุ นาง (อัศวนิ ) มหี น้าท่ีในการตอ่ สู้ ฐานันดรท่ี 2 คือพวกนักบวชมหี นา้ ทส่ี วดมน์ภาวนา และ ฐานันดรที่ 3 คือชาวนา-ทาสตดิ ท่ดี นิ มีหนา้ ท่ี ในการทาไร่ไถนา บุตรหลานขุนนางทกุ คนท่ี เป็นชายจะต้องผา่ นการฝกึ อบรม “ศาสตร์ อัศวนิ ” ตั้งแตเ่ ยาว์วยั เมอื่ มอี ายบุ รรลนุ ติ ิ ภาวะจะไดร้ ับตาแหน่งเปน็ อศั วิน และมีสิทธิ ในดารสวมใส่เสือ้ เกราะและทาการรบได้

เหตุการณ์สาคญั ในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) สงครามครเู สด • เป็นสงครามศาสนาระหว่างชาวครสิ ตก์ ับชาวมุสลมิ เกดิ ขน้ึ ใน ค.ศ. 1096 และสนิ้ สดุ ลงใน ค.ศ. 1291 • เปน็ เหตุการณส์ าคญั ท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ ยโุ รปอย่างมาก เพราะ ทาใหม้ กี ารเปลย่ี นแปลงในการดาเนนิ ชีวติ ระบอบการ ปกครอง การสรา้ งสมวัฒนธรรม การศึกษาและอ่นื ๆ มากกว่าเหตกุ ารณใ์ ดๆ ในประวตั ศิ าสตร์สมัยกลาง ภาพวาดการสรู้ บระหวา่ งจักรพรรดชิ าร์ล มาร์เตลกบั พวกมุสลิมทีเ่ มอื ง ตรู ์ ซ่ึงชาวคริสตเ์ ป็นฝา่ ยชนะทาาให้ดนิ แดนยุโรปตะวันตกรอดพน้ จาก การถกู ยึดครองของพวกมสุ ลิม

เหตุการณส์ าคญั ในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) สงครามครูเสด เส้นเวลาแสดงเหตุการณส์ าคญั ในประวัติศาสตร์ ค.ศ. 1147-1149 สงครามครเู สดครั้งที่ 2 ค.ศ. 1291 สิ้นสดุ สงครามครเู สด ค.ศ. 1202-1204 สงครามครเู สดคร้งั ที่ 4 ค.ศ. 1248-1254 สงครามครเู สดคร้ังท่ี 7 ค.ศ. 1100 ค.ศ. 1200 ค.ศ. 1300 ค.ศ. 1228-1229 สงครามครูเสดครง้ั ท่ี 6 ค.ศ. 1271-1291 สงครามครเู สดคร้ังที่ 9 ค.ศ. 1096-1099 สงครามครเู สดครั้งท่ี 1 ค.ศ. 1218-1221 ค.ศ. 1270 สงครามครูเสดครงั้ ท่ี 5 สงครามครเู สดคร้งั ท่ี 8 ค.ศ. 1189-1192 สงครามครูเสดครงั้ ท่ี 3

เหตุการณ์สาคญั ในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟน้ื ฟศู ลิ ปวิทยาการ • การตดิ ต่อกับตะวนั ออกในสงครามครูเสดทาให้ 1) สาเหตุของการฟ้นื ฟศู ิลปวิทยาการ ชาวตะวนั ตกสนใจวิทยาการตา่ งๆ ในอดตี ภาพวาดทิวทัศนข์ องนครรฐั ฟลอเรนซ์ทมี่ ีการเจรญิ เติบโต จงึ เหมาะแก่ • ความมั่งค่ังจากการค้าทาใหเ้ กดิ ความสนใจในด้าน การเป็นศูนย์กลางของการฟื้นฟศู ิลปวิทยาการในทวีปยโุ รป ศิลปวิทยาการ มีการแขง่ ขนั กันในการสะสมงาน ศิลปะและสร้างงานศิลปะทเ่ี ลียนแบบกรีก-โรมนั จนเกิดเป็นการฟ้ืนฟูศลิ ปวิทยาการของกรีก-โรมัน • ชาวอิตาลีมมี โนทัศนใ์ หมท่ ่ีมงุ่ หวังใหบ้ คุ คลในอุดม คติมีความรู้รอบและรอบร้ทู างดา้ นศลิ ปวฒั นธรรม โดยเฉพาะในนครรัฐฟลอเรนซแ์ ละมลิ าน

เหตุการณส์ าคัญในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟื้นฟศู ลิ ปวทิ ยาการ • ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 14 ชาวตะวันตกเรม่ิ ใหค้ วามสนใจต่อชวี ิตใน 2) ลกั ษณะของการฟืน้ ฟูศลิ ปวิทยาการ ปัจจุบนั และความสวยงามของโลก โดยเหน็ วา่ มนษุ ย์สามารถ แสวงหาความสุขไดแ้ ม้จะมีบาปติดตัว ทัง้ มนษุ ยย์ งั มีความสามารถ ท่ีจะพฒั นาตนเองได้ ความคดิ ดังกลา่ วทาให้ชาวตะวนั ตกใน ขณะนน้ั สนใจในพฤติกรรมและการเรียนร้สู รา้ งสรรค์ของมนุษย์จน เกดิ เปน็ ลทั ธมิ นุษยนยิ ม (Humanism) • นักมนุษยนยิ มมุง่ สู่การเรียนรู้ทางโลก โดยศึกษางานเขยี นและ วรรณกรรมของกรีกและโรมันโบราณท่สี อดแทรกปรชั ญา และ แนวทางในการดาเนินชีวติ ให้มคี วามสุขในโลกปัจจบุ นั ภาพวาดฟรันเซสโก เปตรากา ชาวอิตาลี ผู้ได้รับการยกย่องให้เปน็ บิดาแหง่ มนษุ ยนยิ ม

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟ้นื ฟูศลิ ปวิทยาการ 2) ลักษณะของการฟื้นฟศู ิลปวทิ ยาการ • นอกจากน้ยี งั เกิดกลุ่มฆราวาสจานวนมากเดนิ ทางไปเป็นอาจารยเ์ พ่ือสอนหนังสือแก่บุตรหลานของขนุ นาง ดหบดี และพ่อคา้ ทาให้อาชีพสอนหนังสอื ไม่ไดผ้ ูกขาดโดยนกั บวชอีกต่อไปวิชาทีส่ อนกเ็ ปน็ วชิ าดา้ นศิลปศาสตร์ (liberal arts) เพ่ือ \"ปลดปล่อย\" (liberate) จติ วญิ ญาณของมนษุ ย์ให้เป็นอิสระและใหม้ ีจนิ ตนาการ และหันมาสนใจใน งานสร้างสรรค์ของมนษุ ยใ์ นด้านวรรณคดแี ละปรชั ญา เพอ่ื ให้มีความร้รู อบและอา่ นรอบในงานประพนั ธท์ ่แี ตง่ ด้วย ภาษาละดินและภาษากรีก • ใน ค.ศ. 1453 เมื่อกรงุ คอนสแตนติโนเปิลแตก นกั ปราชญช์ าวกรีกได้หนภี ยั จากการรุกรานของพวกเติรก์ พร้อมกบั หอบตารบั ตาราโบราณจานวนมากมายงั คาบสมทุ รอิตาลี ทาใหก้ ารฟ้นื ฟศู ิลปวทิ ยาการขยายตัวกว้างขวางในโลก ตะวนั ตกมากย่งิ ข้นึ

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟ้ืนฟศู ลิ ปวทิ ยาการ 3) มรดกทางวฒั นธรรม • งานประพนั ธแ์ รกๆ ที่แหวกแนวจากวรรณกรรมสมัยกลางโดยเน้น เรือ่ งทางโลก ได้แก่ บทเพลงรัก หรือ Sonnet หรอื บทเพลงรักของเป ตราก Decameron ของโจวานนี บ็อกกัซซโิ อ (Giovanni Boccacio, ค.ศ. 1313 - 1375) • เจ้า (The Prince) ของนโิ คโล มาคีเวลลี (Nicolo Machiavelli, ค.ศ. 1465 - 1527) ท่ีบรรยายถึงลกั ษณะผู้ปกครองวา่ ต้องใช้ทัง้ อานาจและกลโกง

เหตุการณส์ าคญั ในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟนื้ ฟศู ิลปวิทยาการ 3) มรดกทางวฒั นธรรม • ยโู ทเปีย (Utopia) ของเซอร์ทอมสั มอร์ (Sir Thomas More, ค.ศ. 1477 - 1535) ทก่ี ล่าวถึงเมืองในอดุ มคติท่มี นุษยส์ ามารถหาความสขุ ได้ และใช้เน้ือหาในหนงั สือเป็นเคร่อื งมอื ในการวพิ ากษว์ จิ ารณ์สังคม ทั้งเสนอแนะแนวทางในการแกไ้ ขปัญหาตา่ งๆ ภาพวาดเซอร์ทอมัส มอร์ นกั มนษุ ยนิยมชาวอังกฤษ ผแู้ ต่งเรือ่ งยูโทเปีย เขาถูกพระ เจ้าเฮนรที่ ่ี 8 ส่ังประหารเพราะไมย่ อมรบั นิกายแองกลิคันหรอื นิกายอังกฤษ

เหตุการณส์ าคัญในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟ้ืนฟูศลิ ปวิทยาการ 3) มรดกทางวัฒนธรรม • วิลเลยี ม เซกสเปียร์ (William Shakespeare, ค.ศ. 1564 - 1616) เปน็ นกั แต่งบทละครทมี่ ีชื่อเสยี ง ผลงาน ประพนั ธข์ องเขาไดร้ ับอิทธิพลของบทละครกรกี และมาปรับให้เข้ากับสถานการณใ์ นขณะนนั้ • บทละครของเขาท่เี ปน็ ทีร่ จู้ ักกันดี ไดแ้ ก่ โรมโิ อและจเู ลยี ต (Romeo and Juliet) เวนิสวานิช (The Merchant of Venice) คงิ เลียร์ (King Lear) แมกเบท (Macbeth) และฝนั กลางคนื ฤดรู อ้ น (A Midsummer Night's Dream) เปน็ ตนั • ซึ่งบทละครเหล่านีส้ ะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ความหลากหลายของปัจเจกชน อารมณ์และความรู้สกึ ในสมยั กลาง งานศลิ ปะ สว่ นใหญ่มักมีลักษณะแขง็ กระดา้ งและขาดชวี ติ ชวี าศิลปนิ จงึ เร่มิ หาแนวทางในการ สรา้ งงานศิลปะ โดยใช้ผลงาน ของกรกี -โรมันท่ีเป็นธรรมชาติมาเป็นแมแ่ บบ ในขณะเดียวกนั กป็ ฏิเสธงานสรา้ งสรรคข์ องสมัยกลาง

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั กลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ • มสั ซกั ซโี อ (Massacio, ค.ศ. 1401 - 1428) เป็นจิตรกรอิตาลคี นแรก 3) มรดกทางวัฒนธรรม ท่ีนาเทคนคิ การวาดภาพ 3 มิตมิ าใช้ จนเกิดแนวคดิ ใหม่ทวี่ ่าลกั ษณะ ทส่ี มจริงนนั้ เปน็ อย่างไร Masaccio, Portrait of a Young Man (1425) - wood, National Gallery of Art, Washington, D.C. • ตอ่ มามีการแยกงานภาพเขียนและงานแกะสลกั ออกจากงาน สถาปัตยกรรม ช่างเขยี นเริ่มนยิ มสรา้ งภาพเขยี นดว้ ยเทคนคิ สเี ฟรสโก (fresco) หรอื สีปนู เปียกตามผนงั วิหาร โบสถแ์ ละบา้ นของขนุ นาง และคหบดี ทาให้ฝาผนงั อาคารตา่ งๆ มคี วามสวยงามมากขนึ้

เหตุการณส์ าคัญในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟน้ื ฟูศิลปวทิ ยาการ 3) มรดกทางวฒั นธรรม • ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 15 - 16 ศิลปกรรมของอิตาลีได้พฒั นาจนถึงขดี สูงสดุ และเป็นแม่แบบใหแ้ ก่ศลิ ปนิ ของชาติอนื่ ๆ ในยโุ รป ศิลปินท่มี ี ช่ือเสียงท่ีสดุ ไดแ้ ก่ เลโอนารโ์ ด ดา วินชี ภาพ “โมนา ลซิ า” ผลงานของเลโอนารโ์ ด ดาวินชี จิตรกรชาวอิตาลี (Leonardo da Vinci, ค.ศ. 1452 - 1519) ซ่งึ ถอื เป็น “มหาศลิ ปนิ แห่งศิลปนิ ทัง้ ปวง” เขาได้รับการยกย่องว่าเป็นทง้ั จติ รกร กวี นักดนตรี วิศวกร นักวทิ ยาศาสตร์ และอ่นื ๆ ภาพ “โมนา ลิซา” ผลงานของเลโอนารโ์ ด ดาวนิ ชี จติ รกรชาวอติ าลี

เหตกุ ารณ์สาคัญในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟนื้ ฟูศิลปวทิ ยาการ 3) มรดกทางวัฒนธรรม • ต่อมาในดริสตศ์ ตวรรษที่ 17 รปู แบบของศิลปกรรมในยดุ ฟื้ นฟศู ิลปวทิ ยาการก็ไดม้ กี ารพฒั นาจนมรี ูปแบบ อลงั การ หรหู รา ฟงุ้ เฟ้อและแวววบั ด้วยสที อง เกิดเป็นศิลปะบาโรก (Baroque) • ในฝร่งั เดส ศลิ ปะบาโรกถกู นาไปใชเ้ พอ่ื สรา้ งดวามสุขและดวามหรหู ราแก่ชนชั้นสูง เชน่ การออกแบบ พระราชวังแวร์ซายของพระเจ้าหลยุ ส์ท่ี 14 (Louis XIV, ค.ศ. 1643 - 1715) เปน็ ตน้ • ตอ่ มาในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 18 เมืองหลวงของประเทศตง่ ๆ โดยเฉพาะในดนิ แดนเยอรมันก็เกดิ การพฒั นารปู แบบ งานศลิ ปะทใ่ี หอ้ ิสระแกจ่ นิ ตนาการและการใชแ้ สง โดยเนน้ ความสวา่ งมากข้นึ จงึ มผี เู้ รยี กศลิ ปะบาโรกในเวลา ต่อมาว่า ศลิ ปะโรโกโก ซึง่ รูปแบบของศลิ ปกรรมทง้ั หมดยงั คงเป็นท่ีนยิ มในการสร้างโบสถว์ ิหาร และดฤหาสนท์ ้งั ในและนอกยุโรปในปจั จบุ ัน

เหตุการณส์ าคญั ในสมัยกลาง (ค.ศ. 476-1492) การฟ้ืนฟูศิลปวิทยาการ เส้นเวลาแสดงเหตุการณส์ าคัญในประวตั ิศาสตร์ ค.ศ. 1400 เมืองฟลอเรนซ์ ค.ศ. 1513 นิโคโล มาคอี าเวลลี เขยี น กลายเปน็ ผูน้ าสมัยฟลอเรนซ์ เรอื่ งเจา้ (The Prince) ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1450 ค.ศ. 1500 ค.ศ. 1600 ค.ศ. 1454 โยฮนั น์ กเู ตนเบิรก์ ค.ศ. 1516 เซอร์ทอมัส มอรเ์ ขยี นเรือ่ ง จดั พิมพ์คมั ภรี ์ไปบเบลิ “ยโู ทเปีย” (Utopia) ค.ศ. 1540 มเิ กลันเจโล จดั แสดงรปู สลกั “ลา ปิเอตา”

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั ใหมจ่ นถึงสมัยปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จุบนั ) การค้นพบและการสารวจทางทะเล • เรมิ่ ทา้ ยทายแนวคิดทางธรรมชาติและจักรวาลวิทยา ความเชอ่ื วา่ โลกแบนกลายเป็นเรือ่ งราวท่เี หลวไหลไรส้ าระ ภาพวาดเรอื เดนิ สมุทรทช่ี าวยโุ รปใช้ในการเดนิ ทาง มายงั โลกตะวนั ออก โดยมกี ารตดิ ผ้าใบผืนใหญ่ • บรรยากาศของการแสวงหาและการค้นหาคาตอบใหก้ บั ตนเอง ทาาให้เรอื รบั ลมไดด้ ีและแลน่ ไดเ้ รว็ ข้ึน เก่ียวกับธรรมชาติรอบตวั ไดผ้ ลักดันใหช้ าวยโุ รปในยคุ ฟื้นฟู ศลิ ปวิทยาการหันมาสนใจกบั ความล้ีลับของทอ้ งทะเลทก่ี ั้นขวาง พวกเขากบั โลกของชาวตะวันออก • พวกเตริ ก์ สามารถยดึ ครองกรุงคอนสแตนตโิ นเปลิ และจกั รวรรดไิ บ แซนไทนไ์ ดท้ ง้ั หมดใน ค.ศ. 1453 ซง่ึ มผี ลทาให้โลกของศาสนจกั ร ทางตะวันออกใกลต้ ้องตกอยู่ในอานาจของมุสลมิ • ผลกระทบท่ีสาคัญ ได้แก่ การคา้ ทางบกระหวา่ งตะวนั ตกกบั ตะวันออกตอ้ งชะงักงนั ลงและทาให้สนิ คา้ มรี าคาสงู มากข้นึ

เหตุการณส์ าคญั ในสมัยใหมจ่ นถึงสมยั ปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ ัน) การค้นพบและการสารวจทางทะเล 1) การแข่งขนั สารวจเสน้ ทางเดินเรอื ระหวา่ งโปรตุเกสกับสเปน • ชาวยโู รปเร่มิ ให้ความสนใจและพยายามแสวงหา เสน้ ทางเดนิ เรือมายังตะวันออก มีการใช้นวัตกรรม ทางการเดินเรอื ทะเล โดยดัดแปลงเรอื ให้มขี นาดใหญ่ ตามแบบเรอื ตะวนั ตก • บคุ คลสาคญั ทมี่ คี ุณูปการต่อการเดนิ เรอื ได้แก่ เจา้ ชายเฮนรี ราชนาวิก พระองคท์ รงจัดตงั้ โรงเรียน ราชนาวีข้นึ ที่แหลมซาเกรส (Cape Sagres) ให้เป็น ศูนย์กลางการเรียนรูว้ ิทยาการสมยั ใหม่ของการเดนิ ทะเลและเปน็ แหลง่ รวบรวมข้อมูลของการสารวจ แผนทแี่ สดงเสน้ ทางการสารวจทางทะเลของนกเดนิ เรอื โปรตเุ กสและสเปนคนสาคัญ เสน้ ทางเดินเรอื

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยใหม่จนถงึ สมัยปจั จบุ ัน (ค.ศ. 1492-ปจั จุบัน) การคน้ พบและการสารวจทางทะเล • บารโ์ ทโลมิว ไดแอส (Bartholomew Dias) ได้เดินเรอื เลยี บชายฝงั่ ทวีปแอรกิ าจนผ่านแหลมพายุ (Cape of Wind) หรือต่อมาไดร้ บั ชือ่ ใหมค่ อื “แหลมกดู๊ โฮป” • วาสโก ดา กามา (Vasco da Gama) แลน่ เรือตามเส้นทางสารวจของไดแอสจนข้ึนฝัง่ ทเี่ มอื งกาลิกัด ของอนิ เดียใน ค.ศ.1498 โดยใช้เวลา 93 วัน เม่อื ข้นึ ฝง่ั เขาก็สามารถซ้อื เคร่ืองเทศไดโ้ ดยตรงจากพ่อคา้ อนิ เดียและบรรทุกเรอื กลับไปยงั ยโุ รป • ระยะกอ่ นหน้าทโ่ี ปรตเุ กสจะค้นพบเส้นทางเดินเรอื ถงึ อนิ เดยี ครสิ โตเฟอร์ โคลมั บัส ชาวเจนัว ได้เดนิ เรอื ขา้ มสมทุ ร แอนแลนตกิ เพอ่ื เดินทางไปจนี ซ่งึ เชอื่ ว่าอยู่ทางตะวันตกของทวีปยโุ รปและอยู่ใกลก้ วา่ แตก่ ลบั คน้ พบทวปี อเมริกา ณ หมเู่ กาะบาฮามาสเม่อื วนั ที่ 12 ตุลาคม ค.ศ. 1492 ถือเป็นปสี ้นิ สดุ สมยั กลาง และเรม่ิ ต้นประวัตศิ าสตรส์ มยั ใหม่ • เพ่อื รกั ษาไมตรรี ะหว่างสเปนกับโปรตเุ กส ใน ค.ศ. 1494 สนั ตะปาปาอะเลก็ ซานเดอรท์ ่ี 6 ทรงใหส้ เปนและ โปรตเุ กสลงนามในสนธิสญั ญาตอรเ์ ดซยี าส สเปนมีสทิ ธสิ ารวจและยึดครองดนิ แดนทางตะวนั ตกของเสน้ เมรเิ ดียน และโปรตเุ กสได้รบั สทิ ธดิ า้ นตะวนั ออก

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยใหมจ่ นถงึ สมัยปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปัจจบุ นั ) การคน้ พบและการสารวจทางทะเล 2) ผลของการค้นพบและการสารวจทางทะเล • การเดนิ ทางของโคลัมบัสใน ค.ศ. 1492 นบั วา่ มีความย่ิงใหญ่เพราะเปน็ จดุ เรม่ิ ต้นแหง่ การผจญภัย และตอบสนองความอยากรอู้ ยากเห็นของมนษุ ย์ • ภายในระยะเวลาไมถ่ ึง 30 ปีหลังจากทโี่ คลัมบัสคน้ พบทวปี อเมรกิ าแลว้ เฟอร์ดนิ านด์ มาเจลลัน พร้อมลกู เรือรับอาสาสเปนก็ประสบความสาเรจ็ ใน การเดนิ เรือรอบโลกใน ค.ศ. 1521 สามารถพสิ ูจนว์ า่ โลกกลม • ซึ่งต่อมาทาใหโ้ ฉมหน้าทางดา้ นเศรษฐกิจ การเมืองและสงั คมของโลก ตะวันตกเปลยี่ นแปลง เกิดการแข่งขนั ทางด้านนโยบายเศรษฐกิจและการ สร้างกองเรอื พาณชิ ย์ การเข้ารกุ รานและเอาเปรียบชนพน้ื เมอื งในดินแดน ตา่ งๆ ในทวีปอ่ืนๆ จนเกิดยคุ ล่าอาณานคิ มและยคุ จกั รวรรดนิ ยมในเวลา ตอ่ มา

เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมัยใหม่จนถงึ สมยั ปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ นั ) การค้นพบและการสารวจทางทะเล เส้นเวลาแสดงเหตุการณส์ าคัญในประวัติศาสตร์ ค.ศ. 1483 ค.ศ. 1521 เฟอร์ดินานด์ ค.ศ. 1600 ค.ศ. 1769 บาร์โทโลมิว ไดแอส มาเจลลนั ข้ามมหาสมทุ ร กัปตันเจมส์ คุก แล่นเรือถงึ แหลมก๊ดู โฮป แปซฟิ ิกจนถงึ หมเู่ กาะฟลิ ปิ ปนิ คน้ พบเกาะตาฮติ ิ ค.ศ. 1400 ค.ศ. 1500 ค.ศ. 1700 ค.ศ. 1418 ค.ศ. 1498 วาสโก ดา กามา เจา้ ซายเฮนรี ราชนาวิก แลน่ เรอื ออ้ มแหลมกดู๊ โฮปจนถึงอนิ เดยี ทรงตั้งโรงเรยี นราชนาวี ค.ศ. 1492 คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส คน้ พบ โลกใหมห่ รือทวีปอเมริกา ค.ศ. 1642 เอเบล ทสั แมน ค้นพบเกาะแทสมาเนีย นวิ ซีแลนด์ และหมู่เกาะพจี ี

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมยั ปัจจบุ นั (ค.ศ. 1492-ปัจจุบนั ) การปฏิรปู ศาสนา 1) การเผยแผน่ กิ ายโปรเตสแตนต์ • ลเู ทอรเ์ ร่มิ งานในการปฏิรปู ศาสนาจุดประสงค์ในระยะแรก ตอ้ งการให้มีการจัดระบบการบรหิ ารภายในองคก์ รศาสนจักร ใหม่โดยใชร้ ะบบผ้แู ทนแทนระบบการแต่งต้งั อีกทั้งตอ้ งการใหม้ กี ารปฏริ ูปศาสนาในระดบั ต่างๆ และลดความสาคัญของ สันตะปาปาในการแตง่ ตงั้ และมอี านาจเหนือพระราชาคณะ หลักปฏิบตั ิของลูเทอร์ที่แตกต่างจากองคก์ รศาสนจักรมี 3 ประการ 1 ศรัทธาโดยความเช่อื ไมใ่ ช่โดยการกระทา 2 อานาจสูงสดุ ของพระคัมภีร์คือสง่ิ เดยี วท่ีตดั สินความถกู ต้อง 3 ชาวคริสตท์ กุ คนทาหน้าท่ีเปน็ นกั บวชได้ในการเผยแผพ่ ระวจั นะของพระเปน็ เจ้าโดยไมต่ ้องบวชนกิ ายลเู ทอรเ์ ป็นทย่ี อมรบั กัน ในดินแดนเยอรมนั และเผยแผ่ไปยังท่ตี ่างๆ อย่างรวดเรว็ โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งในกลุม่ ประเทศสแกนดิเนเวีย

เหตุการณส์ าคัญในสมยั ใหม่จนถึงสมยั ปัจจบุ นั (ค.ศ. 1492-ปัจจุบนั ) การปฏริ ูปศาสนา • เม่อื นิกายลเู ทอรไ์ ดเ้ พม่ิ ความรนุ แรงในการต่อตา้ นนิกายโรมันคาทอลิก พวกมนุษยนยิ มทตี่ ้องการเพยี ง “การปฏริ ปู ” นกิ ายคาทอลิก จึงพากันกลบั ไปนบั ถือนิกายคาทอลกิ • นิกายโปรเตสแตนตอ์ ีกนิกายหนงึ่ ท่ีมีบทบาทสาคญั ต่อการปฏริ ูปศาสนาในชว่ งระยะเวลานนั้ ไดแ้ ก่ นิกายกัลแวง (Calvinism) ซงึ่ จดั ตงั้ โดย จอห์น กัลแวง (John Calvin) โดยมศี นู ย์กลางในการดาเนนิ งานทีเ่ จนีวา สวติ เซอรแ์ ลนด์ กลั แวง เปน็ ชาวฝรง่ั เศสท่ไี ด้รับอิทธิพลอยา่ งมากจากแนวความคดิ ของลูเทอร์เป็นส่วนใหญ่ ภาพวาดมาร์ตนิ ลูเทอร์ ผู้นาาในการ ภาพวาดจอห์น กลั ป์แวง ชาว ปฏริ ปู ศาสนาได้ติดคาาประกาศขอ้ โตแ้ ยง้ ฝรง่ั เศส ผู้กอ่ ตั้งนิกายกัลแวงท่เี น้น 95 ประการ (95 Theses) เกยี่ วกบั ความ การปฏบิ ัตติ ามคาาสอนในคัมภีร์ไบ เสือ่ มโทรมของครสิ ตศ์ าสนานกิ าย เบิลอยา่ งเครง่ ครดั โรมันคาทอลิก

เหตกุ ารณ์สาคัญในสมยั ใหม่จนถงึ สมยั ปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปจั จุบัน) การปฏิรูปศาสนา 2) ผลของการปฏริ ูปศาสนา • การปฏริ ูปศาสนามผี ลโดยตรงตอ่ ประเทศตะวนั ตก กล่าวคอื ไดแ้ บง่ แยกครสิ ตศ์ าสนิกชนออกเป็น 2 กลุม่ 1 กลุ่มคาทอลิกทีย่ งั คงสนับสนนุ สนั ตะปาปาแหง่ กรงุ โรม 2 กลุม่ โปรเตสแตนตท์ ี่ประทว้ งขอ้ ปฏิบัตขิ องฝ่ายคาทอลิก • พระเจา้ เฮนรีท่ี 8 (Henry VIII, ค.ศ. 1509 - 1547) ซง่ึ เปน็ กษตั รยิ ์ภาพวาดพระเจา้ เฮนรีท่ี 8 แหง่ ราชวงศ์ทิวดอร์ของ องั กฤษ พระองค์ทรงจัดตงั้ นิกายแองกลิคันแยกตัวออกจากนกิ ายโรมันคาทอลิก • ในขณะนัน้ พระเจา้ เฮนรีที่ 8 มพี ระประสงคท์ จี่ ะหยา่ ขาดจากพระมเหสีองคแ์ รกเพอ่ื อภเิ ษกสมรสใหม่กับแอน โบลนี (Anne Boleyn) แต่สันตะปาปาไมส่ ามารถประทานอนุญาตได้จึงสร้างความแตกรา้ วในความสมั พันธ์ระหวา่ งพระองค์ กบั กรุงโรม ซึ่งนาไปสกู่ ารแยกครสิ ตจักรในอังกฤษและการจดั ตงั้ นกิ ายแองกลคิ นั (Anglican) ข้ึนในค.ศ. 1532 ทาให้ อังกฤษสามารถขจัดอิทธิพลของสันตะปาปาและจัดตั้งองคก์ รศาสนจกั รที่เป็นอสิ ระจากการควบคุมของกรุงโรมได้

เหตุการณส์ าคญั ในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมัยปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ ัน) การปฏริ ปู ศาสนา • การปฏิรปู ศาสนายังไดก้ อ่ ให้เกิด “การปฏริ ปู ซอ้ น” (The Counter Reformation) ของฝา่ ยคาทอลิก ภาพวาดการประชุมสภาแห่งเมืองเทรนต์ ระหวา่ ง ค.ศ. 1545 - 1563 เพอื่ ปรบั ปรงุ หลกั ปฏบิ ัติ • ความเขม้ แขง็ และมีระเบียบวนิ ยั ของคณะเยซอู ิตจงึ ชว่ ยใหฝ้ ่าย คาทอลิกเปน็ ที่ยอมรับมากขน้ึ ดินแดนหลายแห่งท่ีเปลยี่ นไปนบั ในนิกายโรมนั คาทอลกิ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้ึน ถอื นกิ ายโปรเตสแตนตก์ ็ได้หนั กลับมานับถือนกิ ายคาทอลกิ ดงั เดิม • ฝา่ ยคาทอลกิ ยังจัดใหม้ ีการประชุมสภาแหง่ เมอื งเทรนต์ (Council of Trent) ระหวา่ ง ค.ศ. 1545 - 1563 เพอ่ื กาหนดหลักปฏิบตั ใิ น นกิ ายคาทอลิกและปรับปรงุ การบริหารงานใหม้ ปี ระสิทธิภาพ มี การกาหนดกฎทีผ่ ูน้ บั ถอื คาทอลิกจะตอ้ งปฏิบตั ิ

เหตุการณส์ าคญั ในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมัยปจั จบุ นั (ค.ศ. 1492-ปจั จุบัน) การปฏริ ปู ศาสนา 3) ผลของการปฏิรูปศาสนาท่ีมตี อ่ โลก • การปฏิรูปศาสนาทาให้สงั คมตะวันตกซึ่งเคยมีคริสตศ์ าสนาเป็นศูนย์รวมความศรัทธาของผู้คนหลากหลายชาตเิ กดิ ความแตกแยกเปน็ นิกายต่างๆ • ในเวลาต่อมาทาให้ชาวตะวันตก มีสิทธจิ ะเลอื กนบั ถอื ลทั ธิศาสนาใดก็ได้ตามความพอใจ ส่งผลใหช้ าวตะวันตก อพยพไปอยใู่ นประเทศทีน่ ับถือนกิ ายศาสนาทต่ี นนับถอื บรรดานักวิทยาศาสตร์ นักปรชั ญา หรือชาวบ้านท่ีไมพ่ อใจ การควบคุมของนกิ ายคาทอลิกหรือนิกายโปรเตสแตนตใ์ นประเทศตนกอ็ พยพไปยังประเทศท่ีมคี วามเป็นอสิ ระ มากกว่าความคิดที่จะต้องทาสงครามศาสนากค็ อ่ ยๆ หมดไปจากสังคมตะวนั ตก • ยังก่อให้เกดิ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดยี วกนั ทางการเมืองในดินแดนตา่ งๆ เพราะศรทั ธาในลัทธิศาสนากับความรกั ชาติ บา้ นเมืองตา่ งมีอิทธพิ ลซ่ึงกนั และกัน • การปฏริ ปู ศาสนายังทาใหร้ ัฐตา่ งๆ หันมาปรับปรงุ ตนเองจากระบบเดมิ เกิดแนวทางใหม่ในสงั คมตะวันตก โดย ผปู้ กครองสามารถจัดระบอบการปกครองของตนเองได้อย่างอสิ ระโดยปราศจากการแทรกแซงของศาสนจักร

เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยใหมจ่ นถึงสมยั ปจั จบุ ัน (ค.ศ. 1492-ปัจจบุ ัน) การปฏริ ูปศาสนา เส้นเวลาแสดงเหตกุ ารณส์ าคญั ในประวตั ศิ าสตร์ ค.ศ. 1510 ค.ศ. 1534 จอหน์ กลั ปแ์ วง ค.ศ. 1540 มกี าร ค.ศ. 1550 ค.ศ. 1560 เผยแพร่แนวคดิ นกิ ายกัลแวง จดั ต้ังสมาคมเยซูอติ ค.ศ. 1521 มารต์ ิน ลเู ทอร์ ถูกขับออกจากศาสนา เกดิ ค.ศ. 1530 ค.ศ. 1540 การแยกนิกายโปรเตสแตนต์ ค.ศ. 1535 พระเจา้ เฮนรที ี่ 8 ทรงตัดความสัมพันธก์ บั โรม ค.ศ. 1545 – 1563 การ ประชมุ สภาแห่งแทรนต์

เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมัยใหม่จนถงึ สมยั ปจั จบุ นั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ นั ) การปฏวิ ตั ิทางวิทยาศาสตร์ • เปน็ กระบวนการเปลย่ี นแปลงที่เกิดข้นึ อยา่ งตอ่ เนื่องครอบคลุม ระยะเวลาหลายศตวรรษการติดตอ่ กับจักรวรรดไิ บแซนไทน์ (Byzantine) และตะวันออหกกลางของชาวตะวนั ตกในสมยั กลาง ทาใหว้ ิทยาการของกรีกและอาหรบั เปน็ ที่ยอมรบั กนั โดยทั่วไป จนวชิ าดา้ นวทิ ยาศาสตรห์ ลายแขนง เชน่ ดาราศาสตร์ กลศาสตร์ คณติ ศาสตร์ ซ่งึ เกีย่ วกับธรรมชาตแิ ละเหตุผล กลายเปน็ วิชาระดบั สงู ภาพวาดกลุม่ ชาวยโุ รปกาลงั ค้นคว้าทดลองอันนามา ซ่ึงการกอ่ เกิดทฤษฎที างวทิ ยาศาสตร์ทีส่ ามารถ นาาไปประยกุ ตใ์ ช้ในการประดษิ ฐ์คดิ ค้นดา้ นตา่ งๆ

เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมัยใหมจ่ นถึงสมัยปัจจุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จุบนั ) การปฏวิ ตั ิทางวิทยาศาสตร์ 1) พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์ • วิทยาศาสตร์ในระยะแรกเป็นการศึกาเพอ่ื ตอบสนองความอยากรู้อยาก เห็นของนักปราชญ์ในสมยั น้นั โดยศึกษาขอ้ สมมตฐิ านดัง้ เดิมจากอดีต และค้นหาทฤษฎีและความรู้ใหมๆ่ เพอ่ื ล้มล้างกฎเกณฑเ์ ก่าๆทเี่ คยมมี า • นิโคลัส โคเปอร์นคิ สั ชาวโปรแลนด์ เขาใชค้ ความรทู้ างคณติ ศาสตร์ อธบิ ายระบบสุริยจกั รวาลโดยช้ีว่าโลกไม่ไดเ้ ป็นศนู ยก์ ลางของระบบสุ รยิ จักรวาล ตามความเช่ือทีย่ ดึ ม่นั กนั มาตง้ั แตส่ มัยกรกี โบราณ • สง่ ผลให้นกั คดิ และนกั วทิ ยาศาสตร์รุน่ ต่อมาในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 17 มงุ่ มนั่ ทจี่ ะพิสูจนค์ วามจงิ ด้วยวธิ ีการทางวิทยาศาสตรโ์ ดยมกี าร ตงั้ สมมติฐาน การพิสูจน์ทดลองและสรปุ ผลอยา่ งเปน็ ระบบ

เหตุการณ์สาคัญในสมัยใหม่จนถึงสมัยปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปัจจบุ ัน) การปฏิวัติทางวทิ ยาศาสตร์ • ใน ค.ศ. 1610 กาลเิ ลโอ กาลเิ ลอิ ไดป้ ระดิษฐ์กลอ้ งโทรทรรศนแ์ บบหกั เหแสงขน้ึ เพอื่ สังเกตการเคล่ือนไหวของดาวเคราะหแ์ ละดวงจันทร์ ซงึ่ โยฮันส์ เคปเลอร์ เขาไดข้ อ้ สรุปในเวลาตอ่ มาวา่ โลกและดวงจันทร์ตา่ งโคจรไปรอบดวง เซอร์ ไอแซค นวิ ตัน อาทติ ย์ • โยฮันส์ เคปเลอร์ นักดาราศาสตรช์ าวเยอรมนั ซง่ึ สนใจระบบสุริย จักรวาลของโคเปอรน์ คิ สั กศ็ กึ ษาค้นคว้าต่อจนไดข้ ้อสรปุ วา่ ดาวเคราะหื โคจรรอบดวงอาทติ ย์เป็นรปู วงรแี ละไม่ไดเ้ คลอื่ นท่ีด้วยอัตราเรว็ คงท่ี แตจ่ ะเปลี่ยนไปตามระยะหา่ งจากดวงอาทิตย์ • ปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 17 เซอร์ ไอแซค นิวตัน นกั ฟสิ ิกสช์ าวองั กฤษ ได้ คน้ พบกฎแรงดึงดูดของจกั รวาลและกฎแรงโน้มถ่วง

เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมัยปัจจบุ นั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ นั ) การปฏิวตั ทิ างวิทยาศาสตร์ 2) ทฤษฎวี ิวัฒนาการและผลกระทบท่มี ีต่อโลก • การค้นพบทฤษฎวี ิวฒั นาการ (Theory of Evolution) ใน วิทยาศาสตรแ์ ขนงชวี วทิ ยาของชาลส์ ดาร์วิน นักวทิ ยาศาสตรแ์ ละ นกั ธรรมชาติวทิ ยาชาวอังกฤษ นบั เปน็ การค้นพบทีส่ าคัญทมี่ ีผลตอ่ การ เปล่ียนแปลงทางความคิดในสังคมในครสิ ต์ศตวรรษที่ 19 จนถงึ ปจั จุบัน • การปฏวิ ตั ทิ างวิทยาศาสตรท์ าให้มนุษย์สามารถขยายขอบเขตความรู้ ต่างๆ ออกไปได้อยา่ งไมม่ วี ันสิ้นสุดและสามารถแกป้ ัญหาตา่ งๆ ได้ ทั้ง สรา้ งองคค์ วามรทู้ ี่มลี กั ษณะเปน็ ภววสิ ัย (Objective) ซ่ึงเป็นความ บริสุทธ์ิท่สี ามารถทดสอบหรอื ทาซ้าได้ สังคมและวิถชี วี ติ ของมนษุ ยจ์ งึ พัฒนาก้าวหน้าอยา่ งต่อเนื่อง

เหตกุ ารณส์ าคญั ในสมัยใหมจ่ นถงึ สมัยปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปัจจบุ ัน) การปฏวิ ัติทางวทิ ยาศาสตร์ เสน้ เวลาแสดงเหตกุ ารณ์สาคัญในประวตั ิศาสตร์ ค.ศ. 1609 กาลิเลโอ กาลเิ ลอิ ค.ศ. 1662 เร่ิมจัดต้งั สถาบัน ประดิษฐก์ ล้องโทรทรรศน์ วิทยาศาสตร์แห่งชาตใิ นอังกฤษ ค.ศ. 1500 ค.ศ. 1550 ค.ศ. 1600 ค.ศ. 1650 ค.ศ. 1700 ค.ศ. 1543 นิโคลัส โคเปอร์นคิ สั ค.ศ. 1687 เซอร์ไอแซค นวิ ตัน คน้ พบทฤษฎสี รุ ยิ จกั รวาล คน้ พบกฎความถ่วง ค.ศ. 1637 เรอเน เดการ์ด อธิบายระบบ จกั รวาลและเสนอทฤษฎีทางครติ ศาสตร์

เหตุการณ์สาคัญในสมัยใหม่จนถงึ สมัยปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปจั จุบัน) การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรม 1) พฒั นาการของการปฏิวตั อิ ตุ สาหกรรม • การปฏิวัติอตุ สาหกรรมระยะแรก • ระหว่าง ค.ศ. 1750 - 1870 เป็นการคดิ คน้ วธิ ีการผลิต ใหม่ๆ ด้วยการนาพลงั ไอนา้ และเครอื่ งจักรไอน้ามาใช้ใน อุตสาหกรรมการทอผ้า • มีการต้ังโรงงานขน้ึ เป็นคร้งั แรก • มีการประดิษฐ์เครอื่ งป่นั ด้ายซงึ่ ปั่นดา้ ยได้รวดเร็วและ เส้นดา้ ยมคี วามละเอียดทนทานและสวยงาม อตุ สาหกรรม ทอผ้าจงึ มีการเจรญิ เติบโตและขยายตัวอย่างรวดเร็ว

เหตกุ ารณ์สาคัญในสมัยใหมจ่ นถึงสมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1492-ปจั จุบัน) การปฏิวัติอุตสาหกรรม • การปฏวิ ตั อิ ุตสาหกรรมระยะท่ี 2 หรอื ชว่ งสมยั ใหม่ 1) พฒั นาการของการปฏวิ ตั อิ ตุ สาหกรรม • ระหวา่ ง ค.ศ. 1870 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน มีการ ภาพวาดการนาาเคร่อื งจักรไอน้าามาใชย้ กถา่ นหนิ ที่มนี า้ หนกั มากจาก ประดษิ ฐค์ ิดค้นใหม่ๆ และนาพลงั งานใหม่ คอื ไฟฟ้า นา้ มนั เหมืองแร่ ทาาใหช้ วี ิตของมนุษยม์ ีความสะดวกสบายมากขึ้น และพลังงานนิวเคลียรม์ าใช้ กอ่ ใหเ้ กดิ อตุ สาหกรรมใหม่ๆ มากขึ้น • เปน็ ระบบการผลิตขนาดยักษ์ มกี ารนาความรู้ทาง วิทยาศาสตรม์ าใชใ้ นอตุ สาหกรรมและการประดษิ ฐใ์ ย สงั เคราะหแ์ ละวัสดทุ เ่ี ป็นโลหะมีนา้ หนกั เบา • มกี ารพฒั นาเครื่องจักรกล เครือ่ งมอื และเครื่องคอมพิวเตอร์ ใหค้ วบคุมการผลติ และประสานการทางานร่วมกนั

เหตุการณ์สาคัญในสมัยใหมจ่ นถึงสมัยปัจจุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ ัน) การปฏิวัตอิ ุตสาหกรรม 2) ผลกระทบของการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมท่มี ตี ่อโลก • ประชากรโลกเพิ่มจานวนขึ้นอย่างรวดเรว็ ใน ค.ศ. 1850 จานวนประชากรทเี่ พมิ่ ขน้ึ เป็นผลเนื่องจากอตั ราการตายท่ี ลดลง เพราะความกา้ วหน้าทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข • การผลิตอาหารในระบบอุตสาหกรรมสมัยใหมท่ ี่มีจานวน มากได้ทาใหป้ ัญหาความอดอยากลดลง การเพิ่มจานวนของ ประชากรทาให้เกดิ การอพยพครั้งใหญ่ ภาพวาดชุมชนเมืองท่ยี อร์กเชียร์ (Yorkshire) ในประเทศอังกฤษใน ค.ศ. 1885 แสดงใหเ้ หน็ ถึงการเจรญิ เติบโตของโรงงาน อตุ สาหกรรมท่ีกระจายอยู่ทวั่ ไปในตวั เมอื ง

เหตกุ ารณ์สาคัญในสมัยใหม่จนถึงสมยั ปัจจบุ ัน (ค.ศ. 1492-ปัจจบุ นั ) การปฏิวัติอุตสาหกรรม เส้นเวลาแสดงเหตุการณส์ าคญั ในประวัตศิ าสตร์ ค.ศ. 1800 การนาเคร่ืองจกั รไอ ค.ศ. 1856 การค้นพบวธิ ีสกัด นา้ ของเจมส์ วตั ต์ มา เหล็กเปน็ เหลก็ กลา้ ค.ศ. 1764 เจมส์ ฮารก์ รีฟส์ ประดษิ ฐ์ “สปินนิง เจนนี” ประยุกต์ใช้ในอตุ สาหกรรม ค.ศ. 1700 ค.ศ. 1750 ค.ศ. 1800 ค.ศ. 1850 ค.ศ. 1900 ค.ศ. 1733 จอห์น เคยป์ ระดษิ ฐ์ก่ีกระตุก ค.ศ. 1851 มีการจดั นิทรรศการ ค.ศ. 1830 การนาหวั รถจกั รไอนา้ “รอ็ กเก็ต” มาบรรทกุ สนิ ค้า อุตสาหกรรมคร้ังแรกของโลกที่กรงุ ลอนดอนในพระราชวังแก้วหรือ คริสตลั พาเลซ (Crystal Palace)

เหตุการณส์ าคัญในสมยั ใหม่จนถงึ สมัยปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปจั จบุ นั ) แนวคดิ เสรนี ยิ ม 1) เสรีนิยมทางการเมอื ง • ในต้นคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 แนวคิดเสรีนยิ มก่อใหเ้ กิดการเรยี กร้องการปฏริ ปู การเมืองเป็นประชาธิปไตยแบบมรี ัฐสภาท่ี ประชาชนมีส่วนรว่ มในการบริหารปกครองประเทศโดยเลือกผแู้ ทนเข้าไปในรัฐสภา • การมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักกฎหมายของการปกครองและมกี ลไกตรวจสอบและถ่วงดลุ อานาจทางการเมืองการมีความ เสมอภาคกันทางการเมอื ง การยอมรับความเปน็ ปจั เจกบุคคลนิยม (individualism) และอ่นื ๆ • แนวคดิ เสรีนยิ มเปน็ ขบวนการที่ไม่หยุดนิ่ง และมักเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณท์ างสงั คมตามความเหมาะสมและ จาเป็น ภาพวาดจอหน์ ลอก นักคิดเสรีนยิ มท่ีเสนอ ภาพวาดแอดัม สมิท นักคิดเสรนี ยิ มคนสาาคัญ แนวคิดเรอื่ งการมสี ทิ ธิเสรีภาพของปัจเจกบุคคล ของยุโรปทมี่ แี นวคิดให้เอกชนสามารถประกอบ กจิ กรรมทางเศรษฐกิจไดอ้ ย่างเสรีโดยปราศจาก การเข้าแทรกแซงของรัฐ

เหตกุ ารณส์ าคัญในสมัยใหมจ่ นถงึ สมยั ปจั จุบนั (ค.ศ. 1492-ปัจจุบัน) แนวคิดเสรีนยิ ม 2) เสรนี ิยมคลาสสิกกับเสรนี ยิ มสมยั ใหม่ • ในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 แนวคิดเสรีนยิ มในสมัยเริ่มแรก ที่เรียกว่า เสรนี ยิ มแบบคลาสสกิ (Classical Liberalism) • เนน้ ความสาคัญของปัจเจกบุคคล และการมเี สรภี าพอยา่ ง เตม็ ทโี่ ดยไม่มใี ครยุ่งเก่ียวหรอื บงการได้ • การให้รฐั มบี ทบาทนอ้ ยและปล่อยระบบเศรษฐกิจใหเ้ ป็นไป อย่างเสรีหมดความสาคัญลงเพราะสงั คมตะวันตกไดพ้ ฒั นา เจรญิ มากขึ้นและเป็นระบบทนุ นยิ มเต็มที่ อุตสาหกรรมรถยนตท์ ่ีเจรญิ เติบโตในประเทศสหรฐั อเมรกิ าในทศวรรษ 1920 เปน็ ลกั ษณะของเศรษฐกิจเสรนี ิยมทร่ี ัฐไม่เขา้ แทรกแซงและเปิด โอกาสให้เอกชนดาาเนินการไดอ้ ย่างเสรี

เหตุการณ์สาคญั ในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมยั ปัจจบุ ัน (ค.ศ. 1492-ปัจจุบนั ) แนวคิดจกั รวรรดนิ ยิ ม • เป็นลัทธกิ ารปกครองและการดาเนนิ นโยบายต่างประเทศของชาติยโุ รปในกลางครสิ ต์ศตวรรษที่ 19 ในการขยาย อานาจและการแสวงหาผลประโยชน์ในดนิ แดน หรือประเทศที่ออ่ นแอกว่า • นาไปส่กู ารแข่งขันทางดา้ นเศรษฐกิจ การเมือง และการทหารก่อใหเ้ กิดความขดั แย้งระหว่างประเทศจนนาไปสู่การ เผชิญหนา้ ของชาติมหาอานาจยโุ รป ภาพวาดพ่อคา้ ชาวดตั ช์ที่เมอื งทา่ ปตั ตาเวยี ในเกาะชวาเม่อื ประมาณ ค.ศ. 1600 ซง่ึ ในระยะแรกจะเปน็ การเดินทางเข้ามา เพ่ือค้าขายสนิ ค้า กอ่ นจะขยายตัวเป็นการเข้ายดึ ครองดนิ แดนตา่ งๆ ในภายหลงั ตอ่ มา

เหตกุ ารณ์สาคญั ในสมยั ใหม่จนถงึ สมยั ปัจจบุ ัน (ค.ศ. 1492-ปัจจุบนั ) แนวคดิ ชาตนิ ยิ ม • เกิดขน้ึ ในยโุ รปในคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นผลสืบเน่อื งจากการปฏิวัติฝรัง่ เศส ค.ศ. 1789 และการก่อตัวของแนวคิด เสรีนยิ มท่ีเรียกร้องเสรภี าพในดา้ นตา่ งๆ ซึ่งรวมถงึ เสรีภาพทจ่ี ะมีอสิ ระจากอานาจการคกุ คามจากศตั รูภายนอกด้วย • ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 นาไปสกู่ ารเกิดรัฐชาติหรือ ประเทศขึน้ ทกุ มุมโลก และทาใหค้ าวา่ “ชาติ” มี ความหมายทางการเมืองและทางวัฒนธรรมท่ี ชัดเจนมากย่งิ ขนึ้ ภาพวาดการบกุ ทลายคกุ บาสตีย์ (Bastille) ซงึ่ ใช้เป็นท่ีขังนกั โทษ การเมืองเมอื่ วนั ท่ี 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 ถอื เปน็ จดุ เริ่มต้นของ การปฏวิ ตั ิฝรงั่ เศสเพ่ือลม้ ลา้ งการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์

เหตุการณ์สาคัญในสมยั ใหมจ่ นถงึ สมัยปจั จุบัน (ค.ศ. 1492-ปจั จุบนั ) แนวคดิ สังคมนิยม • เปน็ อดุ มการณ์ทางการเมืองท่ีเนน้ ความสาคญั ของความเสมอภาค ท้ังทางสังคมและเศรษฐกจิ • การยกเลกิ กรรมสทิ ธิใ์ นทรัพยส์ ินส่วนบุคคลและเปลยี่ นทรัพย์สนิ ทัง้ หมดให้เปน็ ของสังคมสว่ นรวมซ่งึ จะนาไปส่กู ารสรา้ งสงั คมแหง่ ความเสมอภาค • เปน็ สังคมทบี่ คุ คลแตล่ ะคนจะทางานให้แกส่ ังคมสว่ นรวมอยา่ ง เต็มกาลังความสามารถ และสังคมก็จะตอบแทนให้แตล่ ะคน ตามทแ่ี ต่ละบคุ คลตอ้ งการ คารล์ มากซ์ นกั คิดสงั คมนยิ มคนสาาคัญของยโุ รปทเี่ สนอแนวคดิ ให้ชนช้ันแรงงานตอ่ สู้ เพอื่ ความเสมอภาคทางสังคมโดยปราศจากชนชนั้ การปฏิวตั ฝิ ร่งั เศสเพอ่ื ลม้ ล้างการ ปกครองระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าชย์

ความขัดแยง้ และความร่วมมือของมนษุ ยชาตใิ นครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบัน ความขัดแยง้ ในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จบุ นั 1) วกิ ฤตการณ์ทางการเมอื ง • 1.1) วกิ ฤตการณโ์ มร็อกโก • เปน็ วกิ ฤตการณ์ระหวา่ งประเทศที่เกดิ ขนึ้ 2 ครง้ั โดยวกิ ฤตการณ์ โมร็อกโกครงั้ ที่ 1 เกิดข้ึนระหวา่ ง ค.ศ. 1905 - 1906 และครง้ั ที่ 2 ใน ค.ศ. 1911 ในวกิ ฤตการณ์โมร็อกโกคร้ังที่ 1 มีสาเหตุจากความ ขดั แย้งทางการเมอื งระหว่างฝรงั่ เศสกับเยอรมนีในโมรอ็ กโก ภาพวาดการต์ ูนในหน้าหนงั สือพิมพ์อังกฤษในหวั ขอ้ “กาป้ันเหลก็ ของจักรพรรดิแห่ง เยอรมนีทบุ เมืองท่าอากาดีร”์ แสดงถงึ เยอรมนตี อ่ ต้านฝรง่ั เศสในวิกฤตการณ์โมร็อกโก ครั้งที่ 2 หรอื วกิ ฤตการณอ์ ากาดีร์ ค.ศ. 1911

ความขดั แย้งและความร่วมมือของมนุษยชาติในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 จนถงึ ปัจจบุ นั ความขดั แย้งในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจบุ ัน • 1.2) วกิ ฤตการณบ์ อสเนีย • ก่อนหนา้ การเกดิ วิกฤตการณโ์ มรอ็ กโกครงั้ ที่ 2 ใน ค.ศ. 1911 ได้เกิดวกิ ฤตการณ์บอสเนยี ขึ้นซง่ึ เปน็ ผลสืบเน่ืองจาก ออสเตรีย-ฮังการีได้เข้ายึดครองบอสเนียและเฮอรเ์ ซโกวนี า (Bosnia and Herzegovina) ในคาบสมุทรบอลขา่ น • ใน ค.ศ. ๑๙๐๘ กลมุ่ นายทหารหนมุ่ ทีเ่ รยี กตัวเองวา่ “เติร์กหนมุ่ ” (Young Turks) ไดก้ ่อการปฏวิ ัติข้ึนในจกั รวรรดิ ออตโตมนั หรอื ตรุ กเี พอ่ื ลม้ ลา้ งอานาจอธปิ ไตยของสลุ ตา่ น • การจลาจลวุ่นวายภายในจกั รวรรดิออตโตมนั จงึ เปิดโอกาสใหบ้ ัลแกเรยี ซง่ึ อยูใ่ ต้การปกครองของสลุ ต่านประกาศตน เปน็ เอกราช ส่วนออสเตรีย-ฮงั การีซ่ึงได้สทิ ธิอารกั ขาบอสเนยี -เฮอร์เซโกวนี าจากตุรกเี กรงว่าความวนุ่ วายท่เี กดิ ข้นึ ใน คาบสมทุ รบอลข่านจะขยายตัวเขา้ มาในบอสเนีย จึงเข้ายึดครองบอสเนยี -เฮอรเ์ ซโกวีนาเมื่อวนั ท่ี 7 ตุลาคม ค.ศ. 1908 และนาไปส่วู ิกฤตการณบ์ อสเนยี

ความขัดแยง้ และความร่วมมอื ของมนษุ ยชาติในคริสตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จุบัน ความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปัจจบุ นั • 1.2) วกิ ฤตการณ์บอสเนีย • ต่อมาในปี ค.ศ. 1914 กฟั ริโล ปรนิ ซิบ นกั ศกึ ษาชาวเซิรบ์ ชาตินยิ มได้ ลอบปลงพระชนม์อารช์ ดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ มกุฎราชกมุ ารแห่ง จักรวรรดอิ อสเตรยี -ฮงั การีและพระชายาขณะเสดจ็ ประพาสเมอื ง ซาราเยโว เมืองหลวงของบอสเนีย เพ่อื แกแ้ คน้ ในการทอ่ี อสเตรยี -ฮงั การี ยดึ ครองบอสเนียใน ค.ศ.1908 การลอบปลงพระชนมใ์ นคร้งั นจี้ งึ ได้ นาไปสู่การเกิดสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ภาพวาดนกั ศกึ ษาชาวเซริ ์บ ชาตนิ ิยมซง่ึ รสู้ กึ โกรธแคน้ ท่ีออสเตรยี -ฮังการยี ึดครองบอสเนีย ใน ค.ศ. 1908 จึงหาทางแกแ้ คน้ ด้วยการยิงมกุฎราชกุมารแหง่ จักรวรรดิออสเตรยี -ฮงั การี และพระชายาขณะเสดจ็ ประพาสเมอื งซาราเยโว

ความขัดแยง้ และความร่วมมือของมนุษยชาตใิ นคริสต์ศตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จุบัน ความขดั แยง้ ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจบุ ัน • 1.3) วกิ ฤตการณส์ งครามบอลข่าน • ในระหว่าง ค.ศ. 1912 - 1913 ไดเ้ กิดสงครามบอลข่านข้ึน 2 คร้ัง โดย สงครามบอลข่านครั้งที่ 1 เกิดจากเซอรเ์ บีย บลั แกเรยี กรีซ และมอน เตเนโกร ไดร้ วมตัวกันเป็นกลมุ่ พนั ธมิตรทางทหารข้นึ โดยเรียกชอื่ วา่ สันนิบาตบอลข่าน (League of Balkan) เพ่ือมุ่งยดึ ครองแคว้น มาซโิ ดเนีย (Macedonia) แคว้นคอซอวอ (Kosovo)และเกาะครีต จากตุรกีโดยมีรสั เซียสนับสนนุ อยเู่ บื้องหลัง สงครามบอลข่านคร้งั ที่ 1 • ตรุ กีเป็นฝ่ายพา่ ยแพ้และตอ้ งลงนามในสนธิสญั ญาลอนดอน ค.ศ. 1913 โดยสูญเสยี ดินแดนในคาบสมุทรบอลข่านเกอื บทั้งหมดให้แก่ กลุม่ ประเทศสันนบิ าตบอลขา่ นและมกี ารจดั ตง้ั ประเทศแอลเบเนีย แผนท่แี สดงที่ต้ังประเทศในคาบสมทุ รบอลขา่ นเมอื่ ค.ศ. 1914 (Albania) ขน้ึ

ความขัดแยง้ และความรว่ มมอื ของมนษุ ยชาติในคริสต์ศตวรรษที่ 20 จนถงึ ปจั จบุ นั ความขัดแยง้ ในครสิ ต์ศตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบัน ในสงครามโลกครัง้ ท่ี 1 ประเทศมหาอาานาจต่างนาอาวธุ 2) สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 (ค.ศ. 1914 - 1918) ยทุ โธปกรณ์อันทันสมยั เชน่ รถถงั ปนื กล ระเบดิ มอื และอืน่ ๆ มา • จดั เป็นสงครามของศตวรรษใหมท่ ป่ี ระเทศตา่ งๆ รวมศูนยศ์ ักยภาพ ใช้ในการสู้รบ สง่ ผลให้มีผบู้ าดเจ็บล้มตายเปน็ จาานวนมาก ของตนทงั้ ทางเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพอื่ การรบ • พลเมืองของประเทศในแนวหลังก็มสี ่วนร่วมในการรบดว้ ย ชัยชนะ ของสงครามจึงไมไ่ ด้ตดั สินจากการสรู้ บในสมรภมู ิเท่านั้น แตย่ งั รวมถงึ ขีดความสามารถทางอุตสาหกรรมของรัฐในการผลติ อาวธุ ยทุ โธปกรณต์ ่างๆ ท่มี ีส่วนชีข้ าดตอ่ การแพช้ นะอกี ด้วย • ผลสาคัญประการหนึง่ ของสงครามโลกครง้ั ท่ี 1 คือ ทาให้นานา ประเทศตระหนกั ถึงปัญหาความขัดแยง้ ทน่ี าไปสู่สงครามและ พยายามหาทางป้องกันเพือ่ ไมใ่ ห้เกิดสงครามขนึ้ อีก

ความขดั แยง้ และความร่วมมอื ของมนษุ ยชาตใิ นครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 จนถงึ ปัจจบุ นั ความขดั แยง้ ในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 จนถงึ ปัจจบุ นั เสน้ เวลาแสดงเหตกุ ารณ์สาคญั ในประวตั ิศาสตร์ ค.ศ. 1915 อิตาลีเข้ารว่ มสงคราม ค.ศ. 1918 ประธานาธิบดีวูดโรว์ วิลสัน ประกาศหลักการ 14 ข้อ เป้นแนวทางสรา้ ง สันติภาพและเยอรมนปี ระกาศยอมแพ้ ค.ศ. 1914 ค.ศ. 1915 ค.ศ. 1916 ค.ศ. 1917 ค.ศ. 1918 ค.ศ. 1919 ค.ศ. 1914 เกิดเหตกุ ารณณ์ ืลอบ ค.ศ. 1919 มีการลงนามในสนธิสญั ญาแวร์ซาย ปลงพระชนมอื าร์ชดุ๊กฟรานซิส ถอื เปน็ การส้นิ สดุ สงคราม เฟอร์ดินานด์ และพระชายา ค.ศ. 1917 เกดิ การปฏวิ ัตริ สั เซยี

ความขดั แย้งและความร่วมมอื ของมนษุ ยชาตใิ นครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบัน ความขัดแย้งในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบัน 3) สงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (ค.ศ. 1939 - 1945) • หลังจากสงครามโลกคร้ังท่ี 1 แมป้ ระเทศต่างๆ จะร่วมกันตัง้ สันนิบาตชาติข้ึนเพ่อื แก้ไขความขัดแย้งระหว่าง ประเทศและรักษาไวซ้ ง่ึ สนั ตภิ าพ แต่การดาเนนิ งานของสนั นิบาตชาตกิ ไ็ มบ่ รรลผุ ลมากนกั เพราะสหรฐั อเมริกาซง่ึ ผลักดันการจดั ต้ังสนั นบิ าตชาติ แต่ไม่ได้เขา้ รว่ มเป็นสมาชิก และประเทศมหาอานาจท่เี ปน็ สมาชกิ คอื อังกฤษ ฝรงั่ เศส อติ าลี และญปี่ ุน่ มกั ดาเนินนโยบายที่คานงึ ถงึ ประโยชนข์ องประเทศตน • เมื่อญป่ี ่นุ รกุ รานแมนจเู รยี ใน ค.ศ.1931 และอติ าลีรกุ รานเอธิโอเปยี ค.ศ. 1935 ซ่งึ ขัดตอ่ หลักการของสันนบิ าต ชาตเิ พราะนาไปส่คู วามขัดแยง้ ระหวา่ งประเทศและทาลายสนั ตภิ าพ ญี่ปุ่นและอิตาลกี ล็ าออกจากการเป็น สมาชิกสนั นิบาตชาติ • ต่อมา อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผนู้ าพรรณนาซกี ้าวขนึ้ สอู่ านาจทางการเมืองในเยอรมนี ฮติ เลอรต์ อ้ งการทาลาย ข้อตกลงในสนธิสัญญาแวร์ซาย ที่ลงโทษเยอรมนี เยอรมนจี งึ ดาเนินนโยบายตา่ งประเทศทส่ี รา้ งความขัดแยง้ ระหว่างประเทศ

ความขัดแย้งและความร่วมมอื ของมนุษยชาติในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จบุ นั ความขดั แย้งในคริสตศ์ ตวรรษที่ 20 จนถงึ ปัจจบุ ัน เส้นเวลาแสดงเหตุการณส์ าคัญในประวตั ศิ าสตร์ ค.ศ. 1939 ค.ศ. 1941 ค.ศ. 1944 เยอรมนีบุกโปแลนด์ ญป่ี ุ่นโจมตอี ่าวเพริ ล์ ในหมูเ่ กาะฮาวาย รวมทง้ั ฝา่ ยพันธมติ รยกพลขึ้นบก โจมตีฮอ่ งกง พมา่ ฟลิ ปิ ปนิ ส์ มาเลเซีย ในวันด-ี เดย์ (D-Day) ค.ศ. 1939 ค.ศ. 1940 ค.ศ. 1941 ค.ศ. 1942 ค.ศ. 1943 ค.ศ. 1944 ค.ศ. 1945 ค.ศ. 1942 ญีป่ ่นุ โจมตสี งิ คโปร์และยึดครองหมู่ ค.ศ. 1945 เยอรมนยี อมแพแ้ ละสหรัฐอเมรกิ าทงิ้ ระเบดิ เกาะอนิ เดียตะวันออกของฮอลันดา นวิ กนิ ี ปรมาณูลกู แรกถลม่ เมืองฮิโระชมิ ะ และลกู ท่ี 2 ถล่มเมอื ง และหมู่เกาะโซโลมอน นะงะซะกิทาใหญ้ ่ีปนุ่ ยอมแพ้ สงครามจึงยุติลง

ความขัดแย้งและความรว่ มมอื ของมนษุ ยชาติในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถงึ ปจั จุบัน ความขัดแยง้ ในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบนั กาแพงเบอร์ลิน ซึง่ เป็นสญั ลักษณ์ของความ 4) สงครามเย็น (ค.ศ. 1495 - 1991) ขัดแยง้ ในสงครามเยน็ ได้ถกู สรา้ งขน้ึ ใน ค.ศ. 1961 และถูกพังทลายลงใน ค.ศ. 1989 • สงครามเยน็ หรอื ท่ีเรยี กกันวา่ สงครามอดุ มการณ์ เป็นความขดั แยง้ ทาง อดุ มการณท์ างการเมืองเพ่ือแยง่ ชงิ ความเปน็ ผู้นาโลกระหวา่ งกลุ่มโลกเสรี ซึง่ มีสหรัฐอเมริกาเปน็ ผนู้ ากบั กลมุ่ โลกคอมมิวนิสต์ซึง่ มสี หภาพโซเวียต เป็นผู้นา • แต่ละฝ่ายจะไมใ่ ช้อาวธุ ทาสงครามกนั โดยตรง แต่จะแข่งขนั กนั สะสม อาวธุ และกาลังรบพร้อมกบั การแข่งขันกนั ชิงอานาจและอิทธิพลด้าน ต่างๆ เชน่ ด้านอดุ มการณ์ทางการเมือง การทูต การทหาร การโฆษณา ชวนเชือ่ ตลอดจน การแสวงหาพนั ธมิตร หรอื ใช้ตัวแทนทาสงคราม

ความขัดแยง้ และความร่วมมือของมนษุ ยชาติในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจุบนั ความขดั แยง้ ในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 จนถงึ ปจั จบุ ัน เสน้ เวลาแสดงเหตกุ ารณ์สาคัญในประวตั ศิ าสตร์ ค.ศ. 1948 สหภาพโซเวียต ค.ศ. 1955 สหภาโซเวียตตั้ง ปิดล้อมกรงุ เบอร์ลิน องค์การสนธิสญั ญาวอ์ซอ ค.ศ. 1949 จนี ปกครองใน ค.ศ. 1957 สหภาพโซเวียตสง่ ดาวเทยี ม ระบอบคอมมิวนสิ ต์ สปตุ นิก 1 และสปตุ นิก 2 ขึน้ ส่อู วกาศ ค.ศ. 1950 ค.ศ. 1962 เกดิ วิกฤตการณขื ปี นาวุธที่ควิ บา ค.ศ. 1955 ค.ศ. 1960 ค.ศ. 1965 ค.ศ. 1947 สหรัฐประกาศวาทะทรแู มน ค.ศ. 1950-1953 ค.ศ. 1961 รัฐบาลเยอรมนี และแผนการมารแ์ ชลล์ เกดิ สงครามเกาหลี ตะวนั ออกสร้างกาแพงเบอรล์ ิน ค.ศ. 1956 ครุชอฟประกาศ ค.ศ. 1964 เริม่ สงครามเวียดนาม นโยบายอยรู่ ่วมกนั โดยสันติ

ความขดั แย้งและความรว่ มมือของมนษุ ยชาติในครสิ ตศ์ ตวรรษท่ี 20 จนถึงปัจจุบัน ความขดั แย้งในครสิ ตศ์ ตวรรษที่ 20 จนถึงปัจจบุ ัน เสน้ เวลาแสดงเหตกุ ารณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ ค.ศ. 1972 ประธานาธิบดีริชาร์ด นิกสันแห่งสหรฐั อเมรกิ าเยอื น สหภาพโซเวียตและจนี ค.ศ. 1970 ค.ศ. 1975 ค.ศ. 1980 ค.ศ. 1985 ค.ศ. 1989 กาแพงเบอรล์ นิ ถูกทาลาย ค.ศ. 1990 ค.ศ. 1990 การรวมเยอรมนี ตะวันออกและตะวนั ตกเข้า ดว้ ยกัน ค.ศ. 1979 สหภาพโวเวยี ตบกุ อัฟกานิสถาน ค.ศ. 1985 กอรบ์ าชอฟประกาศนโยบาย ค.ศ. 1991 สงครามเย็นสน้ิ สุด เปดิ -ปรบั หรือกลาสนอสต-์ เปเรสตรอยกา สหภาพโซเวียตลม่ สลาย