โดยคงกฤช อนิ ทแสน นกั วิชาการส่งเสรมิ การเกษตรปฏบิ ตั ิการ ในอดีตสตรอเบอรถี่ กู นามาส่งเสริมให้กบั ชาวเขาปลูกเพ่อื เปน็ พชื ทดแทนการปลกู ฝิ่น และแกป้ ญั หาการ ทาไรเ่ ล่ือนลอยบนพื้นทสี่ ูง แต่ในปจั จบุ ันสตรอเบอรี่กลายเป็นพืชทปี่ ลูกเพอ่ื การค้า โดยมแี หล่งผลิต สาคัญอยใู่ น จังหวดั เชยี งใหม่ และเชยี งราย ผลผลิตประมาณร้อยละ๘๐ ถกู แปรรปู เพอ่ื จาหน่ยในตลาดในและนอกประเทศ สว่ น อกี ประมณร้อยละ๒๐ เปน็ การผลติ เพ่อื ปอ้ นตลาดบรดิ ภคสด ลกั ษณะทั่วไปของสตรอเบอรี่ Strawberry: Fragaria ananassa เกิดจากการผสมข้ามระหวา่ ง F.chiloensis และ F.virginiana อยใู่ นวงศ์ Rosaeae มถี ิน่ กาเนดิ ในแถบอเมริกาเหนอื และอเมรกิ าใต้ เป็นพชื เขตหนาว อาย3ุ ปี ประกอบดว้ ย ลาต้น แตกกอเป็นพุม่ เตีย๊ ๖-๘ นว้ิ ทรงพ่มุ กว้าง๘-๑๒ น้ิว สูง ๖-๘ นว้ิ ขึ้นอยูก่ บั สายพนั ธุแ์ ละฤดปู ลกู ส่วนยอดสว่ นท่ตี ดิ อยู่ระหวา่ งรากกบั ใบเรียกว่าเหง้า (crown)ซงึ่ เปน็ ลาต้นสน้ั ส่วนบนของลาตน้ ประกอบด้วยหใู บ (Leaf axil) สว่ นโคนของหูใบจะมไี หล (runner)เจรญิ ออกมา สามารถพฒั นาเปน็ ตน้ อ่อน(daughter plant) ใบ เป็นแบบกลมุ่ ประกอบดว้ ย ใบย่อย๓ใบ ขอบใบ มกี า้ นใบยาว แต่ละต้นจะมใี บมากกกว่า ๑๐ เจริญ สลบั กนั แต่ละใบจะมชี วี ิตอยนู่ าน ๑-๓ เดอื น ปกตจิ ะมีใบใหม่ทดแทนอยูต่ ลอดฤดกู าลผลติ ลกั ษณะลาต้นและใบของสตรอเบอร่ี ลกั ษณะไหลสตรอเบอรี่
ระบบราก เป็นพืชท่มี ีระบบรากต้นื เม่อื ยา้ ยปลูกพืชจะสร้างรากทแ่ี ข็งแรง(peg root) ซ่ึงจะมอี ายปุ ระมาณ ๓-๔ อาทิตย์ หลังจากนนั้ รากทีเ่ จริญขนึ้ มาใหม่อาจเป็นแบบกง่ึ ถาวร มอี ายนุ านกวา่ หนง่ึ ฤดูปลกู หรืออาจเปน็ ราก ชวั่ คราว (อาย๑ุ - ๗ วัน) ซึ่งจะเจริญในระดบั ความลกึ ๓-๖ น้วิ หรืออาจเจริญลกึ ๑๒ ในดนิ ที่ร่วนซยุ เนอ่ื งจากเหงา้ จะเจรญิ สูงข้นึ ดังนั้นรากจะเจรญิ สงู ขึน้ เหนอื ระดบั ดนิ ตามอายุพชื ตาดอก เจริญจากตายอด ซงึ่ เกิดจากเหงา้ ทเ่ี จรญิ ข้ึนมาใหม่ เมอ่ื ไดอ้ ณุ หภูมติ า่ กวา่ ๑๕ 0c ชว่ งแสงสน้ั (ต่ากว่า ๑๐ช่ัวโมง/วนั ) ชักนาให้เกดิ การเจริญของดอก แต่ละต้นมีช่อดอก ๔-๗ ช่อและแต่ละช่อจะมดี อก ๕-๑๐ ดอก ดอกจะมีกลีบเลย้ี ง ๕ กลีบ และกลบี ดอก ๕ กลบี แตใ่ นดอกขนาดใหญอ่ าจจะมีมากกว่าน้ี ในอณุ หภมู ิ กลางวนั / กลางคืน สูงกว่า ๒๒.๒0c / ๒๑.๑0c ช่อดอกจะชะงกั การเจริญ ผล เปน็ แบบผลกลมุ่ (aggregate fruit) มเี มล็ดอย่ดู ้านนอกหรือเปลือกของผล ขนาดของผลข้ึนอยกู่ ับสาย พันธ์ุ การดแู ลรกั ษา การให้น้า เน่อื งจากน้าช่วยในการขยายตวั ของเซลล์ การผสมเกสร ขนาดของผลขึ้นอยู่กับ จานวนเมลด็ ในผล ลักษณะดอกของสตรอเบอรี ผลสตรอเบอร่ี สายพันธ์ุ สายพันธส์ุ ตรอเบอรมี่ ีค่อนขา้ งมาก ควรเลอื กสายพนั ธ์ุทมี่ คี ณุ ลักษณะและคุณภาพตามความต้องการของ ตลาด สามารถปรบั ตวั เขา้ กับสภาพแวดล้อมของแปลงปลูกได้ดี ทนต่อดรค แมลง ใหผ้ ลผลติ สูง โดยทั่วไปพันธขุ์ องสตรอเบอรี่ สามารถแบง่ ออกเปน็ 3 กลมุ่ ใหญ่คือ
๑. Junebearing cultiver เป็นประเภททต่ี ้องการอุณหภมู ิตา่ ชว่ งแสงส้นั กวา่ ๑๐ ชวั่ โมงตอ่ วัน เช่นพันธุ์ พระราชทานเบอร๗์ ๐ เบอร๗์ ๒ และ Nyoho เปน็ ต้น ๒. Everbearing cultiver เปน็ ประเภททตี่ อ้ งการชว่ งแสงยาวกว่า ๑๒ ช่วั โมงตอ่ วนั สว่ นใหญใ่ ชใ้ นปลูก นอกฤดู เชน่ พนั ธุ์Ozark beauty , Quinault เป็นต้น ๓. Dayneutral cultiver เปน็ ประเภททอ่ี อกดอกได้ทงั้ สภาพวนั สั้นและวนั ยาว แตจ่ ะมีปญั หาผลติ ไหลได้ น้อย เช่นพนั ธุ์Selva, Trista เปน็ ตน้ สายพันธ์ุในประเทศไทย ในปจั จุบันในประเทศไทยมีการปลกู สตรอเบอรเ่ี พ่อื การค้าหลายพนั ธุ์ ซ่ึงมูลนธิ ิโครงการหลวงเน้นสง่ เสรมิ การปลูกสตรอเบอร่ีพนั ธุ์ที่มีคณุ ภาพในการรับประทานสด อันไดแ้ ก่ ๑. พนั ธ์ุพระราชทาน๕๐ พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๙ ซง่ึ เป็นปฉี ลองสริ ิราชสมบัตคิ รบ ๕๐ ปี เปน็ พนั ธุ์ ทเี่ กดิ จากการผสมในประเทศสหรฐั อเมริกา ลว้ นาเข้ามาผสมตวั เองตั้งแต่ในปี พ.ศ. ๒๕๓๖ สามารถเจริญเตบิ โต และให้ผผลติ ดีในสภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุม่ ปานกลางค่อนข้างแน่น ไม่ตา้ นทานตอ่ ไรแตต่ า้ นทานราแปง้ ไดด้ ี ผลติ มคี ุณภาพดโี ดยเฉพาะใกลส้ กุ เตม็ ท่ี น้าหนักตอ่ ผล ๑๒-๑๘ กรัม รูปร่างเปน็ ลิม่ สีแดงถงึ แดงเขม้ เนือ้ และ ผลคอ่ นขา้ งแขง็ ๒. พันธุ์พระราชทาน๗๐ พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวฯ ทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ ๗๐ พรรษา เป็นสายพันธ์ุจากประเทศญีป่ ่นุ ใบมลี ักษณะกลมใหญ่ และสเี ขียวเขม้ ไม่ทนต่อ ราแป้งแต่ตา้ นทานโรคเหี่ยว ใหผ้ ลผลติ ค่อนข้างสงู น้าหนกั ตอ่ ผล ๑๑.๕- ๑๓ กรมั ผลมลี กั ษณะทรงกลมหรือทรง กรวย สีแดงสดใสแต่ไมส่ มา่ เสมอ เน้ือและผลคอ่ นขา้ งแขง็ มคี วามฉา่ มีกลิ่นหอมและรสชาติ ๓. พันธ์ุพระราชทาน๗๒ (เป็นสายพนั ธ์ุทมี่ ูลนธิ โิ ครงการหลวงส่งเสรมิ ใหป้ ลูก) พระราชทานเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ ๗๒ พรรษา เป็นสายพนั ธ์ุจากประเทศญี่ปนุ่ ช่อื พนั ธุ์ TOCHOTOME ผลมีขนาดค่อนขา้ งใหญค่ ือ นา้ หนกั ต่อผล ๑๔ กรมั เน้ือผลแขง็ กว่าพนั ธุ์พระราชทาน๗๐ แต่ มีความหวานน้อยกวา่ คอื ๙.๓0 Brix มีความสมดุลพอดรี ะหวา่ งความเปรี้ยวหวาน มกี ล่ินหอมเมื่อสุกเนื้อภายในผลมี สีขาว ผวิ ผลเมอื่ สุกเตม็ ทจ่ี ะมสี แี ดงถงึ แดงจดั เงาเป็นมนั ที่ผวิ ผล ทนตอ่ การขนสง่ มากกวา่ สายพนั ธุอ์ ่นื
๔. พนั ธ์พุ ระราชทาน๘๐ พระราชทานเม่อื ปี พ.ศ. ๒๕๕๐ ทีพ่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวฯ ทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ ๘๐ พรรษา เป็นสายพนั ธุท์ น่ี าเมล็ดพัน์ุลูกผสมจากประเทศญ่ีปุน่ มาปลูก(เปน็ สายพนั ธุ์ท่ีนามา ทดลองปลกู ที่สถานนีวิจยั เกษตรหลวงอา่ งขาง) ต้องการความสงู ตั้งแต่ ๘๐๐ เหนอื ระดบั นา้ ทะเลขน้ึ ไป อุณหภมู ิ เฉล่ีย ๑๖ 0c – ๒๐ 0c ไม่น้อยกว่า๓๐วนั มลี กั ษณะเดน่ กว่าพันธุ์อืน่ ๆคือ เม่ือสุกมีกลนิ่ หอม และมรี สชาติหวานกวา่ ผลมลี กั ษณะทรงกรวยถงึ กลมปลายแหลม น้าหนักตอ่ ผล ๑๒- ๑๕ กรัม เนอื้ ผลแน่นสแี ดงสด ลกั ษณะของใบของใบ จะเป็นรปู กลม ขอบใบหยักคล้ายฟันเลื่อย สีเขยี วปานกลาง ทรงพุม่ ตงั้ ตรง ต้านทานตอ่ ดรคแอนแทคโนสและรา แปง้ ไดด้ ี ๕. พันธุ์๓๒๙ เป็นสายพนั ์ุที่กรมส่งเสริมการเกษตรใช้ในการส่งเสริมเกษตรกร มลี กั ษณะผลใหญ่ รสชาติ หวานอมเปรีย้ ว กลิ่นหอม เนอื้ แข็งสะดวกต่อการขนส่ง ลักษณะใบกลมและหนา ลกั ษณะของตน้ พนั ธุพ์ ระราชทาน๗๒ ลักษณะผลของพนั ธุพ์ ระราชทาน๗๒ ลักษณะของต้นพนั ธ์ุพระราชทาน๘๐ ลกั ษณะผลของพันธ์ุพระราชทาน๘๐
ลกั ษณะของตน้ พนั ธ์ุ๓๒๙ ลกั ษณะผลของพนั ธ์ุ๓๒๙ การขยายพันธ์ุ การขยายพันุข์ องสตรอเบอรี่ทาได้หลายวิธี ทง้ั นข้ี ้ึนอยกู่ บั วัตถปุ ระสงคแ์ ละลกั ษณะประจาพนั ธ์ุ ๑.การใช้ต้นไหล สว่ นใหญก่ ารขยายพันธ์ุสตรอเบอรีจ่ ะใช้วธิ นี ซ้ี ึง่ ปฏิบัตกิ นั มาแตด่ ั้งเดมิ โดยการขยายต้น ไหลที่สามรถใหไ้ หลไดด้ ี ตน้ แม่๑ตน้ สามรถผลิตไหลได้ถึง๑,๐๐๐ ตน้ แต่โดยทว่ั ไปจะมี ๒๕ – ๕๐ ต้น ตน้ ไหลจะ ออกมากท่สี ุดหลังฤดูเก็บเก่ียวคือชว่ งฤดฝู น ๒.การแยกต้น การแบง่ ส่วนของลาต้นทมี่ รี าก มปี ระโยชน์สาหรับพนั ธ์ทุ ี่ไม่ออกไหล หรือพนั ธุ์ที่ออกไหล ไมด่ ี ซึง่ งสว่ นใหญ่เป็นพนั ป์ุ า่ ๓. การใชเ้ มล็ด เมลด็ ของสตรอเบอรโ่ี ดยทวั่ ไปมคี วามงอกพอใช้ได้ แต่สายพนั ธสุ์ ตรอเบอรไี่ มส่ ามรถผสม พนั ธ์ใุ หเ้ หมอื นพันธุเ์ ดิมของมัน วิธนี ี้จงึ มักใช้ในการพัฒนาพนั ธใ์ุ หม่ๆ นอกจากนน้ั ยังใชใ้ นกกรณที ไ่ี มม่ กี ารผลติ ไหล ๔. การเพาะเล้ียงเนอื้ เยอื่ เนอ่ื งจากปญั หาไวรสั เข้าทาลายพืชและสามารถแพรร่ ะบาดทางไหล ทาใหก้ าร เจรญิ ตบฺ โตตา่ จงึ ไดม้ ีการขยายพนั ธโ์ุ ดยการเพาะเลย้ี งเน้อื เยือ่ ทาให้สารถผลติ ต้นพันธ์ุทป่ี ลอดโรคไดจ้ านวนมาก อยา่ งรวดเร็ว
สภาพแวดลอ้ มท่ีเหมาะสม อณุ หภูมิ อณุ หภูมิเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของสตรอเบอรี่คืออณุ หภิมิกลางวัน ๒๔0c กลางคืน ๑๘0c หรอื อณุ หภูมเิ ฉลยี่ อยทู่ ี่ ๑๗ 0c – ๒๐ 0c แสง ความเข้มแสงทเี่ หมาะสมคือมากกว่า ๔,๐๐๐ แรงเทยี น ในด้านชว่ งแสงท่ีเหมาะสอคอื ๘ ชว่ั โมงตอ่ วัน ดิน ดนิ ที่ใชป้ ลกู สตรอเบอรีค่ วรเปน็ ดินรว่ นปนทรายมีการระบายน้าดี มคี วามเปน็ กรดเล็กนอ้ ย pH ประมาณ ๕.๕ – ๖.๕ อณุ หภมู ิและการเจริญเติบโตของสตรอเบอรี่ องศาเซียลเซยี ส 22-24 อุณหภูมิสูงสดุ สาหรับการพัฒนาของดอก 20 ช่วงแสง สารอาหาร มีผลตอ่ การพฒั นาตาดอก 15 12 อุณหภูมทิ ีเ่ หมาะสม 10 ชว่ งแสง สารอาหาร ไม่มผี ลตอ่ การพฒั นาตาดอก 2-3 อุณหภูมทิ ตี่ า่ สกุ สาหรบั การพฒั นาตาดอก
ในสภาพแวดลอ้ มท่ีอณุ หภูมิตา่ ชว่ งแสงส้นั หรอื ปลายเดอื นกนั ยายนจนถึงตุลาคม เน้ือเย่ือเจรญิ จะ เปลีย่ นตาใบเป็นตาดอก โดยเริม่ พัฒนาเม่อื อุณหภมู ติ ่ากวา่ ๒๔0c อุณหภูมิท่ีเหมาะสมคือ ๑๒0c ในดา้ นชว่ งแสง เมื่อชว่ งแสงตา่ กวา่ ๑๐ ชัว่ โมงตอ่ วนั จะกระตุ้นการพัฒนาตาดอก ช่วงแสงท่เี หมาะสมคอื ๘ ชว่ั โมงต่อวนั แต่การ เจริญของดอกและชอ่ ดอกต้องการอุณหภมู ิสูง และช่วงแสงยาว ระยะกอ่ นสรา้ งตาดอก ระยะสรา้ งตาดอก ระยะพัฒนาตาดอก ช่อดอกเจรญิ อณุ หภมู ิต่า/ชว่ งแสงสนั้ อุณหภูมิสงู /ชว่ งแสงยาว การปลูกและการดูแลรกั ษา การปลกู สตรอเบอรีแ่ บ่งเป็น๒ชว่ งคือ การปลูกเพือ่ เกบ็ เก่ียวผลผลติ และการปลูกเพ่อื ผลิตตน้ ไหล ๑.การปลกู เพอ่ื เก็บเก่ยี วผลผลิต การเตรียมแปลงปลูก กอ่ นเตรียมแปลงปลูกในเดอื นเมษายน จะมกี ารปลกู พชื พชื ตระกลู ถ่วั บารุงดิน ทีส่ ถานีเกษตรหลวงอ่างข่าง ใชถ้ ัว่ พมุ่ ดาเนื่องจากตอ้ งการนา้ น้อย เมอ่ื ถึงเดอื นมถิ นุ ายนถั่วจะออกดอกจงึ ทาการไถ กลบ ในเดอื นกรกฎาคมจึงทาการเตรียมแปลงปลกู โดยหว่านปนู ขาวอัตรา ๖๐-๘๐ กิโลกรัมต่อไร่ เพอื่ ปรับสภาพ ดิน (ท้ังน้ีขึน้ อยูก่ บั สภาพความเปน็ กรดเปน็ ด่างของดิน) พรอ้ มไถดะ ไถแปร เพอ่ื พลิกดนิ พง่ึ ดนิ ไว้ประมาณ ๒ สปั ดาห์ เพื่อกาจัดศตั รูสตรอเบอรแี่ ละวชั พชื หลงั จากน้นั จึงนาปยุ๋ คอกหรือปุ๋ยหมกั ทผ่ี ลสมเชื้อราไตรโคเดอร์มา่ ใน อตั รา ๒-๒.๕ ตนั ต่อไร่ คลุกลงในดนิ ลกึ ๒-๓ นิว้ กอ่ นข้นึ แปลงปลูก เตรียมแปลงปลกู แบบยกร่องใหฐ้ านกวา้ ง ประมาณ ๗๕ เซนติเมตร สูงประมาณ ๒๐- ๓๐ เซนติเมตร สันแปลงกวา้ งประมาณ ๕๐ เซนตเิ มตร การเตรียมแปลงปลกู สภาพแปลงท่พี รอ้ มปลูก
แปลงปลูกสตรอเบอรี่บา้ นนอแล จ.เชียงใหม่ แปลงปลูกสตรอเบอร่สี ถานีเกษตหลวงอา่ งขาง การคลุมแปลง เนื่องจากสตรอเบอรมี่ ีระบบรากต้ืน พชื จะเหย่ี วไดง้ ่ายเมอื่ หนา้ ดนิ ขาดความชืน้ จาเป็นตอ้ ง คลมุ แปลงปลกู ด้วยวัสดุ เพ่ือ ปอ้ งกันหนา้ ดนิ แหง้ และรักษาความชมุ่ ชื้นในดนิ ควบคุมวชั พืช ลดการระบาดของโรค ทางใบ รวมทง้ั ป้องกนั ไมใ่ ห้ผลสตรอเบอรเี่ กดิ การเสยี หายเน่อื งจากสัมผสั กบั ดิน โดยทาการคลุมกอ่ นปลกู หรือหลัง ปลูกได้ ๑-๒ สปั ดาห์ ซ่งึ วัสดคุ ลมุ แปลงแตล่ ะชนิดมีข้อดขี ้อเสยี แตกต่างกัน ดังนี้ ๑. ฟางข้าว หาง่านในทอ้ งถ่ิน ราคาถูกแตม่ ักยอ่ ยสลายได้เรว็ ตอ้ งคอยใสฟ่ างข้าวเพม่ิ เตมิ หลังปลกู และมกั พบบ่อยวา่ ผลผลิตเนา่ เสยี ช้างา่ ยเนอื่ งจากฟางข้าวหลงตดิ ไปกับผลสตรอเบอรี่ ทาความสะอาดยากซ่ึงเปน้ ปญั หากบั การส่งออก ๒. ใบตองตงึ หรอื ใบตองเหียงท่ีทาเปน็ ตบั เชน่ เดียวกบั ทใ่ี ชม้ ุงหลังคเป็นวสั ดคุ ลมุ แปลงที่นยิ มใช้ มีอายคุ งทน กวา่ ฟางข้าว โดยนามาคลุมทงั้ สองดา้ นของแปลง ชิดกบั ตน้ ทป่ี ลูกเป็นแถวจะม่ทีว่ ่างสาหรบั ใหน้ ้าใหป้ ุย๋ ได้ แลว้ ใช้ ไม้ไผต่ อกประกับตามแนวยาวเพอ่ื ยดึ ใบตองตงึ กบั พ้ืนดนิ ๓. พลาสติก มีหลายประเภทเชน่ พลาสติกสีเงนิ -ดา มีลักษณะคือด้านหน่ึงสดี า อีกดา้ นสเี งนิ โดยเวลาคลมุ ต้องเอาดา้ นสเี งินหันขนึ้ เนอื่ งจากสามารถไล่พวกเพล้ยี ไฟตา่ งๆไดด้ ี สามารถคลุมวัสพชื ได้บางชนิด สารบั พลาสติกสดี า ไม่ควรใช้อยา่ งยิ่งเน่ืองจากดดู ความรอ้ นทาใหอ้ ณุ หภมู ดิ นิ ใตพ้ ลาสตกิ สูงเปน็ อนั ตรายตอ่ ระบบราก อีกท้ังผลของ สตรอเบอรที่ ีส่ ัมผัสกับพลาสตกิ ดาท่ีร้อนจัดจะเสียหายเปน็ รอยตาหนินอกจากนีพ้ ลาสตกิ มีราคาแพงทาใหต้ ้นทนุ การ ผลติ สงู
การคลุมแปลงปลูกตองตงึ ไมไ้ ผ่ตอกประกับยึดใบตองตงึ กับพื้นดนิ วิธีการปลกู เร่ิมปลกู ในเดือนสงิ หาคม (บา้ นนอแล และบา้ นชอบด้ง ต.แมง่ อน อ.ฝาง จ.เชยี งใหม่) ใชร้ ะยปลกู ระหว่างตน้ ๒๕-๓๐ เซนตเิ มตร ระหวา่ งแถว ๓๐-๕๐ เซนติเมตร ข้นึ อยกู่ บั สายพันธุ์ ปลูกแบบ สลบั ฟันปลา ใชต้ น้ ไหลประมาณ ๘,๐๐๐ – ๑๐,๐๐๐ ตน้ ตอ่ ไร่ โดยนาตน้ ไหลจากแหลง่ ผลติ ท่เี ชื่อถือไดต้ รงตาม สายพนั ธุ์ ซ่ึงผลิตบนพ้ืนท่ีสงู ลาต้นและรากสมบูรณแ์ ขง็ แรง รากสีขาวหรอื สีฟางขา้ ว ควรมใี บไม่นอ้ ยกวา่ ๓-๔ ใบ ปลกู โดยใหร้ ะดับรอยตอ่ รากและลาต้นของต้นไหลพอดีกับระดับผิวดนิ ไม่ตื้นเกินไปเพราะรากจะแห้งเรว็ แต่ถา้ ปลูกลกึ เกนิ ไปรากจะเนา่ ให้หันขวั้ ไหลด้านทเ่ี จรญิ จากต้นแมเ่ ข้าหาแปลงเพือ่ ใหผ้ ลของสตรอเบอรีอ่ อกมาอย่ดู ้าน นอกของแปลงซึง่ ผลไดจ้ ะรับแสงแดดเต็มท่ีทาใหร้ สชาติดี สะดวกตอ่ การเก็บเก่ยี วและลดปญั หาเรือ่ งโรคของผลได้ หลังปลกู กดดินใหแ้ นน่ อย่าใหม้ ใี ห้มีช่องว่างรอบๆราก ปลกู เปน็ แถวแบบสลบั ฟนั ปลา หันขว้ั ตน้ ไหลท่ีเจรญิ จากต้นแมเ่ ขา้ หาแปลง
การให้นา้ น้าที่ใชต้ อ้ งได้มาจากแหลง่ ที่ไม่มีสภาพแวดล้อมซงึ่ ก่อใหเ้ กดิ การปนเปื้อน และในชว่ งหลงั ย้าย ปลูกสปั ดาหแ์ รกต้องระวังเรอ่ื งการให้น้า เนื่องจากสตรอเบอรเี่ ป็นพชื ทีม่ ีระบบรากตื้นควรใหน้ ้าทนั ทหี ลงั ปลูกเสร็จ เม่ือต้นเตบิ โตมีระบบรากแข็งแรงใหร้ ดนา้ ทกุ วนั วันละคร้งั ในกรณีทฝี่ นไม่ตก การทจ่ี ะทราบว่าควรให้นา้ มากน้อย เพยี งใดน้ันต้องคาดคะเนจากความชนื้ ของดินอยา่ งสม่าเสมอ หากดินแหง้ ขาดน้าจะทาให้สตรอเบอรี่ชะงักการ เจรญิ เติบโต ผลผลิตและคณุ ภาพตา่ ระยะวิกฤตเมอ่ื สตรอเบอรี่ขาดนา้ จะมผี ลกระทบต่อผลผลติ คอื ระยยา้ ยตน้ กล้าใหม่ ระยะพัฒนาของผล และระยะการเจริญของไหล แตถ่ ้าดนิ ชื้นเกนิ ไป มีนา้ ขงั รากกจ็ ะเน่า นอกจากน้ี การให้นา้ มากเกนิ ไปยังทาให้ลาต้นอวบน้า ใบมีขนาดใหญ่ การออกดอกลดลง สีซดี ผลสดนมิ่ เป็นรอยชา้ และ เช้อื อราเขา้ ทาลายง่าย การให้น้าด้วยสายยางของเกษตรกรบา้ นนอแล การให้นา้ ดว้ ยระบบนา้ หยด การใหป้ ุย๋ ชนิดและปรมิ าณของปุ๋ยน้นั นน้ั ขึน้ อยูก่ ับผลการวเิ คราะห์ดนิ ระยะการเจรญิ เตบิ โต สภาพ อากาศ ระยะปลกู ตลอดจนปริมาณนา้ โดยหลกั ปฏิบัติดงั นี้ หลงั จากย้ายปลกู ๗ วนั ให้ปุ๋ยสูตร ๔๖ – ๐ – ๐ โดยนาปยุ๋ ละลายในนา้ ในอตั ราปุ๋ย ๕๐ ต่อนา้ ๒๐ ลิตร หลังยา้ ยปลูก ๑๕ วัน ใหป้ ยุ๋ สตู รเดิมในอัตรเดมิ อีกหนึ่งครัง้ หลังจากยา้ ยปลูก ๒๑ วันใหป้ ๋ยุ สูตร ๑๕ – ๑๕ – ๑๕ ในอัตรา ๕-๑๐ กรัมตอ่ ต้น เมื่อยา้ ยปลกู ครบ๓๐ ให้ปยุ๋ สูตร ๑๒-๒๔-๑๒ อัตรา๑๐-๑๒ กรมั ตอ่ ต้น และช่วงติดผลคอื ประมาณ๔๕ วนั ใหป้ ุ๋ย ๑๓ – ๑๓ – ๒๑ ในอตั รา ๑๐ ตอ่ ตน้ ฉีดปยุ๋ เกลด็ สตู ร ๑๐-๒๐-๓๐ เสรมิ หลังจากเก็บเกียวผลผลติ ชุดแรก ฉีดปยุ๋ เกล็ดสตู ร ๑๑-๔๕-๑๑ เม่อื กระตุน้ ดอก ชุดทีส่ อง และควรฉดี พ่นธาตอุ าหารเสริม ไดแ้ กแ่ คลเซยี ม แมกนีเซียม และโบรอนเปน็ ตน้ ในอัตราทีฉ่ ลาก กาหนดอยา่ งน้อยเดอื นละครง้ั ตลอดชว่ งการปลูก
การดูแลรกั ษา หมั่นสารวจแปลงโดยสารวจชนิดและปรมิ าณศตั รเู ข้าทาลายสตรอเบอรที่ ุก๗-๑๐ วัน ตง้ั แตห่ ลงั ปลูกจนส้นิ สดุ ฤดูการปลกู นอกจากน้ยี งั ตอ้ งหม่นั กาจัดวชั พืชอยา่ งสมา่ เสมอเน่ืองจากเปน็ แหลง่ สะสมโรค และแมลงทท่ี าความเสยี หายแกส่ ตรอเบอร่ี พร้อมท้งั ตอ้ งหมัน่ ตดั แต่งใบและลาตน้ ที่ไม่สมบูรณอ์ อก ซงึ่ แต่ละกอควร มจี านวน ๓-๕ ตน้ ในช่วงออกดอกควรเดด็ ดอกท่ไี มส่ มบูรณอ์ อกเพื่อใหผ้ ลผลิตที่ได้มคี ุณภาพสูง อยา่ ทิ้งเศษพืชไว้ใน แปลงปลกู เพราะเป็นแหลง่ สะสมโรค ควรเกบ็ เศษพชื ไปเผาทาลายหรือฝังดิน เกษตรกรบา้ นนอแลทาการตัดแตง่ ใบ เด็ดดอกที่ไมส่ มบรู ณอ์ อก การตดิ ดอกออกผล ตน้ สตรอเบอรี่จะเร่มิ แทงช่อดอกเมอื่ อณุ หภูมิเรม่ิ ต่าลงและช่วงแสงสั้น คอื ประมาณหนึง่ เดอื นหลงั ปลูก จะเรม่ิ แทงชอ่ ดอกชุดแรก ดอกชุดแรกควรเด็ดทง้ิ เพื่อใหธ้ าตอุ าหารไปเล้ยี งลาตน้ ลาตน้ สมบรู ณเ์ สียก่อน โดยลาตน้ ทสี่ มบรู ณ์จะใหด้ อกที่สมบูรณแ์ ละต่อเนอื่ ง โดยลาต้นที่สมบูรณ์จะมเีส้นผา่ นศนู ยก์ ลางประมาณ ๒ เซนตเิ มตร เมอ่ื ดอกบานจะมกี ารผสมเกสร ประมาณหน่ึงเดือนหลงั เกสรทเ่ี กสรไดร้ ับผสมผลจะเริ่มทยอยแก่ พร้อมท่ีจะเก็บเก่ยี วได้
การเกบ็ เกยี่ ว การเกบ็ เกีย่ วผลผลิตตอ้ งคานงึ ถงึ ความตอ้ งการของตลาดทัง้ เชงิ คุณภาพและปริมาณ ขอ้ กาหนดเชิงคณุ ภาพของสตรอเบอรีเ่ พอ่ื ตลาดบริโภคสด - ผลสตรอเบอร่ีต้องสะอาด มีสีสด ความแนน่ เน้อื และความหวานสูง ผวิ เป็นมัน รูปทรงของผล ปกตไิ ม่บิดเบ้ียว การเรยี งตวั ของเมลด็ เป็นระเบยี บ มกี ลน่ิ หอม และมกี ลีบเลีย้ งติดมาด้วย กลบี เลีย้ งสี เขยี วไม่แห้ง - ผลไมม่ ีรอยแผล เน่า ชา้ หรือเช้อื รา หรอื มศี ตั รพู ชื ตดิ มา - ควรเกบ็ เก่ียวผลผลติ ทม่ี สี ีแดงอยา่ งน้อย ๖๐ เปอรเ์ ซนต์ แตไ่ ม่เกิน ๘๐เปอรเ์ ซนต์ - ผลสตรอเบอร่ีที่อยูบ่ รรจุในภาชนะเดียวกนั ควรมีสแี ละขนาดสมา่ เสมอกัน การเก็บเก่ียวตอนเชา้ ตรู่ถึงตอนสายทแี่ สงแดดยังไม่แรง และอุณหภูมไิ มส่ งู จนเกนิ ไป โดยเก็บผลทม่ี ีสแี ดง เกิดขึน้ ๖๐-๘๐เปอร์เซนต์ เพ่อื ใหไ้ ด้รถชาตหิ วานและมีกล่ินหอมโดยใชเ้ ลบ็ หวั แมม่ ือและนว้ิ ชเี้ ดด็ ออกจากขวั้ ใส่ลงใน ภาชนะทส่ี ะอาด และปอ้ งกนั การชา้ เสียหายได้ เม่ือเก็บแล้วไม่ควรใหผ้ ลถกู แสงแดดนานเกิน ๑๐ – ๑๕ นาที เน่ืองจากสตรอเบอร่ีมอี ตั ราการหายใจสงู เมอื่ ถกู แสงแดดจะทาใหผ้ ลเน่าเร็ว รบี นาผลผลิตท่ีเก็บเกยี่ วแล้วมาคดั คณุ ภาพในทีร่ ่มอกี คร้งั โดยคัดผลท่ีไม่ตรงสายพันธ์ุ ระยะเกบ็ เก่ียวไมถ่ กู ต้อง มีตาหนิ สุกเกินไปหรือมีศัตรูพืชติด ออกจากผลผลิตคุณภาพดี ทาการแยกผลตามช้ันมาตรฐานคณุ ภาพโดยให้ผลในแตล่ ะเกรดมีขนาดสม่าเสมอกนั ดังน้ี -เกรดพเิ ศษ นา้ หนกั ผล ๒๕ กรมั ขึ้นไป - เกรด ๑ น้าหนกั ๑๕-๒๕ กรมั - เกรด ๒ นา้ หนัก ๑๑-๑๕ กรัม - เกรด ๓ นา้ หนกั ๙-๑๑ กรัม - เกรด ๔ นา้ หนกั ๗-๙ กรมั เกบ็ เก่ียวผลทม่ี สี แี ดงเกิดขึน้ ๖๐-๘๐เปอรเ์ ซนต์ เด็ดโดยใหม้ กี ลบี เลี้ยงตดิ มาด้วย
ภาชนะที่ใชใ้ ส่ผลผลิตสตรอเบอร่ีจากแปลงปลกู การเกบ็ ผลผลิตเพ่อื เตรียมคัดคุณภาพ การบรรจุและการขนส่งผลผลติ เนื่องจากผลของสตรอเบอรี่บอบช้างา่ ย โดยเฉพาะถา้ เส้นทงคมนาคมไกล และไมด่ เี ท่าทค่ี วร ดงั นนั้ การบรรจุผลสตรอเบอร่ีจงึ เปน็ ข้ันตอนทีส่ าคญั การบรรจหุ บี ห่อและสง่ จาหน่ายควรทาให้ รวดเร็วท่ีสดุ ระบบการบรรจุของมลู นธิ โิ ครงการหลวง จะบรรจุสตรอเบอรี่ลงในถาดพลาสติกใสเจาะรแู ละมีฝาปิด โดยจะเรยี ง๒ชั้น แล้วคลมุ ดว้ ยแผ่นพลาสติดพวี ิซหี นา ๒๕ ไมคอนดึงให้ตึงแล้ว บรรจุลงในกลอ่ งกระดาษซ่งึ บรรจุ ได๔้ หรอื ๘ ถาด เพือ่ ลดการกระทบกระเทอื นของผล แลว้ ขนส่งโดยใชร้ ถบรรทุกทมี่ เี คร่ืองทาความเยน็ เกบ็ รักษาไว้ ที่อุณหภมู ิ ๑-๒ 0c และมีความช้นื ประมาณ ๘๕ – ๙๐ เปอรเ์ ซนต์ ถาดพลาสติกทใี่ ชบ้ รรจุผลผลิต ทาการคดั แยกเกรดและตรวจสอบคุณภาพ
โรค แมลง และศัตรพู ืช โรคสตรอเบอรีท่ ่ีสาคญั ๑ . โรคท่ีเกดิ จากเช้ือไวรัส จะแสดงอาการใบหยกิ ย่น ใบผิดรปู ร่าง ใบมว้ นข้ึน หรอื อาการใบด่าง ตน้ เต๊ีย แคระแกรน ข้อสั้น ทรงพ่มุ ใี บแน่น ขนาดใบเล็กกว่าปกติ พบวา่ ส่วนใหญเ่ กิดจากแมลงปากดดู เช่นเพลี้ยออ่น เพล้ยี ไฟ และไสเ้ ดอื ดฝอยบางชนดิ เป็นพาหะของโรค การปอ้ งกันกาจดั โดยใชต้ น้ พันธท์ุ ผี่ า่ นการรับรองว่าปลอดเชอ้ื ไวรัส หรือเป็นพนั ธ์ุทตี่ ้านทาน บารุงให้ ต้นพชื แขง็ แรง กาจดั แมลงท่ีเปน็ พาหะของโรค โดยใชส้ ารสะกดั สะเดา หรอื กับดักกาวเหนียว เปน็ ตน้ โรคนี้เม่อื เกดิ แล้วไมส่ ามรถรักษาให้หายได้ เม่อื พบวา่ ควรถอนและเผาทาลายทนั ที ๒. โรคแอนแทรคโนส เกิดจากราคลอเลค็ โตรตริคัม ซ่งึ สามารถเกิดไดก้ ับทกุ สว่ นของสตรอเบอร่ี ถา้ เกดิ ท่ี ไหลจะแสดงอากาศโดยเรมิ่ จากแผลเลก็ ๆสีม่วงแดงบนไหลแล้วลุกลามตลอดความยสวของไหล แผลทีข่ ยายยาวขึ้น จะเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ตน้ ไหลอาจยงั ไมต่ ายแตเ่ ม่ือย้ายตนั ไหลทีต่ ดิ เชือ้ ลงแปลงปลกู เม่อื สภาพเหมาะสมกบั การ เจริญเตบิ โตของเช้อื คืออากาศรอ้ นชน้ื ตน้ สตรอเบอรี่จะแสดงอาการอาการใบเฉาตอ่ มาจะเห่ียวอยา่ งรวดเรว็ จะ พบว่าเนื้อเย่ือสว่ นกอดา้ นในมลี กั ษณะเน้าแหง้ มีสนี า้ ตาลแดง โรคนี้สามรถเกิดกับผลสตรอเบอร่ีได้ด้วย จะพบ อาการผลรักษณธวงรี สีน้าตาลเข้ม ผลบมุ๋ ลึกลงในผวิ ผล การปอ้ งกนั กาจัด ไมค่ วรใสป่ ๋ยุ ในโตรเจนมากเกนิ ไป และควรฉดี พ่นสารปอ้ งกนั กาจัดเชอ้ื ราคลอเลค็ โตรต ริคัมเชน่ อะซอ๊ กซสี โตรบนิ คาร์เบนดาซมิ ไดฟโี นโคนาโซล โปรไซมิโดน เบโนมลิ เป็นระยะๆ จนสภาพอากาศ หนาวเยน็ ลงซงึ่ เป็นสภาพไม่เหมาะสมต่อการเจริญเตบิ โตของเชอ้ื โรคแอนแทรคโนสที่เกิดในผลโรค ภาพขยายบรเิ วณแผลทีเ่ ปน็ โรคแอนแทรคโนส
๓. โรคใบจดุ เกิดจาเช้อื รา รามูมาเรีย โรคนี้จะปรากฏกับตน้ แมแ่ ละตน้ กลา้ มักพบการระบาดในแปลง ปลกู ทีป่ ลกู สตรอเบอร่ีมานาน แปลงทม่ี ีวัชพชื มาก อาการเร่มิ แรกจะเห็นแผลขนาดเล็กสีมว่ งแกบ่ นใบ ต่อมาแผลจะ ขยายขนาดรอบแผลสมี ว่ งแดง กลางแผลสรน้าตาลออ่ นถึงขาว บางคร้งั อาจพบอาการที่ผลดว้ ย การป้องกนั กาจัด ถา้ พบอาการของโรคทใ่ี บให้เดด็ ออกแล้วเผาทาลาย อย่าทงิ้ ไว้บรเิ วณแปลงปลูก หม่นั ดแู ลความสะอาดของแปลงอยเู่ สมออยา่ ให้วัชพชื ขนึ้ รก ฉีดพน่ สารเช่น โปรคลอราช แมนโคเซ็บ ซแิ นบ สลบั กบั คาร์เบนดาซมิ ไดฟโี นโคโนซาน ๔. โรครากเน่าโคนเน่า เกิดจาเช้อื ราไฟทอปเทอร่า จะพบการตายของราก โดยเริม่ จากปลายรากลุกลาม ต่อไปทรี่ ากแขนงจะเนา่ บริเวณทอ่ นา้ ตอ่ อาหารเปน็ สแี ดง อาการเน่าสามารถลามไปถงึ โคนตน้ ถา้ อาการไมร่ นุ แรงต้น อาจเพยี งแคระแกรน แต่ถ้าแสดงออาการรุนแรงพชื จะตายภายใน ๒ – ๓ วนั การปอ้ งกันกาจัด ปรบั ปรุงดินให้ร่วนซ่ยุ และระบายนา้ ดี ขดุ ดินตากแดดจดั ๆ ๒-๔ สปั ดาหก์ อ่ นปลูก อบดนิ กอ่ นทาการปลูก นอกจากนีย้ งั มกี ารใชเ้ ช้ือจลุ ินทรยี ์ท่ีต่อตา้ นเชื้อสาเหตขุ องโรค เชน่ เช้อื ราไตรโดคเดอรม์ า่ ผสมกบั ราและปยุ๋ หมัก คลุกเคลา้ กับดิน ๑ – ๒ สัปดาห์กอ่ นปลกู สามารถปอ้ งกนั โรครากเน่าโคนเน่าได้ อาการโรคเรากน่าโคนเนา่ ในสตรอเบอรี่ เชอ้ื ราไตรโดคเดอรม์ ่าใชค้ วบคมุ โรครากเนา่ โคนเนา่ ศตั รสู ตรอเบอรีท่ ีส่ าคัญ ๑. เพลีย้ ไฟและไรสองจุด จะเขา้ ทาลายโดยดูดกินน้าเลีย้ งโดยเฉพาะในสว่ นใบบริเวณใตใ้ บ ทาให้บริเณที่ ถกู ทาลายมีลกั ษณะกล้าน ใตใ้ บจะเปลยี่ นเปน็ สนี า้ ตาลแดง ทาใหส้ ตรอเบอร่ชี ะงกั การเจรญิ เติบโต ตน้ แคระแกรน ให้ผลผลติ น้อย ถา้ เขา้ ทาลายผลทาใหผ้ วิ ของผลกร้านไมเ่ ป็นทีต่ ้องการของตลาด และมักพบการระบาดในชว่ งที่ อากาศแห้งตความชืน้ ต่า ความสูญเสยี ระดับเศรฐกิจคอื เมอ่ื พบตัวเต็มวยั มากกว่า ๒๐ ตวั ต่อใบ
การป้องกันกาจดั สามารถป้องกันได้โดยการกาจัดวัชพชื ในแปลง ตดั แต่งใบแกล่ าต้นให้โปร่ง ใหน้ า้ เพอ่ื เพม่ิ ความชื้น พน่ ดว้ ยโพรพาร์ไกด์ ๓๐% ดับบวิ พ่ี อตั รา ๓๐ กรมั เฟนไพร็อคซิเมต ๕% เอสซี อตั รา ๒๐ มิลลิลิตรตอ่ น้า ๒๐ ลติ ร เพลย้ี ไฟ ไรสองจุด ลักษณะการเข้าทาลายก้านใบ ลักษณะการเขา้ ทาลายผลสตรอเบอร่ี ๒. เพลี้ยออ่ น เปน็ แมลงปากดูด จะดูดน้าเลี้ยงของใบ ก้านใบ ทาให้ใบหยิกยน่ ดา้ นทา้ ยของเพล้ียออ่ น มีท่อย่นื ออกมาสองท่อ ใชป้ ลอ่ ยสานนา้ หวานท่เี ป้นอาหารของเชอื้ รา ทาใหพ้ ืชเกดิ ราดา พืชจะสงั เคราะหแ์ สง ลดลง ทาใหช้ ะงักการเจริญเติบโต ความสญู เสยี ระดับเศรฐกจิ คือเมื่อพบตวั เต็มวัยมากกวา่ ๔๕ ตวั ต่อใบ การปอ้ งกนั กาจดั ป้องกันกาจัดโดยกาจัดวัชพชื ในแปลง ฉีดพน่ ดว้ ยฟิโปรนิล ๕% เอสซี หรือ แลมบ์ดาไซฮาโลทริน ๒.๕% อตั รา ๑๐ มลิ ลลิ ิตรต่อนา้ ๒๐ ลติ ร
๓. หนอนดว้ งขาว ปากมีลักษณธปากกดั เจริญเตบิ โตจากไขท่ ี่อยู่ใต้ดิน จะเร่มิ กัดรากสตรอเบอรใี่ นชว่ ง ปลายฤดูฝนทาให้ รากไมส่ ามารถดูดน้าได้ทาใหใ้ บเหีย่ ว และชะงกั การเจรญิ เตบิ โต พบในแปลงปลกู ท่เี ปดิ ใหม่ ใกลป้ า่ หรอื ใกล้กองปุ๋ยหมกั การป้องกนั กาจดั เม่อื พออาการดังกลา่ วใหห้ าหนอนแลว้ ทาลาย ในการเตรยี มดนิ ให้ยย่ อดนิ ให้ละเอยี ด ใช้สารคลอร์ไฟริฟอส ราดลงในดนิ สารน้มี พี ิษตกค้างในดิน ๒๐-๒๕ วันในดิน ๔. หนอนกระทผู้ กั สามรถทาความเสียหายให้กับสตรอเบอร่ีโดยหนอนจะกดั กินใบ เหลือไวแ้ ตโ่ ครงกา้ นใบ ทาใหไ้ มส่ ามารถสังเคราะห์แสงได้ ทาใหส้ ตรอเบอร่ีชะงักการเจริญตเติบโต ความสญู เสยี ระดับเศรฐกจิ คอื เม่อื พบตวั เตม็ วัยมากกว่า ๑๕ ตัวต่อ ๑,๐๐๐ ต้น การป้องกันกาจัด หมั่นสารวจแปลงถ้าพบไขห่ รือกลมุ่ หนอนใหร้ ีบเดด็ ใบไปทาลาย ฉีดพ่นดว้ ยฉดี พน่ ด้วย ฟโิ ปรนิล ๕% เอสซี หรอื เดลทรเมทรนิ ๓ % เอสซี อตั รา ๒๐ มลิ ลลิ ิตรตอ่ นา้ ๒๐ ลิตร ๕. ทาก มกั พบเขา้ ทาลายผลโดยการกดั ทาให้ผลผลติ เสยี หาย มักพบเม่อื ในแปลงมีสภาพชนื้ แฉะ ความสญู เสยี ระดับเศรฐกจิ คือเม่ือผลถูกทาลายมากกวา่ ๕ ตผลต่อแถวปลูกยาว ๑๐๐ เมตร การปอ้ งกนั กาจดั ทาความสะอาดแปลง หรือใช้เหย่อื พษิ เมทลั ดไี ฮด์ ๕ % จีบี โรยหวั แปลงปลกู เพลี้ยออ่ น หนอนด้วงขาว
การควบคุมศัตรูพืชในระยะเก็บเก่ยี วผลผลิต ในระยะเกบ็ เกยี่ วผลผลิตควรหลกี เล่ยี งการฉีดพน่ สารเคมี โดยใชส้ ารชีวภัณฑ์ควบคุมศตั รูพืชแทน เพือ่ ปอ้ งกันการตกค้างของสารพษิ ในผลผลติ ๑.โรคพืชที่มสี าเหตจุ ากเชอ้ื รา เช่น ใบจดุ , รากเน่าโคนเน่า , ผลเน่า นั้นสามารถใช้ สารแขวนลอยของ เช้ือราไตรโคเดอรม์ า, น้าหมกั สมุนไพร PP1, PP5, เชือ้ แบคทเี รยี บเี ค33 หรอื เชอ้ื บาซลิ สั ซับทลี สี ควบคุมโรคได้ ๒.โรคพืชทมี่ สี าเหตจุ ากแบคทีเรีย เช่น ใบจดุ short hole นั้นสามารถใช้ เช้อื แบคทีเรีย บีเค33 หรือ เชือ้ บาซลิ สั ซบั ทีลีส ปอ้ งกนั กาจัดโรคได้ เชื้อราไตรโคเดอรม์ า เชื้อแบคทีเรยี บเี ค33 เช้ือบาซิลัส ซบั ทลี สี ๓.เพลี้ยไฟ ไรสองจุด เพล้ียออ่ น สามรถปอ้ งกันกาจัดโดย เชื้อราบิววีเรีย บาเซียนา่ , นา้ มนั ปโิ ตรเลย่ี ม สเปรยอ์ อยล์ และ นา้ หมักสมุนไพร PP1, PP3 ๔. หนอนกนิ ใบ สามรถปอ้ งกันกาจัดโดย เชื้อบาซิลลสั ทรู งิ เยนซิส , น้าหมกั สมนุ ไพร PP6 หรือไส้เดือน ฝอยปราบหนอน
เช้อื ราบิววีเรยี บาเซยี น่า เช้อื บาซลิ ลัส ทรู งิ เยนซสิ
Search
Read the Text Version
- 1 - 19
Pages: