Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Description: มนุษยสัมพันธ์สำหรับครู

Search

Read the Text Version

189 4.1.2 ไม่รบกวนสมาธิของผู้อื่น แม้ว่าจะรู้สึกเบื่อในวิชาน้ันๆ อาจจะเรียนไม่รู้เรือ่ ง หรือเนื้อหาไม่น่าสนใจหรืออาจารย์สอนไม่ดีก็ตาม ผู้มีมารยาทจะไม่ตีรวน เช่น ส่งเสียงดังรบกวน เพ่อื นๆ ทกี่ าลังต้ังใจเรียน ถ้าไม่เขา้ ใจก็ควรให้อาจารย์อธิบายเพิ่มเติม หรือถามจากเพ่อื นท่ีเขาเรียนรู้ เร่อื งก็ได้ 4.1.3 เช่ือฟังคาแนะนาตกั เตอื นของอาจารย์ ควรแสดงกิริยาท่าทางออ่ นน้อม สภุ าพ กับอาจารย์ แม้ว่าบางคร้ังเม่ือนักศึกษาทาส่ิงใดผิดพลาดและถูกอาจารย์ตาหนิหรือว่ากล่าวตักเตือน บ้าง ก็ล้วนแต่เกิดจากความหวังดีท้ังสิ้น ไม่ควรโต้เถียง โดยไร้เหตุผล หรือทาอวดดี เย่อหย่ิง วางตน เสมอกบั อาจารย์ เพราะจะเป็นผลเสียกบั ตัวนักศึกษาเอง คงไมม่ เี พ่อื นหรอื อาจารย์คนไหนชอบคนที่มี นิสัยดงั กล่าว 4.1.4 แสดงความมีน้าใจต่อเพ่ือน บางครั้งเพ่ือนเรียนไม่ทันหรือขาดอุปกรณ์ การเรียนบางอย่าง ก็ควรมีน้าใจแบ่งปัน เอ้ือเฟ้ือช่วยเหลือเพ่ือน เพราะในการเรียนและการทา กจิ กรรมตา่ งๆ ย่อมตอ้ งพ่งึ พาอาศัยกนั และกนั อยูเ่ ลว้ 4.1.5 มีความรับผิดชอบ เม่ืออาจารย์มอบหมายงานให้ทา นักศึกษาต้องมีความ รบั ผิดชอบในงานน้ันๆ เช่น การทาแบบฝึกหัด รายงาน หรือการค้นคว้าหาข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับวิชา ที่เรียน นักศึกษาต้องส่งตามเวลาท่ีอาจารย์นัดหมาย และทางานน้ันๆ ให้ดีท่ีสุด เพื่อเป็นการปลูกฝัง นิสัยทดี่ แี ละประสบความสาเรจ็ ในการเรยี นน่ันเอง 4.2 มารยาทในการใช้ห้องสมดุ ห้องสมุด คือ สถานท่ีรวบรวมหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ และโสตทัศนูปกรณ์ไว้เป็น หมวดหมู่ เพื่อสะดวกในการอ่านหรือค้นคว้า สถานท่ีดังกล่าวอาจเป็นของทางราชการ สถาบัน องค์การหรือเอกชนจัดทาขึ้น เพ่ือให้บริการแก่ผูเ้ ก่ยี วข้องโดยเฉพาะ หรือแก่ประชาชนทั่วไป นับเป็น สถานบริการทางวิชการ ให้ข้อมูลข่าวสารความรู้และความบันเทิงต่างๆ ซึ่งมีคุณค่าสูง นอกจากนี้ ห้องสมุดยังเป็นมาตรฐานวัดความเจริญของชุมชนหรือของประเทศน้ันๆ และถือเป็นสมบัติของ สว่ นรวมอีกด้วย ดังนัน้ ผูใ้ ชบ้ ริการในหอ้ งสมุดหรอื หอสมุดจึงควรทราบมารยาททค่ี วรปฏิบัติดังน้ี 4.2.1 ปฏิบัติตามระเบียบ เช่น แต่งกายเรียบร้อย แสดงบัตรต่อเจ้าหน้าท่ีก่อนเข้า หอ้ งสมุด สารวมกิรยิ าวาจา ปฏิบัติตนมิใหเ้ ป็นที่รบกวนผอู้ นื่ 4.2.2 ก่อนเข้าหอ้ งสมุด ควรฝากกระเป๋า หนังสือ หรอื หีบห่อไว้กับเจ้าหน้าที่ ยกเว้น กระดาษเพ่ือจะบันทกึ เท่าน้ัน หากจาเป็นต้องนาหนังสือส่วนตัวเข้าห้องสมดุ ก็ให้ขออนุญาตเจ้าหน้าที่ ก่อน และไมค่ วรฝากของมคี ่าไว้ 4.2.3 ควรศกึ ษาวิธีการสืบค้นหนังสอื การจัดหมวดหมู่หนังสือมาบา้ ง โดยเฉพาะใน ปัจจุบันมีการสืบค้นหนังสือด้วยคอมพิวเตอร์ ผู้ใช้บริการจึงควรศึกษาวิธีการสืบค้นและปฏิบัติให้ ถูกตอ้ ง จะไดไ้ ม่ต้องเสยี เวลาและรบกวนบรรณารักษใ์ นการค้นหาหนงั สอื โดยไมจ่ าเป็น

190 4.2.4 ไม่นาอาหาร ของขบเคี้ยว ขนม และเครือ่ งดมื่ เขา้ ไปรบั ประทานในห้องสมุด 4.2.5 ไม่น่ังหลับ ไม่พูดคุยเสียงดัง ไม่เล่นในห้องสมุด หรือทาการใดๆ อันเป็นการ รบกวนสมาธิผอู้ ื่น 4.2.6 ไม่พับ ตัด ขีด เขียน หรือฉกี ข้อความ รูปภาพในหนังสอื วารสารหรือสิ่งพิมพ์ ของห้องสมุด ซ่ึงถือว่าเป็นการทาลายทรัพย์สินส่วนรวม ผู้กระทาผิดต้องชดใช้ค่าเสียหายและได้รับ โทษตามระเบียบหรือกฎหมาย 4.2.7 ไม่ซุกซ่อนหนังสือไว้อ่านเพียงผู้เดียว ไม่เลือกหยิบหนังสือท่ีต้องการมาอ่าน คราวละมากๆ รวมท้ังไมน่ าหนงั สือและ/หรอื สิ่งของออกจากหอ้ งสมดุ โดยมไิ ดย้ มื ตามระเบียบ 4.2.8 ไม่ลากเก้าอี้จนมีเสียงดัง เม่ือลุกจากเก้าอ้ีทุกคร้ังให้เก็บเก้าอี้เข้าที่เดิมให้ เรียบร้อย 4.2.9 ควรหยบิ หนังสอื จากช้ันอยา่ งระมดั ระวงั และไมใ่ หเ้ สยี ระเบยี บ 4.2.10 หนังสอื บางประเภททางห้องสมุดไม่อนุญาตใหห้ ยบิ เอง ตอ้ งตดิ ต่อเจา้ หนา้ ที่ ก่อน 4.2.11 ห้องสมุดบางแห่ง มีบริการด้านโสตทัศนูปกรณ์ เช่น ภาพเลื่อน วีดิทัศน์ ภาพยนตร์ ก่อนใชบ้ ริการต้องติดตอ่ เจา้ หนา้ ท่ีเชน่ กัน 4.2.12 รักษาหนงั สอื ทย่ี ืมใหอ้ ยู่ในสภาพดี และส่งคนื ตามกาหนดเวลา 4.2.13 หากประสงค์จะถ่ายสาเนาเอกสารต่างๆ ให้ติดต่อขออนุญาตจากเจ้าหน้าท่ี กอ่ น 4.2.14 การยืมหนังสอื ตอ้ งส่งคืนตามกาหนดเวลา เพ่ือใหบ้ ุคคลอ่นื ๆ ไดม้ โี อกาสอา่ น หรอื ค้นควา้ บ้าง 4.3 มารยาทในการประชุม การประชุม คือ การท่ีบุคคลพบปะกันตามท่ีนัดหมาย เพ่ือร่วมกันแลกเปลี่ยน ความรู้ ความคดิ เห็น ประสบการณ์ และข่าวสารขอ้ เทจ็ จริงตา่ งๆ การประชุมมคี วามสาคญั อย่างย่งิ ต่อ การดาเนินงานต่างๆ โดยเฉพาะการทางานเป็นทีม ผู้เข้าร่วมประชุมจึงควรศึกษามารยาทต่างๆ ทค่ี วรปฏบิ ัติหรือควรงดเว้นในการประชุม เพื่อจะได้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง และทาให้การประชุมดาเนิน ไปได้ตามวัตถปุ ระสงค์ของการปะชุม ซงึ่ มีข้อควรปฏิบตั ดิ ังตอ่ ไปน้ี 4.3.1 ศึกษาระเบียบวาระและวัตถุประสงค์ของการประชุม เตรียมข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็นทเ่ี ป็นประโยชน์เพือ่ นาเสนอต่อท่ีประชุม 4.3.2 แตง่ กายสภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ 4.3.3 ควรเดินเข้าห้องประชุมด้วยกิริยาท่ีสุภาพเรียบร้อย และนั่งเก้าอี้ด้านใน เพ่ือใหค้ นทีม่ าทหี ลังได้เขา้ ไปนัง่ ต่อแถว ไม่ควรเวน้ เกา้ อ้ไี ว้

191 4.3.4 เข้าประชุมตรงเวลา และไม่เดินเข้าออกจากท่ปี ระชุมบ่อยๆ 4.3.5 เมื่อจาเป็นต้องออกจากท่ีประชุม ควรทาความเคารพประธานก่อน และเมื่อ กลับเขา้ มาก็ทาความเคารพอกี คร้งั 4.3.6 ขออนุญาตประธานทุกครัง้ กอ่ นพูด ก่อนถามคาถามหรือใหข้ ้อเสนอแนะใดๆ 4.3.7 ไมน่ าความลับของทปี่ ระชุมไปวิพากษ์วจิ ารณน์ อกหอ้ งประชุม 4.3.8 ใหเ้ กียรติผ้เู ขา้ รว่ มประชุมทกุ คน ไมก่ ลา่ วถอ้ ยคาให้ผู้อ่ืนเสียหาย 4.3.9 ไม่ผกู ขาดการพดู คนเดยี ว ไม่พดู ไร้สาระ เยน่ิ เย้อ 4.3.10 ขณะท่ีผู้อื่นกาลังพูด ควรตั้งใจฟัง ไม่น่ังคุยกับคนข้างเคียง ซึ่งเป็นการเสีย มารยาท 4.4 มารยาทในการใชโ้ ทรศพั ท์ โทรศัพท์เป็นเคร่ืองมือสาคัญที่ใช้ติดต่อสื่อสารในชีวิตประจาวัน และเป็นการ สื่อสารท่ีคู่สนทนาไม่อาจเห็นหน้าตาและกิริยาท่าทางของคู่สนทนา แต่สิ่งเดียวที่ใช้คือ ภาษาพูด ดังนั้นผู้ใช้โทรศพั ท์ไมว่ ่าจะเปน็ ผู้ต่อหรือผู้รับโทรศัพท์ จาเป็นต้องระมัดระวังในเร่ืองของภาษาใหม้ าก เพราะจะเป็นส่ือกลางในการถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ตลอดจนอุปนิสัยของท้ังสองฝ่ายได้เป็น อย่างดี นอกจากน้ียังต้องคานึงถงึ กาลเทศะอีกดว้ ย มารยาทท่พี งึ ปฏบิ ัติในการใช้โทรศัพท์มีดงั น้ี 4.4.1 ข้อควรปฏิบัตทิ ่วั ๆ ไปในการใชโ้ ทรศัพท์ 1) ใช้น้าเสียงนุ่มนวล สุภาพ ชัดเจน ไม่พูดเสียงค่อยหรือดังเกินไปหรือพูด เร็วเกินไป 2) เป็นผู้พูดและผู้ฟังที่ดีด้วยการไม่ผูกขาดการพูดอยู่ฝ่ายเดียวและตอบรับ เป็นระยะๆ และแสดงความสนใจ 3) กล่าวคา “ขอโทษ” ทกุ ครงั้ ท่ีตอ่ โทรศัพท์ผิด 4) ใช้คาว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” ในการรับโทรศัพท์แทนคาว่า “ฮัลโหล” และ ใชค้ าพดู บางคาใหต้ ิดปาก เชน่ “ขอโทษ” “ขอบคณุ ” 5) ผรู้ ับโทรศัพท์ควรเป็นฝ่ายวางหูทีหลัง และไม่กระแทกหูโทรศัพท์ แต่วาง อย่างน่มุ นวลแผว่ เบาท่สี ดุ 4.4.2 ข้อควรปฏิบตั เิ มื่อเปน็ ผตู้ ่อโทรศัพท์ 1) ควรเตรียมข้อมูลที่ต้องการติดตอ่ ไวใ้ ห้พร้อม ทั้งเลขหมาย ชื่อ สกุล ของ ผรู้ ับ 2) ควรเตรียมเรื่องที่ต้องการพูดไว้ให้พร้อม เพื่อจะได้ไม่ต้องเสียเวลา และ ถ้ากรณที ่เี ป็นโทรศัพท์ทางไกลหรือโทรศัพทม์ อื ถอื จะทาให้เสยี ค่าใช้จ่ายเพ่ิมข้นึ โดยไม่จาเป็น 3) การตอ่ โทรศพั ท์ผิด ควรกล่าวคาขอโทษดว้ ยน้าเสียงทส่ี ภุ าพ

192 4) เร่ิมต้นการสนทนด้วยคาว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” พร้อมแนะนาตนเองและ แจ้งช่ือของผู้ที่ต้องการติดต่อดว้ ย ทั้งน้ีต้องใช้น้าเสยี งท่ีอ่อนโยน และคาพดู ท่ีสุภาพ จะทาให้ผทู้ ่ีกาลัง พดู ดว้ ยเกดิ ความประทับใจและมคี วามเป็นมิตร 5) ไม่ควรใช้โทรศัพท์ที่ไม่ใช่ของส่วนตัว พูดคุยเก่ียวกับเร่ืองส่วนตัวที่ใช้ เวลานานเกินไป เชน่ คยุ กับเพื่อน กบั คนรกั รวมท้งั เร่อื งราวประเภทนนิ ทา ไรส้ าระ 6) ถ้าผู้ที่เราต้องการติดต่อไม่สามารถรับสายได้ ควรแจ้งช่ือและเลขหมาย โทรศัพท์ของเราให้ผู้รับโทรศัพท์ทราบและในกรณีที่ต้องการฝากข้อควมไว้ ควรใช้คาว่า “กรุณา” ก่อนฝากขอ้ ความและกล่าว “ขอบคณุ ” เมอื่ ฝากข้อความจบลง 7) ก่อนวางสายโทรศัพท์ ควรกล่าวถ้อยคาท่ีแสดงความเป็นมิตร เช่น “ขอบคุณ” “รู้สึกเป็นเกียรติ” “เป็นความกรุณา” ก่อนกล่าวจบด้วยคาว่า “สวัสดีครับ/ค่ะ” และ จะต้องวางหูทีหลงั เว้นแต่ผรู้ บั สายเป็นผ้นู อ้ ย 4.4.3 ขอ้ ควรปฏบิ ัติเมอ่ื เป็นผูร้ บั โทรศัพท์ 1) รับโทรศัพท์ทันทีท่ีมีสัญญาณดังขึ้น พร้อมกล่าวคา “สวัสดีครับ/ค่ะ” ดว้ ยนา้ เสียงสุภาพ ออ่ นโยน 2) แจ้งชื่อ หน่วยงาน ทันทีโดยไม่ต้องให้ผู้ติดต่อถาม ถ้าเขาต้องการพูดกับ ผู้อ่นื หรอื เจ้าหน้าทที่ ่ีเก่ยี วขอ้ ง ก็ต้องแจ้งทนั ที ผตู้ ิดต่อจะได้ไม่ต้องเสยี เวลารอนาน 3) เม่ือต้องรับโทรศัพท์ท่ีมีผู้หมุนหมายเลขผิด ควรรับคาขอโทษด้วยความ สภุ าพและเห็นใจ เช่น “ไมเ่ ป็นไรครับ/ค่ะ” คงไม่มีผู้ต้องการให้เกิดความผิดพลาดโดยเจตนา เพราะ นอกจากจะเสียเวลาแล้วยังเสียเงนิ คา่ โทรศพั ท์เพม่ิ ขึน้ อีกด้วย 4) ถ้าจะพักสายหรือให้รอ ต้องแจง้ ให้ผู้ติดต่อเข้ามาได้รับทราบและไม่ควร ใหร้ อนานเกนิ ไป 5) ถ้ามีความจาเป็นอยา่ งยิง่ ที่ตอ้ งทาธุระอย่างอนื่ ในระยะเวลาสั้นๆ ไม่ควร บอกว่า “รอประเด๋ียว” แต่ควรจะบอกว่า “เด๋ียวจะโทรกลับไป” หรือ “เด๋ียวโทรมาใหม่นะ” และ หลังจากทาธุระเสร็จแล้วกต็ อ้ งทาตามสญั ญา 6) ถ้าคนท่ีผู้ต่อโทรศัพท์ต้องการพูดด้วย ไม่สามารถรับสายได้ ผู้รับก็ควร เอ้ือเฟื้อให้ผู้ต่อโทรศัพท์ฝากข้อความด้วยการบันทึกชื่อ เลขหมายโทรศัพท์ หน่วยงาน เวลาที่รับสาย และขอ้ ความโดยย่อ และเพ่ือปอ้ งกนั ความผิดพลาดควรมกี ารทบทวนข้อมลู ด้วย 7) จบการสนทนาด้วยถอ้ ยคาสภุ าพและวางหูโทรศัพท์เบาๆ

193 4.4.4 ขอ้ ควรปฏบิ ัตใิ นการใช้โทรศพั ทม์ ือถอื 1) ไม่ควรใช้โทรศพั ท์มือถือในสถานท่ีซงึ่ ต้องการความสงบหรือสัญญาณไป รบกวนระบบการทางานของสถานที่น้ันๆ เช่น ในห้องประชุม ห้องเรียน ห้องสมุด โรงพยาบาล ปม๊ั นา้ มนั เป็นต้น 2) ถ้ากาลังสนทนากันอยู่และรู้ว่าแบตเตอรี่อ่อนควรแจ้งให้คู่สนทนาทราบ เพราะถา้ สัญญาณขาดหายไป เขาจะได้ทราบสาเหตุ 3) ไม่ควรใช้โทรศัพท์มือถือขณะขับรถ เพราะจะเป็นสาเหตุทาให้เกิด อุบตั ิเหตุไดง้ ่าย ถ้าจาเปน็ ตอ้ งโทรกค็ วรจอดขา้ งทาง หรอื ใช้ชุดอปุ กรณ์เสรมิ ที่ใช้ในการโทรบนรถยนต์ (Hand Free) 4) ถ้าเป็นผู้โทรเขา้ มือถือ ไม่ควรถามผ้รู บั วา่ “คุณอยู่ทไ่ี หน” เพราะเป็นการ เสยี มารยาทและละเมิดสิทธิส่วนตัวของเขาเกินไป 5) ควรเตรียมเร่ืองท่ีจะพูดให้พร้อมก่อนโทรเข้าหรือโทรออก เพราะต้อง จ่ายค่าโทรศพั ทต์ ามระยะเวลาทใ่ี ชโ้ ทร จงึ ควรพดู ส้นั ๆ ได้ใจความ จะไดป้ ระหยัดค่าโทรศพั ท์ 4.5 มารยาทในการโดยสารรถประจาทาง เนื่องจากรถประจาทางมีผู้ใช้บริการจานวนมาก มีบุคคลหลากหลายอาชีพ ฐานะ ตา่ งกัน อุปนิสัยต่างกัน ผู้โดยสารจงึ จาเป็นตอ้ งมีแนวทางในการปฏิบัติตนเพื่อไม่ให้เกดิ ปัญหาในการ โดยสาร จึงควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 4.5.1 ขณะรอรถประจาทางควรยืนอย่างเรียบร้อย ถ้ายืนเรียงตามลาดับก่อนหลัง ได้กย็ งิ่ ดี 4.5.2 ควรรอให้รถโดยสารจอดสนิทก่อนแล้วจึงขึ้นลงอย่างเป็นระเบียบ ไม่ เบยี ดเสยี ดย้อื แย่งกัน และควรใหผ้ โู้ ดยสารลงให้หมดเสียกอ่ นแล้วจงึ ข้นึ ไป 4.5.3 ถา้ รถแนน่ ควรรอรถคนั ตอ่ ไป อย่าพยายามยืนห้อยโหนท่ีบนั ได เพราะอาจจะ ไดร้ บั อันตราย 4.5.4 ควรนั่งให้เรียบร้อย ไม่เหยียดเท้าออกไปกีดขวางผู้อ่ืน และไม่เปลี่ยนท่ีนั่ง บ่อยๆ เพราะจะทาให้ผโู้ ดยสารคนอื่นๆ ราคาญ 4.5.5 เตรยี มค่าโดยสารให้พร้อม และจา่ ยคา่ โดยสารทกุ ครงั้ 4.5.6 เอื้อเฟ้ือท่นี ่ังแก่ พระภกิ ษุสามเณร เดก็ สตรี และคนชรา 4.5.7 ไม่นาอาหารหรือผลไม้ท่ีมีกลิน่ รนุ แรง สัตว์เล้ียง วัตถุระเบดิ วตั ถุไวไฟ ขึ้นรถ ประจาทาง 4.5.8 สุภาพสตรีเมื่อสุภาพบรุษลุกให้น่ังก็ควรจะน่ังพร้อมกล่าวขอบคุณ อย่า ปฏิเสธหรอื ปลอ่ ยใหส้ ภุ าพบรุ ษุ ลกุ ขึน้ เก้อ

194 4.5.9 ควรข้ึนลงรถตามป้าย อย่ากระโดดขึ้นหรือลงขณะที่รถกาลังแล่นอยู่ หรือ ขณะท่รี ถจอดติดสัญญาณไฟ เพราะจะทาให้เกดิ อบุ ัติเหตไุ ด้ 4.5.10 ควรใช้วาจาท่ีสุภาพต่อเพ่ือนร่วมทางบนรถโดยสาร พนักงานขับรถ และ พนกั งานเก็บเงิน เพราะทกุ คนต่างก็มหี น้าทดี่ ว้ ยกันท้ังนั้น อย่าคิดวา่ เปน็ ผู้โดยสารตอ้ งยิง่ ใหญ่ 4.5.11 ไม่ควรขีดเขียนข้อความ ช่ือสถาบันของตนหรือระบายอารมณ์ศิลปะ ตามหลังเบาะที่น่ังหรือตัวรถ จะเป็นการแสดงถึงความไม่มีมารยาทของผู้นั้น และเป็นการทาลาย ทรัพย์สินของสว่ นรวมอกี ดว้ ย 4.5.12 ไมย่ ่นื แขน ขา ศีรษะ หรือส่วนใดๆ ของร่างกายออกนอกตวั รถ เพราะจะทา ใหเ้ กดิ อนั ตรายได้ 4.6 มารยาทในการใชล้ ฟิ ต์ ลิฟตเ์ ป็นสมบัติของส่วนรวมอีกประการหน่ึง ซึ่งต้องช่วยกันดูแลรักษาเพ่ือให้ใช้ได้ นานๆ ดงั น้นั ในการโดยสารลฟิ ต์จงึ ควรปฏบิ ัตดิ งั ตอ่ ไปน้ี 4.6.1 ถ้าขน้ึ หรอื ลงเพียงชั้นเดียว ไม่ควรใช้ลิฟต์ เพราะจะทาให้เปลืองพลังงานโดย ใชเ่ หตุ 4.6.2 ควรเข้าแถวเรยี งลาดับในการเข้าลิฟต์ 4.6.3 ต้องไม่ยืนเกะกะขวางทางเข้าออกของผูอ้ ่นื 4.6.4 ดูปุ่มท่ีแสดงว่าลิฟต์กาลังมีผู้ใช้หรือไม่ ถ้ากาลังมีผู้ใช้อยู่ไม่ควรกดปุ่มซ้อน หรอื เมอ่ื ลฟิ ตย์ งั มาไม่ถงึ ไม่ควรใจรอ้ นกดหลายๆ ครง้ั จะทาใหล้ ฟิ ตเ์ สียหรือเกิดการขัดข้องได้ง่าย 4.6.5 ต้องใหเ้ กียรติสุภาพสตรีเข้าและออกกอ่ นเสมอ ยกเวน้ กรณีท่ีจาเปน็ 4.6.6 ถ้าไม่มีเจ้าหน้าที่ประจาลฟิ ต์ เม่ืออยู่ห่างจากปุ่มขึ้นลง เวลากดปุ่มท่ีต้องการ ควรขอให้ผู้ท่ีอยู่ใกล้กดให้ แล้วกล่าวขอบคุณ ไม่ควรยื่นมือข้ามไหล่ผู้อ่ืนไปกดปุมด้วยตนอง ซ่ึงเป็น กริ ิยาท่ีไม่สภุ าพ 4.6.7 ก่อนจะปิดลิฟต์ควรสังเกตเพื่อนร่วมทางสักนิด ดูว่ามีใครจะไปด้วยอีกบ้าง แตไ่ ม่ควรนานเกนิ ไป จะทาให้ผู้ทีร่ ออยู่ช้ันอืน่ ๆ ต้องรอนาน 4.6.8 อาหารหรือผลไม้บางชนดิ ที่มกี ล่ิน เช่น ทุเรียน ส้มตา ก็ไมส่ มควรท่ีจะนาเข้า ไปในลิฟด์ แตถ่ า้ จาเปน็ ควรปิดใหส้ นิท อย่าใหก้ ล่นิ ไปรบกวนผู้อื่น 4.6.9 ถ้าลิฟต์เต็มควรรอคร้ังต่อไป ไม่ควรเข้าไปแออัดยัดเยียดอยู่ในลิฟต์ สร้าง ความอดึ อดั ใหแ้ กผ่ อู้ ่นื และอาจจะเกิดอนั ตรายได้ถ้านา้ หนักเกิน 4.6.10 ขณะอยู่ในลฟิ ต์ไม่ส่งเสยี งรบกวนผูอ้ น่ื ถา้ จะสนทนากันตอ้ งใหเ้ บาที่สดุ

195 4.6.11 เมื่อเข้าไปในลิฟต์ ควรเดนิ ชดิ ใน ไม่ควรขวางทางเขา้ ออก เพียงเพื่อจะออก จากลิฟต์ไดส้ ะดวกและรวดเรว็ กวา่ ผู้อน่ื 4.6.12 ไม่ขีดเขียนข้อความหรือติดประกาศตา่ งๆ อันจะทาให้เกิดความสกปรกแก่ ตัวลิฟต์ 4.6.13 ถ้ามีคนรอมาก ต้องเข้าแถวและรอให้ผู้ทอ่ี ยู่ขา้ งในออกมาเรียบร้อยกอ่ นจึง ค่อยเขา้ ไป 4.6.14 ควรศึกษาข้ันตอนการใช้และขอความช่วยเหลือเม่ือลิฟต์เสียหรือติดขัด เอาไวบ้ า้ ง 4.6.15 ถ้ามีเจ้าหน้าที่บริการในลิฟต์ เม่ือออกจากลิฟต์ควรกล่าวคาขอบคุณอย่าง สภุ าพ 4.7 มารยาทในการนั่งโต๊ะรับประทานอาหาร การร่วมโต๊ะรับประทานอาหารกับผู้อื่น เป็นสิ่งสาคัญ ตามมารยาทแบบไทยๆ นั้น เน้นท่ีความสุภาพ อ่อนน้อม ซึ่งถ้าปฏิบัติได้ถูกต้อง เหมาะสมก็จะทาให้รับประทานอาหารร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่เคอะเขิน แนวทางปฏิบัติตนในการนั่ง โตะ๊ รับประทานอาหารมดี งั นี้ 4.7.1 เม่ือได้รับเชิญให้ไปรับประทานอาหารในงานพิธีใดๆ ก็ตาม ควรแต่งกายให้ สภุ าพเรยี บร้อย เหมาะสมกับกาลเทศะ 4.7.2 ควรไปก่อนเวลาเชญิ เลก็ นอ้ ย ประมาณ 10-15 นาทึ 4.7.3 ในการรับประทานอาหารร่วมโต๊ะกับผู้อื่น ต้องรอให้ผู้มีอาวุโสกว่าน่ังก่อน ต้องไม่นง่ั ก่อนสุภาพสตรีหรือนั่งก่อนเจา้ เชิญใหน้ ่งั และในการรับประทานอาหารก็ตอ้ งให้ผู้อาวโุ สกว่า เรมิ่ รบั ประทานก่อน 4.7.4 เมื่อนั่งท่ีโต๊ะอาหารแล้วไม่ควรแนะนาให้ใครต่อใครรู้จักกัน แต่ควรแนะนา กอ่ นน่ังโต๊ะหรอื หลังจากรับประทานอาหารเสรจ็ เรยี บร้อยเลว้ 4.7.5 ควรน่ังตัวตรง ไม่วางศอกบนโต๊ะอาหารและไม่กางศอกขณะรับประทาน อาหาร 4.7.6 ไมอ่ า่ นหนงั สอื ใดๆ บนโต๊ะอาหาร ยกเว้นรายการอาหาร 4.7.7 ขณะรบั ประทานอาหาร ถ้าทาของตกหลน่ เช่น ทาช้อนสอ้ มตก ผ้าเช็ดมือตก ไม่ตอ้ งเก็บ แตใ่ ห้ขอใหม่จากพนักงานเสริ ฟ์ 4.7.8 การหยิบของหรือเคร่ืองใช้บนโต๊ะอาหาร ต้องสังเกตให้ดี อย่าหยิบผิดพลาด เช่น แก้วนา้ และเคร่อื งด่มื แอลกอฮอล์ จะอยู่ทางขวามือ 4.7.9 การเข้าไปน่ังหรือลุกจากเก้าอ้ี ให้เข้าไปนั่งหรือลุกจากเก้าอี้ทางด้านซ้าย เสมอ

196 4.7.10 การรบั ประทานอาหารต้องรับประทานดว้ ยความระมัดระวัง ไม่รับประทาน มูมมาม ไมท่ าหกเลอะเทอะ ควรหุบปากเวลาเคี้ยวอหาร เพ่อื ระวังไม่ให้มเี สียงดัง การรับประทานอาหารแบบตักเอง (บุฟเฟต์) อาหารแบบตักเอง โดยมากจะจัด สาหรับเมื่อมีแขกจานวนมาก มีอาหารหวานคาวแยกไว้เป็นหมวดหมู่ จึงควรมีมารยาทในการ รับประทานดังน้ี 1) ไม่ควรตกั อาหารก่อนทเี่ จ้าภาพเชญิ 2) เข้าแถวตามลาดบั ก่อนหลงั 3) ควรตกั อาหารแตพ่ อดี ไม่ตักมากจนรบั ประทานไมห่ มด ถ้าไม่อิ่มเตมิ ใหม่ได้ 4) ใช้ชอ้ นกลางตกั อาหาร 5) เม่ือตักอาหารชนิดใด ก็ควรตักด้วยความรวดเร็ว ไม่เลือกเฟ้นอาหารหรือยืน ปกั หลักอยู่ท่โี ตะ๊ โดยไม่ให้โอกาสผู้อน่ื ไดต้ กั บา้ ง 6) เม่ือรับประทานเสร็จแล้ว ควรรวบช้อนส้อมไว้คู่กัน เพื่อพนักงานบริการจะได้ ทราบว่าอิ่มเเล้ว 4.8 มารยาทในการเข้าชมมหรสพ ควรปฏบิ ตั ิดังนี้ 4.8.1 แตง่ กายใหส้ ุภาพเรยี บรอ้ ย เหมาะกับกาลเทศะ 4.8.2 เข้าแถวซื้อต๋ัวตามลาดับก่อนหลัง อย่าแทรกหรือตัดแถวท่ีผู้อ่ืนคอยอยู่ก่อน แลว้ จะเป็นการเสยี มารยาท 4.8.3 ควรไปให้ตรงเวลา และน่ังให้ตรงกับเลขที่น่ังท่ีปรากฎในตั๋ว การไปล่าช้าจะ ทาใหเ้ กดิ ความราคาญแกผ่ ูช้ มคนอื่นๆ ทีน่ ง่ั อยกู่ อ่ นแลว้ 4.8.4 ถ้าไปช้าด้วยเหตุจาเป็นใดๆ ก็ตาม เม่ือต้องเดินผ่านผู้ชมท่ีน่ังอยู่ก่อนแล้ว ครรเดนิ กม้ ตัวและกล่าวคา “ขอโทษ” ตอ่ ผู้ชมเหลา่ น้ัน และ “ขอบคุณ” เมอ่ื เขาหลกี ทางให้ 4.8.5 ไม่ควรพาเด็กเล็กๆ เข้าไปในโรงมหรสพ เพราะเด็กอาจส่งเสียงรบกวนหรือ สรา้ งความราคาญแกผ่ ู้อื่น และอากาศในโรงมหรสพอาจเปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพของเดก็ อกี ดว้ ย 4.8.6 ไม่ควรนาอาหารเคร่ืองดื่มหรือของขบเคี้ยวเข้าไปรับประทาน จะทาให้เกิด เสียงดัง มกี ลน่ิ รบกวนหรอื เศษอาหารตกหล่น ทาให้เกิดความราคาญแก่ผูท้ ่อี ยู่ข้างเคยี งได้ 4.8.7 ไม่พูดคยุ เสยี งดัง จนเป็นทีร่ าคาญแกผ่ ู้ที่นง่ั ใกล้เคยี ง ส่วนการกระซบิ เบาๆ ไม่ ถือว่าเป็นการเสียมารยาท 4.8.8 ก่อนเข้าชมมหรสพ ควรปิดอุปกรณ์ส่ือสารทุกชนิด เช่น วิทยุติดตามตัว โทรศัพทม์ ือถือ แตถ่ า้ จะเปิดกค็ วรตัง้ โปรแกรมแบบสัน่ เพอื่ จะไดไ้ มร่ บกวนผอู้ ่นื 4.8.9 ถ้าไม่สบาย เช่น เป็นหวัด ไม่ควรชมมหรสพ เพราะอาการไอ จาม ส่ังน้ามูก นอกจากจะสร้างความราคาญแก่ผู้อ่นื แล้ว ยงั เป็นการแพร่กระจายเชอ้ื โรคไปส่ผู ู้อนื่ อกี ดว้ ย

197 4.8.10 แสดงความเคารพต่อพระบรมฉายาลักษณ์ และเพลงสรรเสริญพระบารมี ด้วยการยนื ตรงอยา่ งสารวม มารยาทเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของชาติ จึงเป็นหน้าที่ของคนไทยที่ต้องช่วยกันปฏิบัติให้ ถูกต้อง ผู้ที่มีมารยาทย่อมเป็นที่ประทับใจของผู้ที่พบเห็น เป็นเสน่ห์อย่างหน่ึงของบุคคลนั้น ดังน้ัน การเรียนรู้มารยาทและปฏิบัติตามมารยาทของสังคม จะช่วยให้บุคคลนั้นๆ อยู่ในสังคมได้อย่างไม่ เคอะเขนิ เปน็ ทีร่ กั ใครข่ องผอู้ ืน่ และทส่ี าคญั คอื ช่วยอนรุ ักษ์ความเปน็ ไทยไว้ให้คงอยตู่ อ่ ไป บทสรุป การวิเคราะห์การติดต่อสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็นทฤษฎีวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร ระหว่างบุคคล เพื่อให้บุคคลได้รู้จักบุคลิกภาพของตนเองและผู้อื่น ชว่ ยให้สัมพันธภาพระหวา่ งบุคคล เปน็ ไปอย่างราบรน่ื โดยศึกษาถึงหัวขอ้ ดงั น้ี การวิเคราะห์โครงสร้างของบุคลิกภาพ โดยแบ่งบุคลิกภาพหรือสภาวะแห่งตน ออกเป็น 3 แบบ ไดแ้ ก่ 1) สภาวะความเป็นเดก็ ประกอบด้วย สภาวะความเป็นเด็กธรรมชาติ สภาวะความเป็น เดก็ ปรับตวั และสภาวะความเปน็ เด็กสรา้ งสรรค์ 2) สภาวะความเปน็ ผใู้ หญ่ และ 3) สภาวะความเป็น พอ่ แม่ ประกอบด้วย สภาวะความเป็นพอ่ แมเ่ มตตา และสภาวะความเป็นพอ่ แมบ่ ังคบั ควบคมุ รูปแบบของการสื่อสาร เป็นการสอื่ สารที่บุคคลมีความเข้าใจความรู้สึกระหว่างกัน หรือเป็น การนาเอาสภาวะแห่งตนของแตล่ ะคนเข้ามาเก่ยี วข้องกับการสอื่ สารนน้ั ด้วย ซึง่ มี 3 รปู แบบ คอื การ สือ่ สารแบบคลอ้ ยตามกัน การส่อื สารแบบขัดแยง้ กนั และการสอ่ื สารแบบซ่อนเรน้ ทศั นะชวี ิตหรือจุดยืนแห่งชีวิต หมายถงึ เจตคติท่ีบคุ คลมีต่อตนเองหรือบุคคลอนื่ ทั้งแง่บวก และแง่ลบ แบ่งออกเป็น 4 แบบ คือ 1) ฉันดี – เธอดี (I’m O.K. – You’re O.K.) 2) ฉันดี – เธอด้อย (I’m O.K. – You’re not O.K.) 3) ฉันด้อย – เธอดี (I’m not O.K. – You’re O.K.) และ 4) ฉัน ด้อย – เธอด้อย (I’m not O.K. – You’re not O.K.) การเอาใจใส่ หมายถึง การกระทาใดๆ ก็ตามของบุคคลหน่ึงท่ีมีผลกระทบต่อบุคคลอ่ืนที่ เก่ียวข้องท่ีแสดงถึงการยอมรบั ในคุณค่าของความเป็นคน ซ่ึงอาจจะเป็นการสัมผัสแตะต้องทางกาย โดยตรง เช่น การจับมือ การโอบกอด การแตะไหล่อย่างนุ่มนวล หรือเป็นการใช้คาพูดท่ีไพเราะ สายตาที่แสดงความเป็นมิตร การยิ้มด้วยความจริงใจ เป็นต้น โดยการเอาใจใส่แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ การเอาใจใส่ทางบวก และการเอาใจใส่ทางลบ ต้นแบบชีวิต เป็นแบบของการแสดงออกและการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมที่บุคคล เลียนแบบจากบคุ คลใกล้ชดิ ต้ังแต่ในวัยเดก็ และตดิ ตัวมาจนถงึ วัยผู้ใหญ่ นบั ว่ามีอิทธพิ ลต่อบคุ ลิกภาพ ของบคุ คลมาก ซงึ่ แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื ผ้ชู นะ และผแู้ พ้

198 มารยาทสัมพันธ์ เป็นกิรยิ ามารยาทท่ีถูกต้องเหมาะสมตามกาลเทศะที่บุคคลแสดงออกต่อ ผู้อื่น ซ่ึงมารยาทเป็นส่ิงจาเป็นต่อการอยู่ร่วมกัน และเป็นแบบแผนปฏิบัติสืบต่อกันมาเป็นระยะ เวลานาน ซ่ึงแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของชาติ ได้แก่ มารยาทในการแนะนา การเย่ียมเยียน และ การแสดงความเคารพ กับอีกส่วนหน่ึงจะเป็นมารยาทท่ัวๆ ไป ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น การเข้า ห้องเรียน การใช้หอ้ งสมุด การประชมุ การใช้โทรศัพท์ การโดยสารรถประจาทาง การใช้ลฟิ ต์ เปน็ ตน้

199 คาถามทา้ ยบท จงตอบคาถามต่อไปน้ี โดยอธบิ ายพรอ้ มยกตวั อย่างประกอบ 1. ทฤษฎีวเิ คราะห์การติดต่อสือ่ สารระหว่างบคุ คลเกี่ยวขอ้ งอย่างไรกบั มนษุ ยสัมพนั ธ์ 2. จงวิเคราะหล์ ักษณะบุคลิกภาพของตัวท่านตามทฤษฎีวเิ คราะห์การติดต่อส่อื สารระหว่าง บคุ คล 3. จงยกตวั อย่างการสื่อสารแบบคลอ้ ยตามกัน การสือ่ สารแบบขดั แย้งกนั และการสอื่ สาร แบบซ่อนเร้น มาอยา่ งละ 1 กรณี 4. จงวเิ คราะห์ทศั นะชวี ติ หรอื จดุ ยืนแหง่ ชีวิตของตัวทา่ นตามทฤษฎีวิเคราะห์การ ตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างบคุ คล 5. ท่านคิดวา่ ทศั นะชีวติ หรอื จดุ ยืนแห่งชีวติ ตาแหนง่ ใดท่ีส่งผลดีตอ่ สมั พันธภาพระหวา่ ง บุคคลมากที่สุด เพราะเหตุใด 6. การเอาใจใสเ่ กี่ยวข้องอย่างไรกับมนุษยสมั พันธ์ 7. จงยกตัวอยา่ งตน้ แบบชวี ติ แบบ “ผชู้ นะ” และ “ผู้แพ้” มาอย่างละ 1 กรณี 8. เพราะเหตุใด ครจู งึ ต้องมคี วามรูเ้ กยี่ วกับมารยาทสมั พันธ์และการสมาคม 9. หากทา่ นในฐานะครูต้องเดินทางไปประชมุ เพ่อื การพฒั นาตน ท่านตอ้ งเตรียมตวั เกี่ยวกบั มารยาทสัมพนั ธแ์ ละการสมาคมอย่างไร 10. ครูจริยาต้องไปรับประทานอาหาร ณ งานเล้ียงแห่งหน่ึง จึงมาขอคาแนะนาจากท่าน เกี่ยวกบั มารยาทในการรบั ประทานอาหารแบบต่างๆ ดังน้ัน ท่านควรแนะนามารยาทการรบั ประทาน อาหารแก่ครจู ริยาอย่างไร

200 เอกสารอา้ งองิ เจษฎา บุญมาโฮม. (2555). มนษุ ยสมั พนั ธส์ ้าหรบั ครู. นครปฐม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครปฐม. ชนดั ดา เหมอื นแก้ว. (2538). มนษุ ยสัมพนั ธ.์ กรงุ เทพฯ: สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระนครเหนอื . พรรณราย ทรพั ยะประภา. (2532). จติ วทิ ยาแนว TA เพอ่ื ความสุขในชีวิตและการทา้ งาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราชบณั ฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ สถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์. วมิ ล เหมือนคดิ . (2543). มนษุ ยสัมพนั ธ.์ พมิ พค์ รั้งที่ 4. กรงุ เทพฯ: ศูนย์ผลิตตาราเรียน สถาบัน เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนอื . สมพร สุทัศนยี ์. (2554). มนุษยสมั พันธ.์ (พมิ พ์ครงั้ ท่ี 10). กรุงเทพฯ: สานกั พิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลัย. เสนาะ ตเิ ยาว์. (2530). การส่อื สารในองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

บทที่ 6 การประเมนิ ผลมนุษยสัมพันธข์ องครู มนุษยสัมพันธ์เป็นพื้นฐานการปฏิบัติกิจกรรมการงานต่างๆ ในการดาเนินชีวิตประจาวัน โดยเฉพาะวิชาชีพครทู มี่ ีปฏสิ มั พันธ์กับบคุ คลหลายฝ่าย อาทิ ผู้เรยี น ผปู้ กครอง เพื่อนครู และผ้บู รหิ าร จากผลการวิจัยหลายเรื่องยืนยันว่า ระดับของสัมพันธภาพส่งผลต่อการปฏิบัติงานของครู ดังน้ัน ครูจึงควรหม่ันตรวจสอบพฤติกรรมด้านสัมพันธภาพของตน เพื่อนาผลจากการวัดและประเมินผล มนุษยสัมพันธ์ของตนมาวิเคราะห์ตนเอง ข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์ด้านการเสริมสร้าง ความสัมพันธ์กับผู้อื่น และสามารถปรับปรุงบุคลิกภาพตลอดจนพฤติกรรมต่างๆ เพื่อให้เป็นผู้ที่มี มนุษยสัมพนั ธใ์ นระดบั ทีส่ งู ข้ึน รวมถงึ ปรบั ปรุงการทางานของครใู หม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ขน้ึ ความหมายของการวดั และประเมินผลมนษุ ยสมั พันธ์ 1. ความหมายของการวัด นักวชิ าการและนกั การศกึ ษาได้อธบิ ายความหมายของการวัด (Measurement) ไวด้ งั นี้ ศริ ชิ ัย กาญจนวาสี (2539, น. 82) ได้ให้ความหมายของการวัดวา่ หมายถงึ กระบวนการ กาหนดค่าเป็นตัวเลขให้แก่ส่ิงต่างๆ อย่างมีกฎเกณฑ์ สิ่งต่างๆ ที่ต้องการวัดหรือกาหนดค่าตัวเลข อาจเปน็ อุณหภูมิ นา้ หนัก ส่วนสูง เชาว์ปัญญา สมรรถภาพด้านต่างๆ ของบคุ คล วารินทร์ สายโอบเอ้ือ (2542, น. 1) กล่าวว่า การวัดหมายถึง กระบวนการหรือวิธีการ ทาให้ได้มาซ่ึงตัวเลขหรือจานวน เพ่อื แทนปริมาณหรือคุณภาพของสง่ิ ที่วัด อาจจะเป็นสง่ิ ของ ผลงาน หรอื คุณลกั ษณะบางอย่างในตัวบุคคล โดยวิธกี ารที่ไดม้ าซงึ่ ตัวเลข ในการวดั นน้ั จะตอ้ งเปน็ มาตรฐานท่ี ยอมรบั กันท่วั ไป ราชบัณฑิตยสถาน (2555, น. 347) ให้ความหมายของการวดั หมายถึง การใช้กฎเกณฑ์ เพอ่ื กาหนดตวั แทนคณุ สมบัติของส่ิงใดสิ่งหนึง่ ประกอบด้วยระบบตัวเลข (Scale) หน่วย (Unit) และ เคร่ืองมอื ในการวดั (Instrument) อิเบล (Ebel, 1990, p. 557) กล่าวว่า การวัดเป็นกระบวนการในการกาหนดจานวน ให้กับคณุ ลกั ษณะตา่ งๆ เพอื่ ชใี้ หเ้ หน็ ความแตกต่างของคณุ ลักษณะของบคุ คลหรือสิ่งของนัน้ ๆ

202 จากการนาเสนอความหมายของการวัดข้างต้น อาจสรุปได้ว่า การวัดเป็นการกาหนด ตัวเลขหรือปริมาณแก่ส่ิงที่ต้องการจะวัด เช่น ส่วนสูง น้าหนัก คะแนน เพื่อให้เห็นว่าส่ิงน้ันมี ความแตกต่างกนั เชงิ รูปธรรม 2. ความหมายของการประเมนิ ผล นักวิชาการและนักการศึกษาได้อธิบายความหมายของการประเมินผล (Evaluation) ไว้ดงั นี้ ศริ ิชัย กาญจนวาสี (2539, น. 82) กล่าวว่า การประเมิน หมายถึง กระบวนการตัดสิน คุณค่าของสิ่งต่างๆ โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์หรือมาตรฐานที่ตั้งไว้ การประเมินผลจึงเป็นเร่ือง เก่ียวกับคุณค่า อาภัสสรี ไชยคนุ า (2542, น. 165) อธบิ ายวา่ การประเมนิ ผล หมายถึง การประเมินค่า การตัดสินเกี่ยวกับคุณค่าความถูกต้อง ความดี ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดาเนินงาน การกระทาหรือปรากฏการณ์ตา่ งๆ ของบคุ คล ระบบ ตลอดจนสถานการณแ์ ละผลลัพธ์ทีจ่ ะเกิดขน้ึ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (2549, น. 101) ได้ให้ความหมายว่าการประเมินผลหมายถึง กระบวนการตัดสนิ คุณคา่ ของสง่ิ ของหรือการกระทาใดๆ โดยเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์มาตรฐาน มิชเรนส์ และลีนแมน (Mehrens & Lehmann, 1991, p. 5) ให้ความหมายของ การประเมินผลว่าเป็นการพิจารณาลงความเห็น ตัดสิน หรือสรุปเกี่ยวกับคุณค่าของสิ่งที่วัดได้ โดยเปรียบเทยี บกบั เกณฑ์ท่ีต้ังไว้ สตัฟเฟิลบีม (Stufflebeam, 2001, p. 7) กล่าวถึง นิยามของการประเมินผลว่าคือ กระบวนการในการเก็บรวบรวม และหาข้อมูลที่มีประโยชน์ เพ่ือใช้ในการตัดสินหาทางเลือกต่างๆ ทเ่ี หมาะสม จากการนาเสนอความหมายของการประเมนิ ผล อาจสรุปไดว้ ่า การประเมินผล หมายถึง กระบวนการตัดสินเก่ียวกับคุณค่าและความสาคัญของสิ่งต่างๆ โดยมีเกณฑ์การประเมินมา เปรียบเทียบ หากพิจารณาความหมายของการวัดและการประเมินผล อาจเปรียบเทียบเพื่อสร้าง ความเข้าใจไดว้ า่ การวัดเปน็ เสมือนการสอบเพ่ือให้ทราบคะแนน ส่วนการประเมนิ ผลเป็นการตดั เกรด ผลการเรียน เพอ่ื ให้ทราบคุณค่า หรือประเมินวา่ ผา่ นหรือไม่ผา่ น ถา้ ผา่ นจะผ่านอยใู่ นระดบั ใด 3. ความหมายของการวดั ประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พันธ์ของครู นกั วชิ าการและนกั การศึกษาได้อธบิ ายความหมายของการวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ ไว้ดังนี้

203 ศิริมา สัมฤทธ์ิ (2532, น. 172) อธิบายว่า การประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู หมายถงึ การรวบรวมและวเิ คราะห์ลักษณะการมมี นุษยสมั พันธ์ของครู ว่ามีมากน้อยเพียงใดโดยต้อง ใช้เคร่ืองมือหลายๆ อย่างในการรวบรวมข้อมูล เพื่อท่ีจะทาให้ครูได้รู้จักตนเองในด้านมนุษยสัมพันธ์ ท้งั ขอ้ ดแี ละข้อบกพรอ่ ง เพอื่ ทีจ่ ะหาวิธีพัฒนาตนเองในดา้ นมนุษยสมั พันธใ์ ห้ดีขนึ้ ชริ าพร หนูฤทธ์ิ (2548, น. 65) กล่าวว่า การประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู หมายถึง การสารวจ ตรวจสอบความมีมนุษยสัมพันธ์อันดีของครูต่อนักเรียน เพ่ือนครู และบุคลากรร่วมงาน ผบู้ ังคับบญั ชา ผปู้ กครอง และบุคคลในชมุ ชนที่เกี่ยวข้อง เพือ่ นาข้อมูลทไี่ ดไ้ ปใชใ้ นการปรบั ปรงุ แก้ไข ใหด้ ีข้ึน สว่ นสง่ิ ที่ดอี ย่แู ล้วกห็ าทางส่งเสรมิ ใหด้ ยี ิ่งๆ ขนึ้ ไป สนธยา สวัสด์ิ (2549, น. 257) อธบิ ายวา่ การประเมินมนุษยสัมพันธ์เป็นการพิจารณา ถึงความเหมาะสมในการสร้างสัมพันธภาพการอยู่ร่วมกันในสังคม การทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และเปน็ เคร่อื งมอื ทม่ี ีความหมายสาคญั ตอ่ การบรหิ ารจดั การบคุ คลเป็นอย่างมาก เจษฎา บุญมาโฮม (2555, น. 168) กล่าวว่า การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู หมายถงึ การวัดหรือใหค้ า่ ระดับสัมพนั ธภาพ พฤติกรรมท่ีแสดงออกของครูต่อผ้อู ่นื ว่ามีลกั ษณะเช่นไร ซงึ่ โดยท่ัวไปมกั จะวัดและประเมนิ ผลจากพฤติกรรมภายนอกของครูเป็นสาคัญ จากที่กล่าวมาสรุปไดว้ ่า การวดั ประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู หมายถึง การรวบรวม วิเคราะห์พฤติกรรมท่ีแสดงออกของครูต่อผู้อื่นท่ีเก่ียวข้อง ว่ามีมากน้อยเพียงใด และพิจารณาให้ คุณค่าถึงความเหมาะสมท่ีครูแสดงถึงการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น เพ่ือที่จะให้ครูได้รู้จักตนเองใน ด้านมนุษยสัมพนั ธ์ ทัง้ ข้อดีและขอ้ บกพร่อง เพอ่ื หาแนวทางในการพฒั นามนุษยสมั พันธ์ใหด้ ีข้ึน ความสาคัญของการวัดประเมินผลมนษุ ยสมั พนั ธข์ องครู มนษุ ย์สมั พันธ์เปน็ คณุ ลักษณะทสี่ าคญั ของครู มนษุ ย์สัมพันธจ์ ัดเป็นพฤติกรรมประเภทหนึ่ง ประกอบด้วยลักษณะ 2 ประการ คือ ลักษณะที่แสดงออกภายนอก เช่น การย้ิมแย้ม การทักทาย การแต่งกาย กิริยามารยาทตา่ งๆ และลกั ษณะภายใน เชน่ ความตระหนักถงึ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ความจริงใจ ความรู้สึกดีต่อผู้อ่ืน ดังนั้น การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์จึงต้องระมัดระวังการวัด คุณลักษณะภายใน เน่ืองจากมีความเป็นนามธรรมล่วงรู้ได้ยาก นอกจากให้บุคคลน้ันแสดงออกมา ภายนอก หรือนาเสนอในรูปแบบการรายงานตนเอง ซ่ึงการรายงานตนเองมักมีจุดอ่อนเกี่ยวกับ การลาเลียงเข้าข้างตนเอง อย่างไรก็ตาม แม้การประเมินมนุษยสัมพันธ์จะกระทาได้ยาก แต่ก็ควร จะทา เพราะการวัดประเมนิ ผลมนุษยสมั พันธจ์ ะทาใหไ้ ด้ข้อมูลเพื่อนามาพัฒนาตนเองต่อไป

204 ประโยชน์ของการวัดประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พนั ธข์ องครู การวดั ประเมนิ ผลมนุษย์สมั พนั ธ์ของครู มีประโยชน์สรุปไดด้ ังน้ี 1. ทราบระดับความสัมพันธ์ในการท่ีจะปรับปรุงพัฒนาตนเอง ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ครู ได้ดี สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นได้ เกิดความเข้มแข็งในสถานศึกษา และมีความสุขใน การประกอบวิชาชพี ครู 2. ได้ข้อมูลในการจาแนกบุคคล เพ่ือใช้ประกอบในการพิจารณาดาเนินการต่างๆ ของสถานศึกษา เพ่อื จัดวางตัวบุคลากรในการปฏิบัติหนา้ ท่ีต่างๆ เพือ่ ให้งานเกิดประสิทธิผลสงู สดุ 3. ได้ข้อมูลในการประเมินประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู เช่น การเลื่อนวิทยฐานะ การเล่อื นเงินเดือน เป็นต้น 4. ใช้คัดเลอื กบคุ คลเพอ่ื เขา้ ปฏิบตั ิงาน เช่น กรณีรับบุคลากรใหม่ เปน็ ต้น 5. เพอื่ เป็นการทานายพฤตกิ รรมของครู ในการประกอบวิชาชีพในอนาคต หลักการวัดประเมินผลมนุษยสมั พันธ์ของครู การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครูมีหลักการสาคัญสรุปได้ดังนี้ (ชิราพร หนูฤทธ์ิ, 2548, น. 166 – 168; สนธยา สวัสด,์ิ 2549, น. 258 – 260) 1. การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ต้องมีจุดมุ่งหมาย การกาหนดจุดมุ่งหมายของการวัด ประเมินผลมนุษยสัมพันธ์จะทาให้ทราบว่าผลท่ีได้รับการประเมินจะนาไปใช้เพ่ือประโยชน์อันใด สามารถกาหนดขอบเขต และแนวทางการประเมินได้ถูกต้อง โดยทั่วไปการประเมินมนุษยสัมพันธ์มี จดุ ม่งุ หมายหลัก 4 ประการ คือ 1.1 การประเมินเพื่อตรวจสอบพื้นฐานเดิม เป็นการประเมินก่อนที่ครูจะเร่ิมปฏิบัติงาน ในการสร้างมนุษยสัมพันธ์ เพื่อตรวจสอบดูว่าครูมีพ้ืนฐานสัมพันธภาพที่ดีมากน้อยเพียงใด จะได้นา ข้อมูลน้ันมาใช้จัดบุคลากรให้เหมาะสมกับงาน หรือจัดครูให้เหมาะสมกับชั้นเรียน เช่น ครูที่ มนุษยสัมพันธ์ดีมาก พูดจาไพเราะอ่อนหวาน ใจเย็น มคี วามอดทนสูงอาจจัดให้สอนระดับการศึกษา ปฐมวัย ส่วนครูที่เป็นผู้นา มีความคิดสร้างสรรค์ รู้จักวิธีการสร้างสัมพันธภาพเชิงสร้างสรรค์ เข้าใจ วธิ กี ารเจรจาตอ่ รอง รหู้ ลักการลดชอ่ งว่างระหว่างวยั อาจจดั ใหส้ อนระดบั ชน้ั มัธยมศกึ ษา เป็นตน้ 1.2 การประเมินเพ่ือปรับปรุง เป็นการประเมินในระยะกลางของการเรียนการสอน เพื่อตรวจสอบประสิทธิภาพมนุษยสัมพันธ์ของครู ซ่ึงผลท่ีได้จะนามาใช้เพ่ือปรับปรุงและพัฒนา มนุษยสัมพันธ์ของครูให้สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายท่ีทางสถานศึกษาวางไวต้ อ่ ไป

205 1.3 การประเมินเพ่ือวินิจฉัยข้อบกพร่อง เป็นการประเมินเพ่ือค้นหาข้อบกพร่องและ สาเหตุของปญั หาที่เกดิ ข้ึนกับมนุษยสัมพันธ์ เพื่อนาผลมาใช้ในการแก้ไขข้อบกพร่อง ทาให้ครูสามารถ ทราบสาเหตุที่แท้จริงและมที ศิ ทางการแก้ไขปัญหาได้ถูกตอ้ ง 1.4 การประเมินเพื่อตัดสินพฤติกรรม เป็นการประเมินเม่ือสิ้นสุดกิจกรรมหรือการเรียน การสอน ซ่ึงอาจทาเป็นรายกิจกรรม รายครั้ง รายภาคเรียน หรือในวาระการประเมินเพื่อเลื่อนขั้น เงินเดือน/ความดีความชอบก็ได้ โดยนาผลนั้นมาพิจารณาตัดสินเพื่อให้รางวัล การยกย่อง หรือตกั เตือนเพื่อปรับตวั ให้ดขี นึ้ 2. การประเมนิ ผลต้องกระทาโดยการกาหนดกลุ่มเป้าหมายให้ชัดเจน คือ การกาหนดว่าจะ ประเมินใครหรือส่ิงใดที่เก่ียวข้องในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ของครูในสถานศึกษา โดยท่ัวไปมี กลุ่มเป้าหมายในการประเมิน ได้แก่ ด้านตัวครู ด้านนักเรยี น ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บังคับบัญชา ดา้ นบคุ ลากรอ่ืนๆ ในสถานศกึ ษา ดา้ นผูป้ กครอง และดา้ นชมุ ชน เปน็ ตน้ 3. การประเมินควรดาเนินการในลักษณะร่วมกันหลายฝ่าย โดยทั่วไปการประเมินผล มนุษยสัมพันธ์ของครู นิยมให้ผู้บังคับบัญชาเป็นผู้ประเมิน ซ่ึงการประเมินดังกล่าวมักมีความขัดแย้ง เกิดการต่อตา้ นต่อผู้ทาหน้าทป่ี ระเมินว่าประเมินผลเข้าข้างพวกพ้องตนเอง หรือในทางตรงกันข้ามก็ กลั่นแกลง้ ใส่ร้ายผ้ถู กู ประเมิน ฉะน้ันการประเมินมนษุ ยสมั พันธ์ควรเปน็ เร่ืองสาคัญท่ีผถู้ ูกประเมนิ ควร จะมีบทบาทโดยตรงในการเข้าร่วมกาหนดวิธีการประเมิน ประเด็นสาคัญคือการให้บุคลากรหลาย ภาคสว่ น ได้มีส่วนร่วมในการประเมินเพอ่ื ผลการประเมินจะได้เปน็ ธรรมและเชอ่ื ถือได้ 4. การประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ควรเป็นลักษณะการประเมินเชิงสร้างสรรค์ กล่าวคือ ประเมินเพ่ือสร้างแรงกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการให้บุคคลได้ ตรวจสอบตนเอง และกาหนดเป้าหมายของการพัฒนาตนเอง เพ่ือให้การบริหารจัดการและการ ทางานร่วมกันเกิดบรรยากาศที่ดี ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการทางานมากย่ิงข้ึน ทั้งควรช้ีแจงและ สร้างเจตคติทดี่ ีต่อผ้ถู ูกประเมิน เพอื่ ไม่ใหส้ รา้ งความขัดแยง้ และคับขอ้ งใจในการประเมิน 5. การประเมินควรกระทาเป็นประจาและทาเป็นรายบุคคล เพ่ือให้การประเมินเป็น กระบวนการท่ีเป็นระบบ การประเมินเป็นสิ่งที่ต้องทาอย่างต่อเนื่อง ไม่ใช่ภาคเรียนน้ีประเมิน ภาคเรียนต่อไปไม่ประเมิน หากเป็นเช่นน้ีการพัฒนามนุษยสัมพันธ์จะสูญเปล่า เป็นการทางานแบบ ครึ่งๆ กลางๆ ไม่สามารถสร้างพฤติกรรมที่เป็นนิสัยได้ การประเมินจึงต้องทาเป็นระยะๆ สม่าเสมอ และนาผลที่ได้ไปใช้จริง นอกจากนี้ ควรประเมินทุกคนเสมอกันโดยท่ัวหน้า เพ่ือความเป็นระบบ ระเบียบอันน่าเชอ่ื ถือเลอ่ื มใสและศรทั ธา 6. เครือ่ งมอื สาหรับใช้ในการประเมินจะต้องเชือ่ ถือได้ เคร่ืองมอื ท่ใี ชใ้ นการประเมินเปน็ สว่ น สาคัญของการประเมิน เพราะผลการประเมินท่ีเช่ือถือได้จะเกิดได้ก็ต่อเมื่อมีเคร่ืองมือที่เชื่อถือได้

206 จึงต้องจัดทาหรือจัดหาเคร่ืองมืออย่างรอบคอบโดยผู้ท่ีมีความรู้ ความชานาญ และพึงระวังเสมอว่า เคร่ืองมอื ที่ใช้ตอ้ งสอดคล้องกับจดุ มงุ่ หมายของการประเมินเสมอ จากท่ีกล่าวมา จึงเป็นหลักการเบื้องต้นสาหรับผู้ที่ปฏิบัติหน้าท่ีหรือรับผิดชอบการวัด ประเมนิ ผลมนษุ ยสัมพนั ธ์ของครู พึงตระหนกั เพอ่ื ใหก้ ารประเมนิ เกิดประสิทธภิ าพสูงสดุ วิธีการวดั มนษุ ยสัมพันธ์ วิธีการประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครูมีด้วยกันหลายวิธี ขึ้นอยู่กับสถานการณ์และ วตั ถุประสงค์ของการวัดประเมนิ อยา่ งไรก็ตาม อาจแบ่งวิธีการวดั ประเมินมนุษยสมั พนั ธ์ของครูได้ดงั นี้ 1. รปู แบบการประเมนิ ผล 1.1 การประเมินผลแบบไม่เป็นทางการ การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์อย่างไม่เป็น มาตรฐานหรือเป็นระบบนั้น นิยมดาเนินการในรูปแบบของการสังเกต หรือวิเคราะห์วิจารณ์บุคคล อย่างง่าย ไมใ่ ชเ้ ครือ่ งมอื ในการประเมิน หรือหากใช้เครื่องมือกม็ ักจะเปน็ เครือ่ งมอื ทไี่ มเ่ ป็นมาตรฐาน 1.2 การประเมินผลแบบเป็นทางการ มักดาเนินการร่วมกับการประเมินผลงาน การเล่อื นตาแหน่งหรอื การรบั เข้าทางาน การวดั ประเมนิ ผลมนุษยสัมพันธป์ ระเภทน้ี ส่วนใหญ่นิยมใช้ เครอ่ื งมือทีเ่ ป็นมาตรฐาน 2. วธิ ีการประเมนิ ผล 2.1 การวัดประเมินผลที่ใชเ้ ครอ่ื งมอื 2.1.1 เคร่ืองมือที่เป็นมาตรฐาน การวัดประเมินผลลักษณะนี้จะมีการทดสอบหา คุณภาพของเครื่องมือ เช่น แบบทดสอบมาตรฐาน เป็นต้น เครื่องมือที่เป็นมาตรฐานมีความจา เปน็ มากสาหรับการวัดประเมินผลทุกประเภท เพราะเคร่ืองมอื ท่ีมมี าตรฐานจะมีการทดสอบคุณภาพ เคร่อื งมือจนเชื่อถือได้ ทาใหผ้ ลทีไ่ ด้จากการทดสอบมคี วามนา่ เชอื่ ถือ 2.1.2 เคร่ืองมือที่ไม่เป็นมาตรฐาน การวัดประเมินผลประเภทน้ีจะใช้เคร่ืองมือ อย่างงา่ ย ซึ่งมกั ไม่มีการทดสอบคุณภาพของเครอื่ งมอื หรือเปน็ เครื่องมือท่ีสรา้ งขนึ้ เพื่อวัดประเมินผล เฉพาะกิจ ประเมินเพอื่ ให้ได้ข้อมูลเบ้ืองตน้ ผลท่ไี ดจ้ ากการประเมินด้วยเคร่ืองมือดังกล่าวนี้จึงเชื่อถือ ไดไ้ ม่มากนกั ทาใหไ้ ม่สามารถจาแนกระดบั ทต่ี ้องการประเมนิ ไดเ้ ทา่ ท่คี วร 2.2 การวดั ประเมินผลที่ไม่ใช้เครื่องมือ การวัดประเมนิ ผลน้ันไม่จาเปน็ ตอ้ งใช้เครือ่ งมือ เสมอไป เพราะคุณลกั ษณะบางอย่างไม่สามารถวดั ประเมินด้วยเครอ่ื งมือได้ การวดั ประเมินผลท่ีไมใ่ ช้

207 เครื่องมือ ได้แก่ การสังเกต สังคมมิติ การสอบถาม บันทึกประจาวันและอนุทิน การเยี่ยมบ้าน การศึกษารายกรณี เป็นตน้ อย่างไรก็ตาม การจะเลือกใช้วิธีการประเมินใดก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ และความสะดวก โดยนักจิตวิทยาเชื่อว่าการวัดประเมินผลท่ีมีประสิทธิภาพนั้น ควรใช้ท้ังเครื่องมือและไม่ใช้เคร่ืองมือ ควบคู่กนั เพอ่ื ให้ไดข้ ้อมลู ที่ชัดเจนและเพียงพอตอ่ การวเิ คราะห์พฤติกรรม นอกจากน้ี การประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครูแต่ละบุคคลเป็นเร่ืองที่ละเอียดอ่อน และต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ประเมินอย่างจริงใจจึงจะได้ผลท่ีถูกต้อง สามารถนาผลของการ ประเมนิ มาปรบั ปรงุ แกไ้ ขมนษุ ยสมั พนั ธ์ของครู ซงึ่ วธิ กี ารประเมินผลมี 3 วธิ ี คือ 1. การให้ผอู้ น่ื ประเมนิ หมายถงึ การจัดหาจดั ทาเครื่องมือในการประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ แล้วให้บุคคลที่เกี่ยวข้องเป็นผู้ประเมิน วิธีการน้ีก็จะทาให้ทราบความสัมพันธ์ของครูกับผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังอาจจะไดท้ ราบอุปสรรคปัญหา และข้อเสนอแนะในการสร้างมนษุ ยสัมพันธ์อกี ดว้ ย ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องกบั การประเมนิ ผลได้แก่ 1.1 บุคลากรในโรงเรียน บุคลากรทุกฝ่าย เช่น ผู้บริหาร หัวหน้าหน่วยงาน คณะครู ทกุ คน นักการภารโรง ตลอดจนนักเรียน จะเป็นกลมุ่ บุคคลท่ีสามารถให้ข้อมูลในการมีมนุษยสมั พันธ์ ได้อย่างถกู ต้อง เพราะบุคคลเหลา่ น้จี ะเปน็ ผทู้ ี่ใกลช้ ดิ กบั ครูมากที่สุด 1.2 บุคลากรนอกโรงเรียน อาจจะเป็นบุคคลในสายผู้บังคับบัญชาท่ีสูงกว่าโรงเรียน เจ้าหน้าท่ี พนักงานในแต่ละสานักงาน หรือบุคลากรในชุมชน เช่น คณะกรรมการศึกษา สมาคมครู ผู้ปกครอง สมาคมศิษย์เก่า คณะกรรมการหมู่บ้าน พ่อค้าคหบดีในท้องถิ่น ผู้ปกครอง ประชาชนใน ทอ้ งถ่นิ แขกทม่ี าเยยี่ มโรงเรยี น เป็นตน้ 2. การประเมินผลตนเอ งหมายถึง การท่ีบุคคลทาการตรวจสอบการมีมนุษยสัมพันธ์ของ ตนเองว่าอยู่ในข้ันใด ระดบั ใด ดีมาก ดี ปานกลาง หรือต้องปรับปรงุ แก้ไข มีจุดใดที่เปน็ ปัญหาตอ้ งรีบ แก้ไข การประเมินผลตนเองท่ีจะได้ผลนั้นข้ึนอยู่กับตัวของผู้ประเมินเอง ท่ีต้องทาใจให้กว้าง ไม่เขา้ ข้างตนเอง มองตนเองด้วยความเป็นจริง มิฉะน้ันแล้วก็จะเปน็ การหลอกให้ตนเองหลงตนเองอยู่ เหมือนเดิม โอกาสที่จะได้พัฒนาด้านความสัมพันธ์กับผู้อื่นก็จะหมดไป ซึ่งส่วนมากการประเมินผล ตนเองน้ันนิยมทา “แบบสารวจตนเอง” 3. การประเมินผลโดยไม่ใช่บุคคลประเมิน หมายถงึ การประเมินผลโดยไม่เข้าไปเกยี่ วข้อง กับผู้ถูกประเมิน หรือให้ผู้อ่ืนประเมินให้ แต่เป็นการประเมินจากพฤติกรรม หรือผลจากการทางาน ไดแ้ ก่ 3.1 การดูจากสมุดบันทึกประจาวันของโรงเรียน ถ้าในบันทึกประจาวันของโรงเรียนมี การลงบันทึกเรื่องความขัดแยง้ การทะเลาะววิ าทภายในโรงเรียน หรือมบี ุคลากรภายนอกมากอ่ ความ วุ่นวายในโรงเรียน ก็จะเป็นเคร่ืองชีก้ ารมมี นษุ ยส์ ัมพันธ์ได้ว่าดหี รือไมด่ ีได้

208 3.2 การดูจากหนังสือรอ้ งเรยี นหรือบัตรสนเท่ห์ ถ้าโรงเรียนใดไม่มีหนังสือร้องเรยี นหรือ บัตรสนเท่ห์ แสดงว่าสัมพันธภาพของครูในโรงเรียนน้ันดี แต่ถ้าโรงเรียนใดมีหนังสือร้องเรียนและ บัตรสนเทห่ ์เป็นจานวนมากผิดสงั เกต แสดงว่านา่ จะมีมูลเหตขุ องการไม่เข้าใจเกดิ ขน้ึ แล้ว 3.3 สังเกตจากการที่มีบุคคลภายนอกเข้ามาติดต่อโรงเรียน เพ่ือใช้สถานท่ีหรือเชิญ บุคลากรในโรงเรียนเข้าร่วมงานต่างๆ หรืออาจจะดูจากการท่ีผู้ปกครองให้ความร่วมมือในกิจกรรม ต่างๆ ของโรงเรียน เปน็ ตน้ 3.4 สังเกตจากการร่วมมือของคณะครูในการทากิจกรรมต่างๆ ของโรงเรยี น เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวดั ประเมินผลมนุษยสัมพนั ธ์ การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์น้ัน มีเครอ่ื งมือหลายประเภท ไดแ้ ก่ 1. การสังเกต การสังเกต (Observation) หมายถึง การดูพฤติกรรมหรือลักษณะต่างๆ ของบุคคล อยา่ งมรี ะบบ มีการใส่ใจรายละเอียด เพอ่ื ใหท้ ราบพฤตกิ รรมที่แท้จรงิ 1.1 รปู แบบของการสังเกต 1.1.1 การสังเกตโดยผู้สังเกตเข้าไปร่วมในเหตุการณ์หรือกิจกรรม หมายถึง การ สังเกตท่ีผู้สังเกตเข้าไปมีส่วนร่วม หรือคลุกคลีในหมู่ผู้ถูกสังเกต และอาจมีการร่วมทากิจกรรมต่างๆ ดว้ ยกัน 1.1.2 การสังเกตโดยผู้สังเกตไม่ได้เข้าไปร่วมในเหตุการณ์ หมายถึง การสังเกตท่ีผู้ ถูกสังเกตอยู่ภายนอกวงของผู้ถูกสังเกต คือ สังเกตในฐานะเป็นบุคคลภายนอก การสังเกตแบบนี้ เกิดขนึ้ ในขณะที่ผถู้ ูกสงั เกตไม่รู้ตวั วา่ มผี ้สู ังเกตกาลงั ทาการสังเกตอยู่ แบ่งออกเป็น 2 ชนดิ ไดแ้ ก่ 1) การสังเกตแบบไม่มีโครงสร้าง หมายถึง การสังเกตท่ีผู้สังเกตไม่ได้กาหนด หวั เรอ่ื งเฉพาะเอาไว้ หรือไม่ไดม้ ีการเตรยี มการมากอ่ น แต่เกิดขึ้นโดยบงั เอิญผ่าน หรือพบผู้ถกู สังเกต ซ่ึงไมร่ ูต้ ัววา่ ถูกสังเกต 2) การสงั เกตแบบมโี ครงสร้าง หมายถงึ การสงั เกตทผี่ ู้ถกู สังเกตกาหนดเรื่องที่ จะสังเกตเฉพาะเอาไว้ หรือมีการเตรียมการลว่ งหน้า และต้งั ใจสงั เกตโดยตรง 1.2 หลักการสังเกต การสังเกตที่จะทาให้ได้ข้อมูลที่เป็นที่เช่ือถือได้น้ัน ผู้สังเกตต้องมี การฝกึ ฝนการสังเกตอยเู่ สมอ และควรมหี ลักการของการสงั เกตดังนี้ 1.2.1 กาหนดสิ่งที่จะสงั เกตใหช้ ัดเจนก่อนทจ่ี ะเริ่มสงั เกต 1.2.2 ควรสังเกตพฤตกิ รรมทเี่ กิดขนึ้ ควบคู่ไปกบั สถานการณ์ หรือสง่ิ แวดลอ้ มด้วย

209 1.2.3 ควรสังเกตในเวลา และจานวนครัง้ ที่มากพอ 1.2.4 ผูส้ งั เกตต้องพยายามอย่าให้เกดิ อคตหิ รอื ความลาเอียง 1.2.5 ไม่ควรใหผ้ ้ถู กู สงั เกตรู้ตัวว่ากาลงั ถกู สังเกตอยู่ 1.2.6 ควรบันทึกและสรุปผลการสังเกตทันทีเมื่อส้ินสุดการสังเกต เพราะถ้าเวลา ผา่ นไปอาจลมื ได้ โดยมีขอ้ ควรคานงึ ดังน้ี 1) บันทึกข้อมลู อย่างตรงไปตรงมา ไมใ่ สค่ วามคดิ เห็นลงไป 2) ควรรวบรวมผลการสังเกตพฤติกรรมให้มากที่สุด ก่อนจะสรุปเป็นข้อยุติ เกี่ยวกับลักษณะต่างๆ ของบุคคลแตล่ ะคน 1.3 การบนั ทึกการสังเกต เมื่อทาการสังเกตในแต่ละคร้ัง ควรมีการบันทึกผลการสังเกต เอาไว้ด้วย เพื่อจะได้เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลต่อไป สาหรับวิธีการบันทึกการสังเกตและ แบบฟอรม์ การบันทึกการสังเกตทีน่ ิยมใช้โดยทว่ั ไป มี 2 วิธกี าร ดังน้ี 1.3.1 แบบสังเกตพฤติกรรม (Observation From) เป็นการบันทึกที่มีระบบ ระเบยี บ ผบู้ นั ทึกตอ้ งใช้เวลาสังเกตให้ของแทแ้ นใ่ จ จนสามารถประเมนิ พฤตกิ รรมไดเ้ สียก่อนจึงบนั ทกึ ตัวอย่างแบบบนั ทึก (แบบฟอรม์ ที่ 1) การบนั ทึกการสังเกต คร้ังท่ี...... ชือ่ ผูถ้ กู สงั เกต.....................................................................อาย.ุ ..............ปี ตาแหน่ง............................ วนั เวลาทสี่ งั เกต..................................................................................................................................... สถานท่สี งั เกต......................................................................................................................................... พฤตกิ รรม............................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ความคิดเหน็ ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ข้อเสนอแนะ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ลงชื่อ.......................................................ผ้สู ังเกต ตาแหนง่ ...............................................................

210 ตัวอย่างแบบบนั ทึก (แบบฟอร์มที่ 2) ชอ่ื ผถู้ กู สังเกต.............................................................................................อาย.ุ ..........................ปี ตาแหนง่ ............................................................... ครั้ง วนั เวลา สถานท่ี พฤตกิ รรม ความคดิ เห็น ข้อเสนอแนะ ท่ี เดือน ปี ลงช่ือ.......................................................ผู้สงั เกต ตาแหนง่ ............................................................... การเลอื กใชแ้ บบฟอรม์ ที่ 1 หรือ 2 สาหรบั บันทกึ การสังเกตนั้น ให้พิจารณา ดงั นี้ ถ้าต้องการเก็บเป็นความลับไดม้ ากกวา่ ควรใชแ้ บบฟอรม์ ที่ 1 แตถ่ ้าไมต่ อ้ งการเก็บเปน็ ความลับ และประหยัด ตลอดท้ังต้องการดพู ฤตกิ รรมในหลายๆ ครงั้ และหลายๆ สถานการณ์เปรียบเทียบกัน แล้ว ควรใช้แบบฟอรม์ ท่ี 2 1.3.2 มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) เป็นการบันทึกผลการสังเกตอีก รูปแบบหนึ่ง โดยการประมาณค่าเก่ียวกับคุณลักษณะต่างๆ ของบุคคลแต่ละคนให้ตรงกันกับ คุณลกั ษณะที่ปรากฏอยู่ในมาตรท่ตี อ้ งการประมาณคา่ กล่าวคอื เมื่อผู้ประเมนิ ได้สังเกตพฤตกิ รรมของ ครูหลายๆ คร้ัง และในสถานการณ์ต่างๆ กัน แล้วผู้ประเมินก็สรุปผลการสังเกตของตน โดยการ ตีค่าลักษณะพฤติกรรม หรือบุคลิกลักษณะของครู ว่ามีคุณภาพเป็นอย่างไร สูงหรือต่า ดีหรือไม่ดี แล้วบันทึกลงในมาตราส่วนประมาณคา่

211 1) หลักการในการสร้างและใช้มาตราส่วนประมาณคา่ มีดงั น้ี - กาหนดรายการคุณลักษณะต่างๆ ท่ีต้องการวัด เช่น ความรับผิดชอบ ความร่วมมือ ความมนี า้ ใจ ความเป็นผูน้ า เปน็ ต้น - ให้คาจากัดความคุณลักษณะต่างๆ อย่างชัดเจน เพ่ือให้ผู้ประมาณค่า ได้ใช้เป็นหลักยึดในการประมาณค่า ควรเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการประมาณค่าได้ อภิปรายร่วมกันว่าจะใหค้ าจากดั ความคณุ ลกั ษณะตา่ งๆ นัน้ อยา่ งไร - คุณลักษณะต่างๆ ที่ประมาณค่านั้นจะต้องเป็นคุณลักษณะท่ีสามารถ สงั เกตได้ - ตอ้ งกาหนดระดบั ความแตกต่างของคุณลักษณะทต่ี ้องการประมาณค่า อย่างชัดเจน โดยเรียงลาดับ เช่น จากต่าไปสูง จากง่ายไปยาก หรือจากการไม่ยอมรับไปเป็นการ ยอมรับ เป็นต้น ระดับขั้นของคุณลักษณะตา่ งๆ อย่างน้อยควรเปน็ 5 ระดบั เพราะถา้ กาหนดระดบั ไว้ 2-3 ระดับจะทาให้การประมาณค่านัน้ ค่อนข้างหยาบไป แต่ถ้าจดั ระดับข้ันมาเกินไปเป็น 10-12 ระดับ จะทาให้ยากแกก่ ารประมาณคา่ ใหแ้ ตกต่างกนั ได้ - การประมาณค่านั้นจะต้องเป็นไปอย่างเช่ือถือได้และใหค้ วามเทยี่ งตรง อย่าใหผ้ ปู้ ระเมินที่ไมร่ ูจ้ ักครูดีพอเปน็ ผู้ประมาณคา่ - ควรให้มีผู้ประมาณค่าหลายๆ คน เพ่ือความแม่นตรงของการ ประมาณค่า - ควรพยายามประมาณค่าในระดับใกล้เคียงความเป็นจริงท่ีสุด ไม่ควร ประมาณค่าในระดับสงู สุด หรือตา่ สุด หรือปานกลางเท่าน้นั แต่ควรกระจายไปทุกๆ ระดบั และไมค่ วร ประมาณค่าผู้เรียนคนหน่ึงในทุกคุณลักษณะเป็นระดับเดียวกันหมด ไม่ว่าจะเป็นระดับสูงสุดหรือ ตา่ สดุ 2) ชนิดของมาตราสว่ นประมาณคา่ มาตราส่วนประมาณค่าแบบตา่ งๆ ที่ นิยมใช้กันอยู่มี 3 แบบ คือ แบบให้คะแนน แบบพรรณนา และแบบกราฟ 2.1) แบบให้คะแนน (Numerical Scales or Scoring Type) โดยใช้ ตัวเลขเป็นตัวแทนความมากน้อยของคุณลักษณะต่างๆ และจะต้องเขียนความหมายของตัวเลขแต่ละ ตวั อย่างชัดเจนว่าหมายถงึ อะไรหรือใช้แทนความหมายใด เชน่ 1 แทน คุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมนั้นควรไดร้ ับการปรบั ปรงุ แก้ไขอย่างยิ่ง 2 แทน คุณลกั ษณะหรอื พฤตกิ รรมนัน้ ควรได้รับการปรับปรงุ แก้ไข 3 แทน คุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมนน้ั อยู่ในเกณฑพ์ อใช้ 4 แทน คุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมน้ันอยใู่ นเกณฑด์ ี 5 แทน คุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมนั้นอยู่ในเกณฑ์ดมี าก

212 ตวั อยา่ งแบบใหค้ ะแนน แบบที่ 1 นอ้ ย ความมีนา้ ใจ มาก ไมถ่ กู ตอ้ ง 12345 ถกู ต้อง ความถูกตอ้ งในการทางาน 12345 ตัวอยา่ งแบบใหค้ ะแนน แบบที่ 2 ข้อ คณุ ลักษณะหรอื พฤติกรรม 54321 1 บุคลิกภาพ 2 ความขยันหมัน่ เพยี ร 3 ความร่วมมอื 4 ความมีนา้ ใจ 5 การปรับตัวเข้ากับผอู้ นื่ 2.2) แบบพรรณนา (Descriptive Scales) โดยใชก้ ารบรรยายเพ่อื บ่งบอก ความหมายมากนอ้ ยของคณุ ลกั ษณะหรือพฤติกรรมทีต่ ้องการวัด โดยผ้ปู ระมาณคา่ ใสเ่ ครอื่ งหมายลง ในช่องว่างหนา้ ข้อความซ่ึงอธบิ ายเก่ียวกับคณุ ลกั ษณะหรอื พฤติกรรมของครู เชน่ การควบคุมอารมณ์ _______ แสดงปฏิกิรยิ าทันทที ถ่ี กู กระตุ้น _______ อดกลั้นไดใ้ นบางคร้งั _______ สามารถยบั ยงั้ ไว้ได้ _______ แสดงออกในทางที่ดี _______ เกบ็ กดอารมณไ์ วท้ กุ ครั้ง การรักษาประโยชน์ส่วนรวม □ ชอบทาลาย □ มักงา่ ย □ เอาใจใสบ่ า้ งบางคราว □ หมั่นดแู ลรกั ษา □ หวงแหนมากเกนิ ไป

213 2.3) แบบกราฟ (Graphic Scales) โดยแจกแจงคุณภาพของคุณลักษณะ หรือพฤตกิ รรมท่จี ะประมาณค่าด้วยเส้นตรง จะมีคาอธบิ ายระดับคณุ ภาพไว้ใต้เส้นตรง เมือ่ ผู้ประมาณ ค่าพจิ ารณาแล้วเห็นว่าคณุ ลักษณะหรือพฤติกรรมทจี่ ะประเมินของครูมีคุณภาพตรงกับระดับใด ก็ทา เคร่ืองหมายบนเส้นตรงทีแ่ สดงคณุ ภาพของคุณลกั ษณะหรือพฤติกรรมทจ่ี ะประมาณค่า เช่น ความม่ันคงทางอารมณ์ อารมณ์เปลย่ี นแปลง ควบคมุ อารณ์ ควบคมุ อารณ์ ควบคุมอารณ์ มอี ารมณม์ น่ั คง อยู่เสมอ เรว็ มาก ได้นอ้ ย ได้บางครงั้ ได้ จากวิธีการบันทึกการสังเกต 2 วิธี ได้แก่ แบบสังเกตพฤติกรรม และมาตราส่วน ประมาณค่า จะเห็นได้ว่า 2 วิธีนี้จะมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ แบบสังเกตพฤติกรรมเป็นแบบที่ ผสู้ งั เกตใช้บันทึกเหตุการณท์ ่ีเกิดขึ้นจรงิ ในขณะทาการสังเกต เพื่อแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมบางอย่าง ของผู้ถูกสังเกต ซ่ึงผู้สังเกตได้พิจารณาแล้วเห็นว่าเป็นเรื่องสาคัญและมีคุณค่า สาหรับมาตราส่วน ประมาณคา่ เปน็ การบันทึกการสังเกตโดยการประเมินผลของผู้สงั เกต คือมีการตดั สินว่าครูแต่ละคนที่ ผู้ประเมนิ ทาการสังเกตมีคณุ ลักษณะที่ผู้ประเมินตอ้ งการจะสงั เกตมากนอ้ ยเพียงไร 2. การสมั ภาษณ์ การสัมภาษณ์ (Interview) เป็นกระบวนการรวบรวมข้อมูลโดยการสนทนาหรือการ พูดคุยกันระหว่างบุคคล 2 คน เพื่อรวบรวมข้อมูลต่างๆ อย่างมีจุดมุ่งหมาย และหากเป็นการ สัมภาษณ์ครูโดยตรงจะช่วยให้ผู้สัมภาษณ์ได้มีโอกาสได้สังเกตปฏิกิริยาและพฤติกรรมของครูท่ีมีต่อ คาถามตา่ งๆ เพือ่ จะได้นามาใชป้ ระกอบการพจิ ารณาในการทาความเข้าใจพฤติกรรมของครูได้ดียง่ิ ข้ึน ด้วย นอกจากนี้อาจจะสัมภาษณ์เพ่ือหาข้อมูลจากบุคคลอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้อง เช่น สัมภาษณ์เพื่อน ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา ผู้ปกครอง หรือนักเรียน และคนอ่ืนท่ีเกี่ยวข้องที่เห็นว่าสมควรจะสัมภาษณ์ เพื่อหาข้อมลู เกย่ี วกบั ครู 2.1 หลักการสมั ภาษณ์ 2.1.1 มีการเตรียมการสัมภาษณ์ไว้ล่วงหน้า เช่น สิ่งท่ีต้องการทราบ การนัดหมาย ห้องทีจ่ ะใชส้ มั ภาษณ์ เปน็ ตน้ 2.1.2 ในการเร่ิมตน้ การสัมภาษณ์ ผู้สมั ภาษณค์ วรสร้างสัมพันธภาพท่ดี ี เพือ่ ใหผ้ ู้ถูก สัมภาษณ์เกดิ ความไวว้ างใจ และสร้างบรรยากาศที่เปน็ กนั เองขณะสัมภาษณ์ 2.1.3 ภายหลังการสัมภาษณ์ควรจดผลการสัมภาษณท์ ันที

214 2.2 ชนดิ ของการสัมภาษณ์ 2.2.1 การสัมภาษณ์โดยตรง การสัมภาษณ์ชนิดน้ีถือว่าครูจะรู้ข้อคิดเห็นเก่ียวกับ ตนเองไดม้ ากที่สุด แตก่ อ็ าจจะมบี า้ งที่ครเู ข้าใจตวั เองคาดเคลื่อนหรอื บิดเบอื นข้อเทจ็ จรงิ 2.2.2 การสัมภาษณ์ผู้ท่ีเก่ียวข้อง เช่น ครูคนอื่น ผู้บริหาร นักเรียน เพราะเป็นผู้ที่ ใกลช้ ดิ กับครู 2.3 ขัน้ ตอนของการสมั ภาษณ์ ประกอบด้วย 2.3.1 ข้ันเริ่มต้นการสัมภาษณ์ เป็นช่วงที่ผู้สัมภาษณ์บอกความมุ่งหมายในการ สมั ภาษณ์ และสร้างสมั พันธภาพที่ดี 2.3.2 ข้ันรวบรวมข้อมูลตามจุดมุ่งหมาย ผสู้ ัมภาษณ์จะต้องใชค้ าถามที่ดี รู้จักถาม ใหถ้ กู จังหวะ เปน็ ผฟู้ ังท่ีดสี นใจคาตอบหรอื เร่อื งที่ผ้ถู ูกสัมภาษณเ์ ล่าให้ฟงั 2.3.3 ขั้นยุติการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ทาความเข้าใจกับข้อมูลที่ได้ สร้างความ ประทบั ใจหรอื นัดหมายถ้าจะมกี ารสมั ภาษณใ์ นคร้งั ต่อไป ผู้สัมภาษณป์ ระเมินกิริยาของผ้ถู ูกสัมภาษณ์ ตลอดระยะเวลาของการสัมภาษณ์ 2.3.4 บันทึกผลการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์ควรบันทึกผลของการสัมภาษณ์และ ในทันทีหลังจากท่ีการสัมภาษณ์ส้ินสุดลงแล้ว โดยบันทึกแต่ใจความสาคัญๆ รวมท้ังลักษณะท่าทาง ของผถู้ กู สมั ภาษณ์ด้วย ข้อควรระวังในการสัมภาษณ์ ผู้ถูกสัมภาษณ์อาจจะบิดเบือนข้อมูลเก่ียวกับตัวเอง ปฏิกิริยา และประสบการณ์ตา่ งๆ ของตนเอง นอกจากนี้ ผ้สู ัมภาษณอ์ าจจะบันทกึ ข้อมูลคลาดเคลื่อน เนอื่ งจากเก็บขอ้ มลู ได้ไม่หมดหรอื เกิดความพลั้งเผลอในขณะสัมภาษณ์ได้ ตัวอยา่ งแบบบนั ทึกการสัมภาษณ์ คร้ังท.่ี .........เร่มิ เวลา....................สิ้นสุดเวลา......................วนั ท่.ี ...........เดือน..................พ.ศ. ............. ช่ือ-นามสกุล...........................................................................ตาแหนง่ ................................................... จดุ มุง่ หมาย............................................................................................................................................. ผลของการสมั ภาษณ.์ ............................................................................................................................. ความคิดเหน็ ของผู้สัมภาษณ์................................................................................................................... นดั หมายคร้งั ต่อไป วนั .................เดือน.......................พ.ศ. .................. เวลา...................................น. ชอ่ื ผสู้ มั ภาษณ์.....................................................

215 3. การใช้แบบสอบถาม แบบสอบถาม (Questionnaire) หมายถึง ข้อความต่างๆ ที่สร้างข้ึนเพื่อให้ได้คาตอบ จากผู้ที่ถูกถามโดยการกรอกข้อมูลลงไป อาจเป็นข้อความส้ันๆ หรือยาวก็ได้ตามท่ีผู้ต้องการจะตอบ หรืออาจเลือกขอ้ คาถามท่ีอยู่ในลักษณะของข้อความต่างๆ ตามความรู้สกึ หรือความคิดเห็นที่ตรงกับ ตนคิดด้วยการเขียนเคร่ืองหมายหน้าข้อความนั้นๆ ซ่ึงข้อมูลท่ีได้มานั้นจะช่วยให้เกิดความรู้สึกและ ความเข้าใจในตัวผู้ถกู ศึกษาเพิ่มข้นึ สาหรับแบบสอบถามทใี่ ช้ในการแนะแนวน้นั ในเรอื่ งข้อความตา่ งๆ ทีผ่ ้เู รยี นกรอกนน้ั จะช่วยให้ครหู รอื ผ้แู นะแนวร้จู กั และเขา้ ใจผเู้ รยี นเพิ่มขึน้ 3.1 หลักการสร้างแบบสอบถาม วิธีสรา้ งแบบสอบถาม มีหลกั ทค่ี วรยดึ ถอื ดงั ต่อไปนี้ 3.1.1 ตั้งวัตถุประสงค์สาหรับการถามให้ชัดเจน ว่าจะต้องการทราบอะไรเก่ียวกับ ผู้เรียน 3.1.2 วางโครงเร่ืองวา่ จะถามอะไร จงึ จะไดข้ อ้ เทจ็ จรงิ ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3.1.3 แบ่งแยกหัวข้อเร่ืองท่ีจะถามออกเป็นหัวข้อใหญ่ๆ เสียก่อน แล้วแยกเป็น หวั ขอ้ ยอ่ ยๆ เรยี งลาดับความสาคญั และความตอ่ เน่อื งของเรอ่ื งตามความเหมาะสม 3.1.4 แบบสอบถามทุกฉบับ ควรมีคาสั่งหรือคาชีแ้ จงให้ชัดเจน เพื่อให้ผตู้ อบทราบ วัตถุประสงคใ์ นการตอบแบบสอบถามครง้ั นี้ ซึ่งจะเป็นประโยชนส์ าหรบั ผตู้ อบ 3.1.5 คาถามที่ใช้ในแบบสอบถาม ควรได้รับการพิจารณาให้เหมาะสม เช่น ใช้ ภาษาง่ายเหมาะกับระดับของผู้ตอบ ไม่ควรใช้ข้อคาถามจานวนมาก เพราะจะทาให้ผู้ตอบเกิดความ เบ่ือหน่าย ไม่อยากตอบ หากจาเป็นต้องใช้ข้อคาถามจานวนมากๆ ควรแบ่งออกเป็นชุดย่อยๆ หลายชุด และหลีกเลี่ยงการใชค้ าถามที่ช้ีนาคาตอบ เป็นตน้ 3.2 ประเภทของแบบสอบถาม อาจแบง่ แบบสอบถามได้เป็น 2 ประเภท คือ 3.2.1 แบบสอบถามปลายเปดิ (Open From) เปน็ แบบสอบถามทีใ่ ห้ผู้ตอบตอบได้ อย่างอิสระ เช่น ทา่ นคิดว่าโรงเรียนมีปัญหาด้านมนษุ ยสมั พนั ธ์อะไรบ้าง ......................................................................................... ท่านคิดวา่ วิธกี ารขจัดความขดั แย้งท่ีได้ผลควรทาอย่างไร .......................................................................................... 3.2.2 แบบสอบถามแบบปลายปิด (Closed From) เปน็ แบบสอบถามท่ีมีคาตอบ เตรียมไว้พรอ้ มแล้ว ผูต้ อบเพยี งแต่เลือกคาตอบจากคาตอบท่ีกาหนดไว้ใหเ้ ท่านน้ั เช่น

216 คาสงั่ ใหท้ า่ นใส่เคร่ืองหมาย  ลงในหน้า  ขอ้ ทีต่ รงกับความร้สู กึ ของท่านมากทส่ี ุด เพียงขอ้ เดียว 1. ทา่ นชอบอาชีพใดมากที่สดุ  ครู  แพทย์  ค้าขาย  ทนายความ  อื่นๆ โปรดระบ.ุ ............................................................. 2. ทา่ นชอบเพือ่ นทมี่ ลี กั ษณะใดมากทส่ี ดุ  ฐานะดี  สวยหล่อ  ทางานเก่ง  เลน่ กฬี าเกง่  อื่นๆ โปรดระบ.ุ ............................................................. ฯลฯ 4. การใช้แบบทดสอบ แบบทดสอบ (Test) เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการเสนอ สถานการณ์ให้ตอบ และกาหนดเกณฑ์หรือวิธีการไว้ให้ การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ด้วย แบบทดสอบนน้ั นยิ มดาเนนิ การ ดงั นี้ 4.1 ทดสอบความรดู้ า้ นมนุษยสัมพันธ์ 4.2 ทดสอบระดับมนษุ ยส์ ัมพนั ธด์ ว้ ยสถานการณต์ ่างๆ 5. การใชแ้ บบวัดทางจิตวิทยา การใช้แบบวดั ทางจิตวิทยา (Psychological Test) เป็นเครอ่ื งมือที่ใช้ศึกษาคณุ ลักษณะ ต่างๆของบุคคล มีความเชอ่ื ถือและมคี ุณภาพสูง แต่มีข้อจากัดและพึงระวังก็คือ ผู้ใช้แบบวดั จิตวิทยา นน้ั ตอ้ งมีความรู้ความสามารถในการใชแ้ บบวัดจิตวทิ ยาอย่างแท้จริง ในวงการจิตวทิ ยาผู้ใช้แบบวดั นี้ก็ คือนักจิตวิทยาคลินิก ลักษณะของแบบวัดทางจิตวิทยาจะมีความซับซ้อน และสามารถค้นหาตัวตน หรือพฤติกรรมของบุคคลได้อยา่ งเด่นชัด เช่น ลักษณะทางจติ ความซึมเศร้า เป็นต้น สาหรับแบบวัด ทางจติ วิทยาเพ่อื ประเมินมนุษยสัมพันธ์นัน้ มักมลี ักษณะเป็นสถานการณ์หรือเหตกุ ารณ์ แลว้ ให้ผตู้ อบ เลอื กพฤตกิ รรมทต่ี อบสนองต่อเหตกุ ารณ์

217 6. การทาสังคมมติ ิ สังคมมิติ (Sociometric Test) หมายถึง วิธีการศึกษาความสัมพันธ์ทางสังคมระหว่าง บุคคลในกลุ่ม โดยการถามความร้สู ึกของสมาชกิ แต่ละคนที่มตี ่อเพื่อนในกลุ่มน้ัน เทคนิคสังคมมติ ิท่ใี ช้ ในโรงเรียนมีวัตถุประสงค์ท่ีจะให้ผู้บริหาร ได้ทราบว่าครูแต่ละคนมีความสัมพันธ์กับเพ่ือนครูหรือ ผู้เรียนอย่างไร ดังนั้น เทคนิคสังคมมิติจึงเป็นวิธีการท่ีใช้ประโยชน์มากที่สุด ในการศึกษาโครงสร้าง ทางสังคมของกล่มุ หลักการของการใช้สังคมมิติ ควรใช้กับผู้ท่ีรู้จักคุ้นเคยกันไม่น้อยกว่า 4 สัปดาห์ และสร้างสถานการณ์เพื่อทาสังคมมิติ 2-3 สถานการณ์ เพ่ือจะได้นาขอ้ มูลมาเปรียบเทยี บ รวมถึงเก็บ ข้อมูลในการเลือกและตารางคะแนนไว้เป็นความลับ เปิดเผยเฉพาะแผนผังสังคมมิติแก่เจ้าตัว ถึงตาแหน่งของตัวเองเท่านัน้ เพ่อื ทเี่ จ้าตัวจะไดท้ ราบถึงสถานะของตนเองในแต่ละสถานการณ์ นอกจากนี้ เพ็ญนภา สังข์สุวรรณ (2547, น. 27-28) ยังเสนอวิธีการวัดและประเมินผล มนษุ ยสมั พนั ธ์ดังตอ่ ไปน้ี 1. การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์โดยวิธีกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ กระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์เป็นวิทยาการแขนงหนึ่งที่สร้างความเข้าใจเรื่องกลุ่ม ซึ่งครอบคลุมในเรื่องพฤติกรรมมนุษย์ ลักษณะของกลมุ่ การรวมกลุ่ม กระบวนการในการทางานกลมุ่ การแก้ปัญหา การตัดสินใจ การสรา้ ง สัมพันธภาพอันดีในกลุ่ม ตลอดจนการพัฒนาความเข้าใจตนเองและผู้อื่น เป็นทางเลือกหนึ่งท่ีจะใช้ ศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ เมื่อได้ทากิจกรรมร่วมกัน เพราะจะมีการตกลงและแก้ปัญหาบางประการ รว่ มกนั ซงึ่ สามารถทาไดด้ ว้ ยวิธีการดงั น้ี 1.1 การสังเกต ควรสังเกตการทางาน กระบวนการทางาน พฤติกรรมของสมาชิก ในกลุ่ม บทบาทผู้นาผู้ตามในกลุ่ม ความคิดสร้างสรรค์ของกลุ่มให้มากกว่าที่จะเพ่งเล็งในเร่ืองของ ผลงาน 1.2 การใหท้ ากจิ กรรม เป็นการมอบหมายให้บุคคลปฏบิ ัติกจิ กรรมต่างๆ 1.3 การซักถาม โดยต้องซักถามสมาชิกให้ทั่วถึง เพ่ือให้ทราบพฤติกรรมและ ความคิดเห็นของคนในกลมุ่ 2. การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์โดยวิธีการเข้ากลุ่มฝึกความรู้สึกไว การเข้ากลุ่มฝึก ความรู้สึกไว (Sensitivity Training Group) หมายถึง การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้ผู้เข้าร่วม กิจกรรมได้ทากิจกรรมร่วมกัน เพื่อให้แสดงพฤติกรรมที่เหมาะสม อันจะนาไปสู่การพัฒนา มนุษยสัมพนั ธ์ สามารถนาเสนอวิธีการไวด้ งั นี้

218 2.1 วิธีการฝกึ ในห้องปฏิบัติการ เป็นการฝึกท่ีมีการสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ไว้ก่อน เพื่อให้สมาชิกได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรม เจตคติ และค่านิยมของมนุษย์ สมาชิกทุกคนมี หน้าทใ่ี นการใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลบั เก่ยี วกบั พฤติกรรมทเ่ี พ่อื นแสดงออกมา 2.2 การแสดงบทบาทสมมุติ เป็นการจัดสถานการณ์เพ่ือให้บุคคลมีโอกาสแสดงออก ตามธรรมชาติ หรอื เปดิ โอกาสใหท้ ุกคนได้แสดงออกถึงบุคลิกภาพของตนเองอย่างเสรี 2.3 เกม เป็นกิจกรรมท่ีสมาชิกต้องลงมือกระทาด้วยตนเอง ซึ่งการตัดสินใจของบุคคล ขึน้ อย่กู บั โครงสร้างหรอื กติกาของเกม คุณลักษณะการวัดทางจิตวิทยา การวัดทางจิตวิทยา เป็นการปฏิบัติการวิชาชีพเชิงเทคนิคท่ีอาศัยกระบวนการวัดและ ประเมินผลร่วมกัน เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวัดทางจิตวิทยา แบ่งออก 2 ลกั ษณะท่ีสาคัญ คือ เครอื่ งมือที่ ใชแ้ บบทดสอบ (Testing) และเคร่ืองมอื ทไี่ มใ่ ชแ้ บบทดสอบ (Non Testing) อนาสตาซี (Anastasi, 1990, p. 245) กล่าวถึง ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี สรุปได้ว่า ต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญ 3 ประการ คือ มีความตรง (Validity) มีความเชื่อมั่น (Reliability) และ สามารถนาไปใช้ได้ (Usability) โดยกล่าวถึงความสามารถในการนาไปใช้ได้ว่า ประกอบด้วยลักษณะ สาคัญ 3 ประการ คอื 1. มีคาสง่ั ชัดเจน งา่ ยตอ่ การดาเนินการทดสอบ 2. จานวนขอ้ ไม่มากเกนิ ไป เวลาท่ใี ชค้ วรอยใู่ นช่วง 20 - 60 นาที 3. งา่ ยตอ่ การให้คะแนน และแปลความหมายของคะแนน คณุ สมบตั ิทางการวัดทางจติ วิทยา (Psychometric Properties) ทสี่ าคญั มีดงั นี้ 1. ความเที่ยงของเครอ่ื งมอื นกั วิชาการได้เสนอความหมายของความเที่ยง ไวด้ ังน้ี บุญเรยี ง ขจรศิลป์ (2539, น. 163) กล่าวถงึ ความเทีย่ ง ว่าเป็นคุณสมบัติของเครื่องมือ ที่วดั ได้สมา่ เสมอ คงเส้นคงวา วัดกี่ครั้งก็ได้ผลเหมอื นเดมิ หรอื ใกล้เคียงกับของเดิม วารินทร์ สายโอบเอ้ือ (2542, น. 17) กล่าวว่า ความเที่ยง หมายถึง ความคงท่ีหรือ ความคงเส้นคงวาที่ได้จากการวัดแต่ละครั้ง หรืออาจพูดได้ว่า ความเท่ียงเป็นความคงที่ของคะแนน ทไี่ ดจ้ ากการวัดแต่ละคร้ังโดยกลมุ่ คนเดยี วกนั โดยใช้แบบทดสอบชุดเดมิ ระพินทร์ โพธิ์ศรี (2552, น. 187) อธิบายวา่ ความเท่ียง หมายถึง ระดับความคงที่หรือ ความถกู ตอ้ งในการวดั

219 จากการนาเสนอความหมายของความเที่ยงข้างต้นสรุปได้ว่า ความเท่ียงของเครื่องมือ หมายถึง คุณสมบัติของเครื่องมือท่ีให้ผลการวัดท่ีคงที่แน่นอน ไม่ว่าจะใช้เครื่องมือน้ีวัดกี่ครั้งกับ คนกล่มุ เดิมก็จะได้ผลการวัดเหมอื นเดิม หรอื ใกล้เคยี งกบั ผลเดิมมากทส่ี ดุ บญุ เรยี ง ขจรศิลป์ (2539, น. 161 - 170) ได้กล่าวถึงวิธีการหาคุณภาพของเครือ่ งมอื ด้าน ความเท่ยี ง สรุปไดด้ ังน้ี 1. การวัดความคงที่ (Measure of Stability) วิธีน้ีใช้ในการวัดซ้าโดยให้ผู้สอบกลุ่ม เดยี วกัน สอบข้อสอบชุดเดียวกันท้ังสองครั้ง โดยเว้นระยะห่างประมาณ 2-3 สปั ดาห์ การวดั โดยวิธีน้ี มหี ลักว่า ถา้ แบบทดสอบมีความเท่ียงชนิดท่ีวดั ความคงทีข่ องผู้สอบได้จริงแลว้ ผลการทดสอบสองครั้ง ควรมีความใกล้เคียงกัน ดัชนีความเที่ยงท่ีใช้วัดความคงที่คือ ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ของผลการ ทดสอบทงั้ สองชุด 2. การวัดความเท่ากัน (Measure of Equivalence) วิธีน้ีให้ผู้สอบกลุ่มเดียวกันสอบ ขอ้ สอบสองชุดในเวลาไลเ่ ล่ียกนั ขอ้ สอบทง้ั สองชุดมีความคล้ายคลึงกัน วดั ในเรื่องเดยี วกันและมีระดับ ความยากง่ายเทา่ ๆ กัน ข้อสอบลักษณะน้ีเรียกว่า ข้อสอบคู่ขนาน ดัชนีความเที่ยงที่ใช้วัดความเท่ากัน คือ ค่าสมั ประสิทธ์ิสหสมั พนั ธข์ องแบบทดสอบทัง้ สองชุด 3. การวัดความคงทภ่ี ายใน (Measure of Internalence) การวัดความคงท่ีภายในจะเป็น การหาค่าความเที่ยงของแบบทดสอบ โดยใช้การทดสอบเพียงครั้งเดียว ซ่ึงคานวณหาค่าดัชนี ความเที่ยงได้หลายวิธี ดงั นี้ 3.1 วิธีแบ่งครึ่ง (Split – half method) วิธีน้ียึดหลักการเช่นเดียวกันกับการใช้ แบบทดสอบคู่ขนาน แต่จัดว่าเปน็ การวดั ความคงท่ีภายใน เพราะว่าการทาการทดสอบเพยี งคร้งั เดียว แล้วแบ่งข้อสอบออกเป็น 2 ส่วน ให้เป็นแบบทดสอบคู่ขนาน วิธีทั่วไปท่ใี ช้กันอยเู่ พยี งแต่แบง่ ขอ้ สอบ ออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนท่ีประกอบด้วยข้อคู่ และส่วนที่ประกอบด้วยข้อค่ี แล้วหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ คู่และขอ้ ค่ี ค่าท่ีไดเ้ ปน็ คา่ ดชั นีความเทยี่ งของแบบทดสอบเพยี งครึ่งฉบบั 3.2 วิธีของคูเดอร์ริชาร์ดสัน (Kuder - Richardson) มี 2 สูตร คือ K-R 20 และ K-R 21 ใช้ในกรณีข้อสอบเป็นขอ้ สอบปรนยั คอื ถูกได้หนึ่ง ผิดได้ศูนย์ สตู ร K-R 21 เป็นสูตรที่งา่ ยต่อ การคานวณ แต่มขี ้อจากัดท่ีว่าค่าดัชนีความเท่ยี งที่ได้จากการคานวณ โดยใชส้ ูตร K-R 21 จะต่ากวา่ ที่ ควรจะเป็น (Underestimate) ตัวอย่างเช่น ถ้าแบบทดสอบประกอบด้วยข้อสอบท่ีมีดัชนีความง่าย ต่างๆกัน และข้อสอบทุกข้อมีดัชนีความง่ายปานกลางคือ 0.5 ดัชนีความเท่ียงของแบบทดสอบท่ี คานวณโดยใช้สูตร K-R 21 จะเท่ากับค่าที่คานวณได้จากสูตร K-R 20 และถ้าแบบทดสอบนั้น ประกอบด้วยข้อสอบท่ีมีดชั นคี วามยากงา่ ยระหว่าง 0.3 ถึง 0.7 ค่าดชั นคี วามเที่ยงของแบบทดสอบท่ี คานวณ โดยใช้สูตร K-R 21 จะต่ากว่าท่ีคานวณได้จาก K-R 20 เล็กน้อย แต่ถ้าแบบทดสอบน้ัน

220 ประกอบด้วยข้อสอบท่ีมีค่าดัชนีความง่ายตั้งแต่ 0-1 ค่าดัชนีความเท่ียงของแบบทดสอบที่คานวณ โดยใช้สูตร K-R 21 จะต่ากวา่ คา่ ท่คี านวณไดจ้ ากสตู ร K-R 20 มาก 3.3 วิธีของครอนบราค (Conbach) ในกรณีท่ีเครื่องมือเป็นแบบทดสอบอัตนัย หรือ แบบสอบถามความคดิ เห็นแบบวัดคุณลักษณะทางจิตวิทยา คือเป็นเคร่ืองมือท่ีไม่ใช่ลักษณะที่ตอบถูก ได้หน่ึง ผิดได้ศูนย์ ไม่สามารถคานวณค่าดัชนคี วามเที่ยงได้โดยวิธีของคเู ดอรร์ ิชาร์ดสนั ควรคานวณค่า ดัชนีความเท่ียง โดยการคานวณสัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha Coefficient) ซ่ึงเสนอแนะโดย ครอนบราค สูตรน้ีพัฒนามาจากสูตร K-R 20 ดังน้ัน ถ้าใช้วิธีของครอนบราคคานวณค่าดัชนี ความเทย่ี งของแบบทดสอบในกรณที ีต่ อบถูกได้หนึ่ง ผิดไดส้ ูงจะเท่ากับท่ีคานวณโดยใช้สูตร K-R 20 2. ความตรงของเคร่ืองมอื นกั วิชาการไดท้ ี่อธิบายความหมายของความตรงไว้ดังนี้ บญุ เรยี ง ขจรศิลป์ (2539, น. 161) ได้ให้ความหมายของความตรงไว้วา่ คือ คุณสมบัติ ของเครื่องมือที่สามารถวัดได้ในสิ่งท่ีต้องการจะวัดตามวัตถุประสงค์ และสถานการณ์ที่กาหนดไว้ เครื่องมือที่มีความตรงตามวัตถุประสงค์หรือจุดมุ่งหมายใดจุดมุ่งหมายหนึ่ง อาจไม่มีความตรงตาม วัตถุประสงค์อื่นๆ สมพร สุทัศนีย์ (2544, น. 143) ได้สรุปความหมายของความตรง จากแนวคิดของ กูลลิคเซน (Gulliksen) ว่า ความตรงเป็นคุณลักษณะท่ีบ่งบอกว่าแบบทดสอบน้ัน วัดในสิ่งที่ต้องการ วัดได้ถกู ตอ้ งแมน่ ยาตามวัตถปุ ระสงค์ท่ีวางไว้ หรอื ความตรงเปน็ ค่าสหสมั พนั ธร์ ะหวา่ งแบบทดสอบกับ เกณฑ์ ถา้ แบบทดสอบที่สร้างข้นึ ไมไ่ ดว้ ัดในสิ่งท่ีต้องการวัด กแ็ สดงว่าแบบทดสอบนั้นขาดความตรง ปนิ่ วดี ธนธานี (2550, น. 51) อธิบายความหมายของความตรงวา่ คือ คุณลกั ษณะของ เครื่องมอื ที่สามารถวัดในสิ่งท่ีต้องการวัดได้ครบถ้วน โดยการพจิ ารณาวา่ เครื่องมอื นน้ั เกบ็ ข้อมลู ได้ตรง ตามจุดประสงค์ หรือตรงตามนยิ ามของปัญหาทตี่ ้องการศึกษา วิธีการพิจารณาวา่ เคร่อื งมือมีความตรง อยู่ในเกณฑใ์ ชไ้ ดห้ รอื ไม่ จากท่ีกล่าวมาสรุปไดว้ า่ ความตรงของเครอื่ งมอื หมายถึง คุณสมบตั ทิ ี่สามารถวัดได้ตรง ตามวตั ถุประสงคท์ ต่ี ้องการวัด ความตรงของเครื่องมือ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ดังน้ี (Anastasi, 1990, p. 140 - 164) 1. ความตรงตามเน้ือหา (Content – Related Validation) ความตรงตามเน้ือหา เกี่ยวพันกับระบบการตรวจสอบเน้ือหาของแบบทดสอบฉบับน้ัน เพ่ือดูว่ามีตัวอย่างของพฤติกรรมท่ี ต้องการวัดอยู่หรือไม่ มักใช้ในการประเมินผลแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ แบบทดสอบประเภทนี้สร้าง

221 ขึ้นมา เพ่ือวัดความสามารถเฉพาะของแต่ละคนและวิชาท่ีศึกษาว่าทาได้ดีเพียงใด ฉะน้ันบางทีอาจ เพียงตรวจดูเนอื้ เรื่องของแบบทดสอบกร็ บั รองความตรงได้ตามความมงุ่ หมาย 2. ความตรงตามเกณฑ์ที่เก่ียวข้อง (Criterion – Related Validation) ความตรงตาม เกณฑ์ท่ีเก่ียวข้อง เปน็ การแสดงถึงผลการใช้แบบทดสอบทานายพฤติกรรมของบุคคลในสภาพการณ์ เฉพาะ เพอ่ื สนองจดุ มงุ่ หมายน้ีจึงตรวจทาการทาแบบทดสอบเทียบกับเกณฑ์ใดเกมหนึง่ แบบทดสอบ อาจจะเทยี บความตรงกับเกณฑห์ ลายๆ เกณฑ์ ที่แบบทดสอบนั้นใช้ได้ ความตรงตามเกณฑ์ท่ีเก่ียวข้อง แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คือ 2.1 ความตรงเชิงทานาย (Predictive Validity) หมายถึง คะแนนจากแบบทดสอบ สามารถทานายพฤติกรรม หรือความสาเร็จในอนาคตได้อย่างถูกต้องแม่นยา วิธกี ารหาความตรงเชิง ทานาย คือ การหาค่าสหสัมพันธ์ระหว่างคะแนนแบบทดสอบกบั คะแนนที่วัดเกณฑ์ ถ้าค่าสหสัมพันธ์ อยใู่ นระดบั สงู แสดงวา่ แบบทดสอบฉบบั น้ันมคี วามตรงเชิงทานายสงู 2.2 ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) หมายถึง คะแนนที่ได้จาก แบบทดสอบมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมบางอย่าง หรือสภาพท่ีแท้จริงในปัจจุบัน โดยอาศัย ความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนของแบบทดสอบกับคะแนนท่ีกาหนดขึ้นในขณะนั้น หรือคะแนนจาก แบบทดสอบกับคะแนนเกณฑ์ท่ีวัดได้ในเวลาเดียวกัน วิธีการหาความตรงตามสภาพ คือ ใช้แบบทดสอบกับกลุ่มท่ีมีลักษณะแตกต่างกัน ถ้าคะแนนที่ได้แตกต่างกันก็แสดงว่าแบบทดสอบน้ัน มคี วามตรงตามสภาพทเ่ี ปน็ จริง 2.3 ความตรงตามทฤษฎี (Construct – Related Validation) หรือที่เรียกว่า ความตรงตามโครงสร้าง หมายถึง แบบทดสอบน้ันสามารถวัดคุณลักษณะบางอย่างตามโครงสร้าง ทฤษฎี คะแนนท่ีได้จากแบบทดสอบ สามารถนาไปตีความอ้างอิงลักษณะบางอย่างของบุคคลตาม ภาวะสันนษิ ฐานหรอื ทางทฤษฎี ซ่ึงเป็นลักษณะทางจติ วิทยาท่มี ีอยใู่ นตวั บุคคลได้ ตวั อย่างแบบประเมนิ ผลมนษุ ยสัมพนั ธ์ของครู การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครูน้ันไม่มีแบบประเมินท่ีใช้เป็นสากล เพราะ คุณลักษณะมนุษยสัมพันธ์เป็นอัตวิสัย ซึ่งยากแก่การประเมิน ในบทนี้จะขอนาเสนอตัวอย่าง แบบประเมินมนษุ ยสมั พันธข์ องครู 4 ฉบับดงั น้ี 1. แบบประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พนั ธ์ของครู โดย จฑุ า บรุ ีภกั ดี แบบประเมินนี้เป็นลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คือ ดีมาก ดี เกือบดี ใช้ได้ และต้องปรบั ปรุง มอี งคป์ ระกอบ 5 ด้าน คือ บุคลิกภาพ วธิ ีการสรา้ งมนษุ ยสมั พนั ธ์กับผู้อนื่ การสรา้ ง

222 มนุษยสัมพันธ์กับลูกศิษย์ การสร้างมนุษยสัมพันธ์กับผู้ปกครอง และการสร้างมนุษยสัมพันธ์ ในห้องเรียน แต่ละด้านมีข้อคาถามจานวน 10 ข้อ ท้ังฉบับมีข้อคาถาม 50 ข้อ (จุฑา บุรีภักดี, 2547, น. 35-37) คาช้แี จง โปรดใส่เคร่อื งหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงตามลักษณะที่เป็นจรงิ กบั ตวั ทา่ น ทุกขอ้ ดีมาก เทา่ กับ 5 คะแนน ดี เทา่ กบั 4 คะแนน เกอื บดี เท่ากบั 3 คะแนน ใชไ้ ด้ เทา่ กบั 2 คะแนน ตอ้ งปรับปรุง เท่ากับ 1 คะแนน ข้อคาถาม 54321 บคุ ลกิ ภาพ 1. การแตง่ กายสภุ าพเรยี บรอ้ ย 2. มีศลิ ปะในการสนทนา วิธพี ดู 3. มคี วามเป็นมติ รกบั บุคคลทั่วไป 4. มองโลกในแง่ดี 5. มคี วามคลอ่ งแคล่ว วอ่ งไว 6. สามารถเขา้ ถึงจิตใจคน 7. มีน้าใจ 8. เปน็ ผมู้ ีคุณธรรม 9. มที ัศนคติท่ีดีต่อผ้อู นื่ 10. ยกย่องและให้เกยี รติผอู้ ื่น วธิ สี รา้ งมนษุ ยสมั พันธ์กับผู้อน่ื 11. เปิดฉากทกั ทายก่อน 12. เขา้ ใจความตอ้ งการของคู่สนทนา 13. ถามทุกข์สุขความเป็นอยู่ 14. ใหค้ วามช่วยเหลืออยา่ งดี 15. รบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ 16. มีความต้งั ใจจรงิ กับผ้อู น่ื 17. รู้นสิ ยั ของผอู้ ืน่ 18. ให้ความสรรเสรญิ 19. รูจ้ ักควบคุมอารมณ์ 20. หลกี เลี่ยงการขดั แย้ง

ขอ้ คาถาม 223 การสรา้ งมนษุ ยสัมพันธก์ ับลกู ศษิ ย์ 54321 21. รักลูกศษิ ย์ และตงั้ ใจสอน 22. รับฟังปัญหา 23. ให้ความสนิทสนม 24. ใหก้ าลงั ใจ 25. ทาตนให้เปน็ ตวั อยา่ งที่ดขี องลกู ศิษย์ 26. ขยนั ดูแลเอาใจใส่ลกู ศษิ ย์ 27. ขยนั อบรมจริยธรรมใหล้ กู ศิษย์ 28. สง่ เสริมให้ศษิ ยม์ คี วามรู้กวา้ งขวาง 29. เป็นผ้มู คี วามเพียร อดทน 30. รหู้ ลกั ประชาธปิ ไตย การสร้างมนษุ ยสมั พนั ธก์ บั ผูป้ กครอง 31. ยมิ้ แยม้ แจ่มใส 32. ให้ความเป็นกนั เอง 33. ยกยอ่ ง ใหเ้ กียรติ 34. ถามทกุ ข์สุขถึงลูก 35. ใหค้ วามช่วยเหลอื 36. ให้ความรว่ มมือในการพฒั นาชมุ ชน 37. ให้ความรบู้ รกิ ารการศึกษา 38. เชญิ ชวนใหม้ าชมกิจกรรมต่างๆ ท่ีโรงเรยี นจัด 39. รบั ฟงั ความคิดเหน็ 40. ประกาศเกยี รติคุณตอ่ ผู้ใหค้ วามชว่ ยเหลือโรงเรยี น การสร้างมนษุ ยสมั พันธใ์ นหอ้ งเรียน 41. ศกึ ษาประวัติของนกั เรยี นแตล่ ะคน 42. เข้าใจความแตกตา่ งของเดก็ 43. ใหค้ วามสนใจแกเ่ ดก็ ยากจน 44. ให้ความสนใจเด็กทีม่ ปี ัญหา และหาทางแก้ไข 45. ปลกู ฝังมนุษยสมั พันธใ์ ห้แกเ่ ด็ก 46. มีวิธีปกครองชน้ั ได้เรียบร้อย

224 54321 ขอ้ คาถาม 47. มีบคุ ลกิ ภาพท่ดี ีทาให้เด็กศรทั ธา 48. มอี ารมณส์ ขุ ภาพดี 49. มีความสัมพันธ์กบั ครอบครวั นักเรยี น 50. มีวธิ กี ารลงโทษที่สอนใหเ้ ด็กมีความรับผิดชอบ เน่ืองจาก จุฑา บุรีภักดี ไม่ได้อธิบายการแปลผลของแบบประเมนิ ฉบบั น้ีไว้ ผเู้ ขียนจึงขอ นาเสนอการแปลผลแบบประเมนิ อย่างง่าย ดงั นี้ การรวมคะแนนให้รวมคะแนนท้ัง 50 ข้อ แล้วหารด้วย 50 จากนั้นนาคะแนนท่ีได้มา เปรยี บเทียบการแปลความหมายต่อไป การแปลความหมายของคะแนน เพ่ือจัดระดับความหมายของมนุษยสัมพันธ์ของครู โดยใชเ้ กณฑเ์ ฉลยี่ ดังน้ี 4.50 - 5.00 หมายถึง ดมี าก 3.50 - 4.49 หมายถึง ดี 2.50 - 3.49 หมายถงึ เกอื บดี 1.50 - 2.49 หมายถึง พอใช้ 1.00 - 1.49 หมายถงึ ต้องปรับปรุงแกไ้ ข 2. แบบประเมนิ ผลมนุษยสมั พนั ธข์ องครู โดย พชั รนิ ทร์ พูลเพ็ชรพนั ธุ์ พชั รินทร์ พูลเพ็ชรพันธ์ุ (2545, น. 180-184) ได้นาเสนอแบบประเมินผลมนุษยสมั พนั ธ์ ทเี่ ป็นลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 4 ระดับ คอื เสมอๆ มากครั้ง บางโอกาส และไม่เคย โดยแบบ ประเมินท้ังฉบบั มขี ้อคาถาม 14 ขอ้ นาเสนอได้ดงั นี้ คาชแ้ี จง โปรดทาเคร่ืองหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ตัวทา่ น เสมอๆ เท่ากับ 3 คะแนน มากครั้ง เท่ากับ 2 คะแนน บางโอกาส เท่ากบั 2 คะแนน ไมเ่ คย เทา่ กับ 0 คะแนน ขอ้ คาถาม 3210 1. ฉนั เขา้ กบั ครูส่วนมากของฉันได้ 2. ฉนั หลกี เล่ียงการวิวาทกบั มารดาของฉนั 3. ฉนั หลีกเลี่ยงการวิวาทกบั พ่ีนอ้ งของฉนั

225 ข้อคาถาม 3210 4. ฉนั ปล่อยตามอารมณเ์ มื่อฉันอารมณเ์ สีย 5. ฉันหลีกเล่ยี งการวิพากษ์วิจารณเ์ พอื่ นฝงู และผู้คุ้นเคยของฉนั 6. บคุ คลทัว่ ไปร่วมงานกับฉัน 7. ฉนั เป็นสมาชกิ อยา่ งน้อยหนงึ่ กล่มุ หรือหน่ึงชุมชน 8. สมาชกิ ในกลุ่มหรือในชมุ ชนยอมรับความคดิ เห็นของฉนั และนาไปใช้ 9. เม่อื ฉนั ทาอะไรกับครอบครัวของฉนั ฉนั มีโอกาสดี 10. เม่อื ฉนั ทางาน ฉันคน้ พบวา่ ฉันสามารถเข้ากับผู้บงั คบั บัญชา ของฉนั ไดอ้ ยา่ งดี 11. เมอ่ื ฉันทางาน ฉันเข้ากบั เพื่อนร่วมงานได้อย่างดี 12. ฉนั ใหก้ ารยอมรับนับถอื แกบ่ คุ คลในโอกาสตา่ งๆ 13. ฉนั ยอมรับความจรงิ ในการกระทาของบุคคลอ่ืนวา่ เป็นเพราะ เหตุผลของเขา 14. ฉันเตม็ ใจยกโทษใหแ้ กผ่ ู้ที่เข้าใจฉันผดิ การแปลผล เม่ือรวมคะแนนทั้งหมดแล้ว นามาเปรียบเทียบคะแนน ดงั น้ี ถ้าคะแนนมากกวา่ 20 คะแนน หมายถึง ท่านมคี วามสมั พันธ์ในสังคมดี ถ้าคะแนนน้อยกว่า 20 คะแนน หมายถงึ ทา่ นต้องปรับปรุงมนษุ ยสัมพนั ธ์ 3. แบบวดั มนษุ ยสัมพันธ์ของครู โดย เจษฎา บญุ มาโฮม เจษฎา บุญมาโฮม (2555, 183 - 185) ได้สร้างแบบวัดมนุษยสัมพันธ์สาหรับครูข้ึน เพ่ือใช้ประเมินระดับสัมพันธภาพของครูในสถานศึกษาและนักศึกษาสาขาครุศาสตร์ โดยแบบวัด มนุษยสมั พันธน์ ี้เป็นลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ด้านสัมพันธภาพ ต่อผู้เรียน ด้านสัมพันธภาพต่อสถานศึกษา และด้านสัมพันธภาพต่อชุมชน รวมจานวน 45 ข้อ มีค่าความเท่ยี งเท่ากับ .86 นาเสนอได้ดงั น้ี คาชี้แจง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องทีต่ รงกับความเปน็ จริงและความคดิ เห็นของทา่ น 1 หมายถึง ไม่จริง 2 หมายถงึ คอ่ นขา้ งไม่จริง 3 หมายถงึ ปานกลาง 4 หมายถงึ คอ่ นข้างจริง 5 หมายถงึ จริง

226 ข้อคาถาม 12345 ดา้ นสัมพนั ธภาพตอ่ ผู้เรยี น 1. ฉันเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นวจิ ารณ์การจัดการเรยี นรู้ของฉนั 2. ฉันเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนแสดงความคิดเหน็ ในช้ันเรียน 3. ฉนั เช่อื วา่ ผ้เู รยี นทุกคนมศี กั ยภาพ 4. ฉันเปิดโอกาสให้ผู้เรียนพบปะพูดคุยได้เม่อื มปี ญั หาการเรยี น 5. ผู้เรียนมีความสุข และกระตอื รือร้นเมือ่ เรียนกบั ฉนั 6. ฉนั สนใจทา่ ทขี องผ้เู รียนในโอกาสต่างๆ ทง้ั ในและนอกชน้ั เรียน 7. ฉันยนิ ดีรบั ฟงั ปญั หาและใหค้ าปรกึ ษา เมอื่ ผเู้ รยี นมีปญั หา นอกเหนอื จากปญั หาการเรียน 8. เม่อื ผเู้ รยี นสงสยั เก่ยี วกับคะแนนและผลการเรียน ฉนั ยินดีอธิบายให้ ผเู้ รยี นหายสงสยั 9. ฉันมวี ธิ ีการให้กาลังใจผู้เรียนในโอกาสตา่ งๆ 10. ฉันสามารถดแู ลพฤตกิ รรมผเู้ รยี น และชน้ั เรียนด้วยวธิ ีการสรา้ งสรรค์ 11. เมอื่ ผูเ้ รียนเกิดปัญหามกั จะมาขอคาปรกึ ษาแนะนาจากฉนั 12. ฉันสามารถใชม้ นษุ ยสัมพนั ธเ์ ปล่ียนแปลงพฤติกรรมผู้เรยี น ในทางท่ีดีขึ้น 13. ฉนั สามารถชว่ ยให้ผูเ้ รียนมเี จตคติท่ดี ตี อ่ ตนเอง ผู้อน่ื และการเรียนรู้ 14. ฉันใหค้ วามเปน็ กันเองกบั ผู้เรยี นได้อยา่ งเหมาะสม 15. ผเู้ รียนรู้สกึ อบอ่นุ และปลอดภยั เมอ่ื อยูใ่ กล้ชิดฉัน ดา้ นสมั พนั ธภาพต่อสถานศกึ ษา 16. ฉันให้เกยี รติและปฏบิ ัติตอ่ ผรู้ ว่ มงานอย่างเสมอภาค 17. ฉันมีความสุขในการทางานกับเพ่อื นร่วมงานทกุ ระดบั 18. ฉนั มคี วามผกู พันกับเพอื่ นร่วมงานและสถานศกึ ษา 19. ฉันยินดรี ับฟังความคิดเห็นของบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 20. ฉันยนิ ดใี ห้ความรว่ มมอื ในการทางานกบั บุคลากรในสถานศกึ ษา 21. ฉันมกั ไดร้ บั เลอื กให้เป็นผ้ปู ระสานงานในภารกจิ ต่างๆ ของ สถานศกึ ษา 22. ฉนั สามารถลดความขัดแยง้ ในการปฏบิ ตั งิ านของบุคลากร ในสถานศกึ ษา

227 ขอ้ คาถาม 12345 23. ฉันเป็นมิตรและจริงใจกับบคุ ลากรในสถานศกึ ษา 24. เมอ่ื เกิดปัญหากบั เพื่อนรว่ มงาน ฉันสามารถควบคมุ และจดั การกบั อารมณต์ นเองได้ 25. ฉันสามารถคลี่คลายบรรยากาศท่ไี ม่เอื้อตอ่ การปฏบิ ัตงิ าน ในสถานศึกษา 26. ฉันเป็นคนเอาใจเขามาใส่ใจเราในการปฏบิ ัตงิ าน 27. ฉันมีเจตคตทิ ่ดี ตี ่อบคุ ลากรในสถานศึกษา 28. ฉนั สามารถชนื่ ชมและตเิ ตียนบุคลากรในสถานศึกษา ไดอ้ ย่างเหมาะสม 29. บุคลากรในสถานศึกษารู้สึกอบอนุ่ และไวว้ างใจเมือ่ อยู่รว่ มกับฉนั 30. เมื่อฉันมปี ญั หาทกุ คนยินดใี ห้ความรว่ มมอื ด้านสัมพนั ธภาพต่อชุมชน 31. ฉนั มกั ได้รับเลือกเป็นตวั แทนเพ่ือประชาสมั พันธ์กจิ กรรมข่าวสาร ตา่ งๆ ของสถานศึกษาต่อชมุ ชน 32. ฉนั มักได้รับมอบหมายให้เปน็ กรรมการรับผิดชอบชุมชน 33. ฉนั ยอมรับและมคี วามรสู้ ึกท่ดี ีต่อวถิ ีชีวติ ของชุมชน 34. ฉันให้เกยี รตแิ ละปฏบิ ัตติ นต่อบุคคลในชุมชนอยา่ งเปน็ กัลยาณมติ ร 35. ฉันยนิ ดใี หค้ วามรว่ มมอื ในการพัฒนาชมุ ชน 36. ฉันรบั ฟังความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะต่างๆ ของชุมชนอยา่ งเตม็ ใจ 37. ฉันให้ความเป็นกนั เองกับสมาชิกในชุมชน 38. ฉันมอี ธั ยาศยั ท่ดี ตี อ่ บคุ คลในชุมชน 39. ชุมชนยินดตี ้อนรับฉนั เม่ือฉนั ไปเยอื น 40. ฉนั และสมาชิกในชุมชนร้จู ักมักคนุ้ กนั เป็นอยา่ งดี 41. ฉนั มคี วามสุขเมื่อเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน 42. ผู้ปกครองกลา้ มาพบฉนั เพอื่ ขอคาแนะนาปรึกษาในเรือ่ งต่างๆ ของ บุตรหลาน 43. สมาชิกในชุมชนมักมาขอความร่วมมือรว่ มใจจากฉัน ในการปฏิบตั ิ กิจกรรม

228 12345 ข้อคาถาม 44. ชุมชนให้ความรว่ มมือในการปอ้ งกนั แกไ้ ข และพัฒนาผูเ้ รียน เม่ือฉนั ขอความร่วมมอื 45. ชมุ ชนให้ความร่วมมอื ในการดาเนนิ การกจิ กรรมต่างๆ ของ สถานศึกษา เมือ่ ฉันขอความร่วมมอื การแปลผล ใหร้ วมคะแนนในแต่ละด้าน แลว้ นามาเปรยี บเทียบคะแนน ดังน้ี ต่ากว่า 35 คะแนน หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรุงพฤตกิ รรม เพ่อื พฒั นาระดบั สมั พนั ธภาพ ใหด้ ีขน้ึ 36 - 60 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมอย่ใู นเกณฑ์เฉลี่ย ระดบั สมั พนั ธภาพอยูใ่ น ระดบั ดี 61 - 75 คะแนน หมายถึง พฤตกิ รรมบง่ ชีร้ ะดบั สมั พนั ธภาพในระดับสงู จากน้ันให้รวมคะแนนทง้ั หมดนามาเปรียบเทยี บคะแนน ดงั น้ี ตา่ กว่า 139 คะแนน หมายถึง มนษุ ยสมั พนั ธส์ าหรับครูอยูใ่ นระดบั ต่า 140 - 189 คะแนน หมายถงึ มนุษยสมั พันธ์สาหรบั ครูอย่ใู นระดบั ปานกลาง 190 - 225 คะแนน หมายถงึ มนษุ ยสัมพันธ์สาหรับครอู ยู่ในระดับสูง 4. แบบประเมนิ ผลมนษุ ยสมั พันธ์ โดย กลุ วดี ตัวตน กุลวดี ตัวตน (2542, น. 25-28) ได้แปลแบบประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของเวอร์นอน โคลแมน ซง่ึ เป็นแบบประเมินแบบไม่เป็นทางการ (มาตรฐาน) แบบประเมนิ นี้เป็นการรายงานตนเอง ในลักษณะเลอื กตอบใช่และไมใ่ ช่ ทง้ั ฉบับมีข้อคาถาม 25 ขอ้ คาชแี้ จง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องทต่ี รงกับตวั ท่าน ข้อคาถาม ใช่ ไม่ใช่ 1. คณุ มักจะพยายามปรบั ตัวเองใหเ้ ขา้ กับคนที่คณุ ไมช่ อบหนา้ 2. คุณช่ืนชอบสถานท่ตี ากอากาศท่ีเจีย๊ วจา๊ ว วนุ่ วายมากกว่าสถานที่เงียบสงบ เปน็ ส่วนตวั 3. คณุ จะสนกุ สนานกับการไปงานปารต์ ี้ เฮฮา เขา้ ออกตามดสิ โก้หรือผับวัยรุ่นต่างๆ 4. คณุ มกั จะสนทิ สนมกบั คนอ่ืนไดง้ ่าย เมื่อคุณเดินทางท่องเทีย่ วหรือไปพกั ผ่อน วันหยดุ

229 ขอ้ คาถาม ใช่ ไมใ่ ช่ 5. คณุ ร้สู ึกยินดีมีความสุขเสมอที่ได้พบเพ่ือน ถึงแม้วา่ เขาจะมาแวะโดยไม่ได้บอก กล่าวลว่ งหนา้ 6. คณุ เคยพดู คุยกับคนแปลกหนา้ บนรถไฟทีค่ ุณโดยสาร 7. คุณเคยเปน็ เจ้าภาพจดั งานเล้ียงหรอื เชญิ แขกมาทานอาหารเยน็ ท่ีบ้าน 8. คุณมีเพอื่ นมากมายแถมยงั มีคนสนทิ ค้นุ เคยอีกจานวนมาก 9. คุณปรารถนาทจ่ี ะใหย้ ามเยน็ เปน็ เวลาแห่งการพบปะ สังสรรคว์ ุ่นวาย มากกวา่ ท่ี จะเปน็ ช่วงเวลาทเี่ งียบเชยี บและอยอู่ ยา่ งโดดเด่ียว 10. คุณจะสนุกสนานกบั การเล่นเกมตา่ งๆ ตามงานเลี้ยง 11. คุณจะร้จู ักชื่อเล่นของเพ่ือนบา้ นของคุณ 12. โดยปกติแลว้ คณุ ชอบท่จี ะมีส่วนร่วมเลน่ เกม 13. คณุ นยิ มคบหากบั คนมากกวา่ หมกมนุ่ อยู่กบั เครอ่ื งกลต่างๆ 14. คณุ ชอบชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื จนเปน็ นิสยั 15. สมมติวา่ คุณไดร้ ับเชิญไปทานอาหารเย็น ณ สถานท่ีหน่ึง และเจ้าภาพก็เชญิ ชิม กับขา้ วอย่างหน่ึง คณุ คิดว่าถ้ามนั แย่มากๆคณุ ก็จะชิมมัน 16 คุณจะส่งการด์ วนั ปใี หม่ใหค้ นที่ไม่ชอบหนา้ 17. เคยมีคนเปรยี บคุณว่าเป็น “ศนู ยร์ วมแหง่ ความสนุกสนานทข่ี าดไม่ไดใ้ นงาน” 18. คุณชอบพูดคุยพบปะคนมากหนา้ หลายตา 19. คณุ ยังคงร้สู ึกสบายใจ แม้ว่าคุณเดินเข้าไปในห้องท่ีคณุ แทบไมร่ ้จู ักใครสักคน 20. คุณเปน็ คนชอบเดก็ ๆ 21. คณุ ชอบเขียนจดหมายไปหาเพือ่ นๆ มากกวา่ ที่จะหมนุ โทรศพั ท์ไปคยุ กับพวกเขา 22. คุณเปน็ มิตรกับชาวบา้ นได้ค่อนขา้ งง่าย 23. คุณแกล้งทาเปน็ ไม่ร้ไู มเ่ หน็ ถ้าคณุ เกิดเห็นคนที่คณุ ไม่ชอบหน้ากาลงั เขา้ มา 24. คุณมกั จะมีเพือ่ นมาเย่ยี มเยือนหรือพักค้างจนเต็มบา้ น 25. คุณมักจะคิดเปน็ กงั วลใจว่า พวกเขาจะคดิ อยา่ งไรกับเรา การตรวจให้คะแนนถ้าตอบใช่ให้ 1 คะแนน ถ้าตอบไม่ใช่ให้ 0 คะแนน ยกเว้นข้อ 21 และ 23 ทใ่ี หค้ ะแนนตรงกันข้าม ถ้าคะแนน 16 - 25 หมายถงึ คุณเป็นคนท่ีมีมนุษยสมั พันธ์เยย่ี มยอดคนหนึ่งเลยทเี ดยี ว คุณรกั ผอู้ ่นื และชอบทจ่ี ะไปไหนมาไหนกับพวกเขา และดูเหมือนว่าคณุ จะมีความสขุ ที่สดุ ถ้าคณุ ได้เข้า ไปอยูท่ ่ามกลางฝงู ชน

230 ถ้าคะแนน 8 - 15 หมายถึง คุณสนุกสนานท่ีจะพบปะผู้คน แต่คุณก็ไม่ได้ทาตนผูกติด กับคนอื่น คุณสามารถเดินออกงานเลี้ยงที่กาลังสนุกได้ทุกเมื่อ ความอดทนของคุณมีขีดจากัด และบางครั้งดเู หมอื นว่าคุณจะมคี วามสขุ กับการใช้เวลาพบปะพดู คุยกบั เพ่อื นสนทิ สกั หนงึ่ หรอื สองคน แทนท่จี ะไปร่วมงานเล้ียงอื่นๆ แมบ้ างคร้ังคุณจะต้องอยู่เพียงลาพัง คณุ กส็ ามารถปรบั ตัวเองให้เขา้ กับ สภาพนนั้ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ถ้าคะแนน 0 - 7 หมายถึง คุณเป็นคนที่รักสันโดษ คุณใช้เวลาส่วนใหญ่กับหนังสือ เล่มโปรด หรือไม่ก็น่ังหน้าทีวี หางานเล็กๆ น้อยๆ มาทาอยู่ไม่หยุด คุณไม่ชอบออกไปข้างนอกหรือ สนกุ สนานกบั คนอ่ืนๆ คุณเป็นคนที่พอใจในสงิ่ ทตี่ นเองมีอยู่ และสนกุ สนานกับสง่ิ ท่ีคุณมี ขอ้ ควรระวังในการวัดประเมินผลมนุษยสมั พันธ์ ลักษณะทางจิตวิทยาจะถือว่าเป็นลักษณะแฝงที่ไม่สามารถวัดได้โดยตรง อย่างเช่น ความฉลาด ไม่สามารถวัดได้โดยตรง ไม่เหมือนกับลักษณะทางกายภาพโดยทั่วไป เช่น ความเร็ว นา้ หนัก สว่ นสงู ทสี่ ามารถวัดได้โดยตรง ลักษณะทางจติ วิทยาต้องวดั ผ่านลักษณะพฤตกิ รรมทสี่ ะทอ้ น ใหเ้ หน็ ถึงลักษณะนน้ั เชน่ ลักษณะของคนชอบเส่ยี ง อาจจะมตี ัวบ่งช้ีเปน็ ขอ้ คาถามต่างๆ เชน่ ฉนั ชอบ เล่นการพนัน ฉันชอบความท้าทาย ฉันชอบลองส่ิงแปลกใหม่ เป็นต้น ถ้าบุคคลหน่ึงตอบว่ามี พฤตกิ รรมดงั ข้อคาถามในระดับสงู จะมีแนวโนม้ ท่ีจะเปน็ คนชอบเสี่ยง เปน็ ต้น มนุษยสัมพนั ธก์ จ็ ดั เป็น ลักษณะทางจิตวิทยาประเภทหนึ่งท่ีต้องพ่ึงระมัดระวังในการวดั ประเมินผล เนื่องจากมีลักษณะเป็น นามธรรมสงู ปญั หาท่ีมักเกิดขึน้ กับการวัดประเมินผลมนุษยสัมพนั ธ์มีหลายประการ ได้แก่ ความขัดแย้ง ไม่เข้าใจระบบการประเมินมนุษยสัมพนั ธ์ เป็นเหตใุ หว้ ิพากษ์วิจารณ์กระบวนการวัดประเมินดังกล่าว เกิดความแตกแยกทางความคิดและความรู้สึกขึ้น อีกท้ังการสื่อความหมายที่ไม่ชัดเจนและความ คลุมเครือของวัตถุประสงค์และการแปลความหมายระดับสัมพันธภาพจึงเป็นสาเหตุของผลเสียท่ี เกิดขึ้นจากการประเมินมนุษยสัมพันธ์ ดังน้ัน จึงควรพึงระวังในการวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ได้ ดังนี้ 1. หลีกเลีย่ งการตีตราพฤติกรรม เช่น วดั ประเมินแล้วพบว่า มนุษยสัมพันธ์ไม่ดหี รือสังเกต เพยี งเลก็ น้อยแล้วประเมินวา่ บคุ คลนนั้ มนุษยสัมพันธไ์ ม่ดี 2. ควรประเมนิ มนุษยสัมพันธ์หลายๆ สถานการณ์ และหลายวธิ เี พือ่ ใหไ้ ด้ข้อมลู ที่ถูกต้อง 3. หากจะวัดประเมินอย่างเป็นทางการ อาจต้องขออนุญาตบุคคลท่ีได้รับการประเมิน เพ่อื พิทกั ษ์สิทธิ์ความเป็นมนุษย์

231 4. ความสามารถของผู้ประเมินในการวิเคราะห์ ตีความผลการประเมินมีความมากน้อย เพยี งใด 5. ผลการประเมินควรเป็นความลับ เพราะการเปิดเผยข้อมูลผลการประเมิน ไม่ว่าจะเป็น ผ้ทู ม่ี สี ัมพันธภาพสงู หรือต่า อาจส่งผลเสียต่อเจ้าของข้อมูลนน้ั ได้ บทสรุป การวัด หมายถึง การกาหนดตวั เลขหรือปริมาณแก่สิ่งที่ตอ้ งการจะวัด เช่น สว่ นสงู นา้ หนัก คะแนน เพ่ือให้เห็นว่าสิ่งน้ันมีความแตกต่างกันเชิงรูปธรรม ส่วนการประเมินผล หมายถึง กระบวนการตัดสินเก่ียวกับคุณค่าและความสาคัญของสิ่งต่างๆ โดยมีเกณฑ์การประเมินมา เปรียบเทียบ ดังนั้น การวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครู จึงหมายถึง การรวบรวม วิเคราะห์ พฤติกรรมท่ีแสดงออกของครตู ่อผ้อู น่ื ท่เี กยี่ วขอ้ ง วา่ มีมากน้อยเพียงใด และพจิ ารณาใหค้ ณุ คา่ ถึงความ เหมาะสมที่ครูแสดงถึงการสร้างสัมพนั ธภาพกบั ผ้อู ่ืน เพอ่ื ทีจ่ ะใหค้ รูได้รู้จกั ตนเองในดา้ นมนุษยสมั พนั ธ์ ท้งั ข้อดีและขอ้ บกพร่อง เพือ่ หาแนวทางในการพัฒนามนษุ ยสมั พันธใ์ หด้ ขี ึ้น การวัดประเมินผลมนุษย์สัมพันธ์ของครู ทาให้ทราบระดับความสัมพันธ์ในการท่ีครูจะ ปรับปรุงพัฒนาตนเอง ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ครูได้ดี สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อ่ืนได้ เกิดความ เข้มแข็งในสถานศึกษา และมคี วามสุขในการประกอบวิชาชีพครู รวมถงึ นาข้อมูลไปใช้ในการประเมิน ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครู ในการวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของครูต้องมีจุดมุ่งหมาย กาหนดกลมุ่ เปา้ หมายให้ชัดเจน การประเมินควรดาเนินการในลักษณะร่วมกันหลายฝ่าย และประเมิน ในเชงิ สร้างสรรค์ รวมถงึ เครือ่ งมือสาหรับใชใ้ นการประเมนิ จะต้องเช่ือถือได้ รปู แบบการประเมนิ ผลมนุษยสัมพันธ์ของครู มี 2 ประเภท คือ การประเมินผลแบบไมเ่ ป็น ทางการ และการประเมินผลแบบเป็นทางการ โดยวิธีการประเมินผลแบบท่ีใช้เคร่ืองมือ และที่ไม่ใช้ เครอ่ื งมือ ซึ่งเครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวดั ประเมนิ ผลมนษุ ยสัมพันธ์ ประกอบดว้ ย การสงั เกต การสมั ภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การใช้แบบทดสอบ การใช้แบบวัดทางจิตวิทยา และการทาสังคมมิติ สว่ นเคร่ืองมือที่ใช้ในการวดั ทางจิตวิทยา แบ่งออก 2 ลักษณะทสี่ าคญั คือ เครื่องมือที่ใช้แบบทดสอบ (Testing) และเคร่ืองมือที่ไม่ใช้แบบทดสอบ (Non Testing) ซ่ึงลักษณะของแบบทดสอบที่ดี ควรมี ความตรง (Validity) มีความเชื่อมั่น (Reliability) และสามารถนาไปใช้ได้ (Usability) สาหรับ ข้อพึงระวังในการวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ ได้แก่ หลีกเลี่ยงการตีตราพฤติกรรม ประเมิน มนุษยสัมพันธ์หลายๆ สถานการณ์ และหลายวธิ ี ควรขออนุญาตบุคคลท่ีได้รับการประเมนิ ผู้ประเมิน มีความสามารถในการตคี วามผลการประเมนิ และผลการประเมินควรเปน็ ความลบั

232 คาถามท้ายบท จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี โดยอธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ 1. จงเปรยี บเทยี บความแตกต่างของการวดั และการประเมินผล 2. จงอธบิ ายความหมายของการวดั ประเมนิ ผลมนุษยสัมพนั ธ์สาหรับครู 3. จงอธิบายความสาคญั ของการวดั ประเมนิ ผลมนุษยสมั พันธส์ าหรบั ครู 4. จงอธิบายประโยชน์ของการวัดประเมินผลมนษุ ยสมั พนั ธ์สาหรับครู 5. จงยกตัวอยา่ งเครือ่ งมอื การวัดมนษุ ยสมั พนั ธ์ทีไ่ ม่เป็นมาตรฐานมา 1 รายการ 6. หากท่านต้องการวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของผู้เรียนในชั้นเรียนที่รับผิดชอบสอน ทา่ นควรจะดาเนินการอย่างไร ใชเ้ ครอ่ื งมือประเภทใด 7. จงอธิบายเครื่องมือการวดั ประเมนิ ผลมนุษยสมั พนั ธว์ า่ มขี อ้ ดขี ้อจากัดอย่างไร 8. จงอธิบายคุณสมบัติการวดั ทางจติ วทิ ยามาพอสังเขป 9. จงอธิบายข้อควรระมัดระวงั ในการวัดประเมนิ ผลมนุษยสมั พันธ์ 10. หากมีครูคนหนึ่งกล่าวว่า “ครูทุกคนควรวัดประเมินผลมนุษยสัมพันธ์ของผู้เรียน ทกุ สปั ดาห”์ ท่านเห็นด้วยหรือไม่ อย่างไร

233 เอกสารอ้างองิ กุลวดี ตวั ตน, ผู้แปล. (2542). รจู้ กั ตนเอง. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย. จุฑา บรุ ีภกั ด.ี (2547). มนษุ ยสัมพันธ์สำหรบั ครู. (พิมพค์ รงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์สมายพรนิ ต.์ เจษฎา บญุ มาโฮม. (2555). มนษุ ยสมั พันธส์ ำหรับครู. นครปฐม: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม. ชิราพร หนฤู ทธ์ิ. (2548). มนษุ ยสัมพันธ์สำหรบั ครู. นครศรธี รรมราช: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครศรธี รรมราช. บญุ เรยี ง ขจรศลิ ป์. (2539). วธิ ีวิจยั ทำงกำรศกึ ษำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. ป่นิ วดี ธนธานี. (2550). เอกสำรประกอบกำรเรยี นกำรวจิ ยั ทำงกำรศกึ ษำและกำรวจิ ยั เพ่ือพฒั นำ กำรเรียนร.ู้ นครปฐม: กลุ่มวชิ าวัดผลการศึกษา คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ นครปฐม. พัชรินทร์ พูลเพ็ชรพันธ์ุ. (2545). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวิชำมนษุ ยสมั พนั ธส์ ำหรบั ครู. เพชรบรุ ี: คณะครุศาสตร์ สถาบนั ราชภฏั เพชรบุรี. เพ็ญนภา สงั ข์สุวรรณ. (2547). กำรพฒั นำแบบทดสอบวัดคุณธรรมด้ำนมนษุ ยสมั พนั ธ์ของนกั เรยี น ชน้ั ประถมศึกษำปีที่ 6 ในโรงเรยี นสังกัดสำนกั งำนกำรประถมศกึ ษำ จงั หวัดสุรำษฎรธ์ ำนี. วิทยานพิ นธ์การศกึ ษามหาบณั ฑติ สาขาการวัดผลการศกึ ษา บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ทักษิณ. ระพนิ ทร์ โพธ์ศิ รี. (2552). หลักและทฤษฎีกำรวดั และประเมนิ ผลกำรเรยี นรู.้ อุตรดติ ถ:์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏอตุ รดิตถ.์ ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนำนกุ รมศพั ทศ์ ึกษำศำสตรฉ์ บบั รำชบัณฑติ สถำน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน. วารนิ ทร์ สายโอบเอือ้ . (2542). กำรทดสอบทำงจิตวทิ ยำ. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภฏั พระนคร. ศิรชิ ัย กาญจนวาสี. (2539). การเรยี นรู้ของผเู้ รยี นกับการวดั และประเมินผลการศกึ ษา. ใน เอกสำร กำรสอนชดุ วิชำจิตวิทยำและสังคมวิทยำพ้ืนฐำนเพอ่ื กำรวดั และประเมนิ ผลกำรศกึ ษำ หน่วยที่ 1-7. (พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ศิริมา สมั ฤทธ์ิ. (2532). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนุษยสมั พนั ธส์ ำหรบั ครู. อดุ รธานี: ภาควชิ าจติ วทิ ยาและการแนะแนว คณะครุศาสตร์ วทิ ยาลยั ครูอดุ รธาน.ี สนธยา สวัสด.์ิ (2549). เอกสำรประกอบกำรสอนรำยวชิ ำมนษุ ยสัมพนั ธส์ ำหรบั ครู. เชยี งใหม่: คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่. สมพร สทุ ัศนีย์. (2544). กำรทดสอบทำงจิตวทิ ยำ. กรุงเทพฯ: สานกั พมิ พ์จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.

234 สมหวัง พิธยิ านวุ ัฒน์. (2549). “ความรพู้ ้ืนฐานสาหรับการประเมนิ โครงการทางการศกึ ษา” ใน สมหวงั พธิ ิยานวุ ฒั น์. บรรณาธกิ าร รวมบทควำมทำงกำรประเมินโครงกำร. หนา้ 101 -121 พมิ พค์ รั้งท่ี 3. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. อาภสั สรี ไชยคุนา. (2542). กำรสื่อควำมหมำยสำหรับครู. เชียงใหม่: คณะครศุ าสตร์ สถาบันราชภัฏ เชียงใหม่. Anastasi, A. (1990). Psychological Testing. NJ: Prentice Hall. Ebel, R.L. (1990). Educational Measurement. Washington DC: American Council and Education. Mehrens, W.A. & Lehmann, T.J. (1991). Measurement and Evaluation in Education and Psychology. (4th ed.). New York: Holt, Rinehart & Winston. Stufflebeam, D. (2001). Evaluation models. New direction for evaluation, 2001(89), 7 – 98.

บทท่ี 7 มนุษยสัมพนั ธ์ของครูกับการจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรียนรูถ้ ือเป็นบทบาทหนา้ ท่ที ี่สาคญั ของครูทุกคน ดงั นัน้ ครูทุกคนจึงควรใสใ่ จ กับปัจจัยท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้ท่ีดีมีประสิทธิภาพจึงขึ้นอยู่กับครูผู้สอน ที่จะต้องสอนบนพ้ืนฐานของแนวคิดตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ คือ สอนด้วยการเน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยให้ความสาคัญแก่ผู้เรียนให้มากขึ้นด้วยการให้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้คิด ตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ซึ่งครูควรคานึงถึงความ แตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนด้วย รวมถึงการจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย และการจัด บรรยากาศในชั้นเรียนท่ีเต็มไปด้วยความสุข ความอบอุ่น และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน จะเปน็ แรงจูงใจท่ีกระตุ้นให้ผู้เรียนอยากจะเรียนรอู้ ยเู่ สมอ ทง้ั นป้ี ฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผูเ้ รียนก็เป็น ปัจจัยขับเคล่ือนความสาเร็จของการจัดการเรียนรู้เช่นกัน ครูจึงควรให้ความสาคัญต่อการใช้ มนุษยสมั พนั ธใ์ นการจัดการเรียนรูแ้ ละการดูแลผู้เรยี น การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้เปนการตั้งใจกระทาใหเกิดการเรยี นรู การจัดการเรยี นรูทดี่ ียอมทาใหเกิด การเรียนรูท่ีดี ครูผูสอนเปนผูท่ีมบี ทบาทสาคญั ในการทาใหผูเรียนเกิดการเรียนรู ครูผูสอนท่ีสอนอยาง มีหลักการมีความรูและมีทักษะ จะชวยใหผูเรียน เรียนอยางมีความหมายและมีคุณคา โดยเฉพาะ อย่างย่ิงในปจจุบันนี้ กระบวนการเรียนรูมิไดจากัดวาจะตองเกิดขึ้นเฉพาะในหองเรียนเทาน้ัน ดังน้ัน การจัดการเรียนรูหรอื ท่ีเรียกกนั วา การจดั กิจกรรมการเรียนรูจึงเปนส่ิงทสี่ าคัญอยางย่ิงท่ีผูสอนจะตอง เรยี นรูใหเขาใจและนาไปปฏิบตั ิไดอยางถูกตองและสมั ฤทธิ์ผล ความหมายของการจดั การเรยี นรู้ นกั การศกึ ษาหลายทาน ไดใหความหมายของการจัดการเรียนรูในทศั นะตางๆ ดงั นี้ สุมน อมรวิวัฒน (2533, น. 460) อธิบายวา การจดั การเรียนรู คอื สถานการณอยางหน่ึงท่ี มีส่ิงตอไปนี้เกิดข้นึ ไดแก

236 1. มีความสัมพันธและมีปฏิสัมพันธเกิดขึ้นระหวางผูสอนกับผูเรียน ผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับสิ่งแวดลอม และผูสอนกบั ผูเรียนกับสิ่งแวดลอม 2. ความสมั พันธและการมีปฏสิ ัมพันธน้นั กอใหเกิดการเรยี นรูและประสบการณใหม 3. ผูเรยี นสามารถนาประสบการณใหมน้ันไปใชได วิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช (2542, น. 255) กลาววา การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการที่มี ระบบระเบยี บครอบคลุมการดาเนนิ งานตั้งแตการวางแผนการจดั การเรียนรูจนถงึ การประเมินผล อาภรณ์ ใจเท่ียง (2552, น. 2) อธิบายว่า การจัดการเรียนรู้ คือ กระบวนการการ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเปลี่ยนแปลงตามจุดประสงค์ที่กาหนด ซึ่งต้องอาศัยทง้ั ศาสตรแ์ ละศลิ ปข์ องผู้สอน ฮูและดันแคน (Hough & Duncan, 1970, p. 144) อธิบายความหมายของการจัดการ เรียนรู้วา หมายถึง กิจกรรมของบุคคลซ่ึงมีหลักและเหตุผล เปนกิจกรรมที่บุคคลไดใชความรูของ ตนเองอยางสรางสรรคเพื่อสนับสนุนใหผูอ่ืนเกิดการเรียนรูและความผาสุก ดังน้ันการจัดการเรียนรู จงึ เปนกจิ กรรมในแงมุมตางๆ 4 ดาน คือ 1. ดานหลักสูตร (Curriculum) หมายถึง การศึกษาจุดมุงหมายของการศึกษาความเขาใจ ในจุดประสงครายวิชาและการตั้งจุดประสงคการจัดการเรียนรูท่ีชัดเจน ตลอดจนการเลือกเนื้อหาได เหมาะสมสอดคลองกับทองถ่ิน 2. ดานการจัดการเรียนรู (Instruction) หมายถึง การเลอื กวิธีสอนและเทคนิคการจดั การ เรยี นรูท่เี หมาะสม เพ่ือชวยใหผเู รียนบรรลุถึงจุดประสงคการเรยี นรูทว่ี างไว 3. ดานการวัดผล (Measuring) หมายถึง การเลือกวิธีการวัดผลที่เหมาะสมและสามารถ วิเคราะหผลได 4. ดานการประเมินผลการจัดการเรียนรู (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการ ประเมินผลของการจดั การเรียนรูท้งั หมดได ฮิลล (Hills, 1982, p. 266) ใหคาจากัดความของการจัดการเรยี นรูไววา การจัดการเรียนรู คือ กระบวนการใหการศกึ ษาแกผูเรียน ซงึ่ ตองอาศยั ปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน มอร (Moore, 1992, p. 4) ไดใหความหมายของการจัดการเรยี นรูไววา การจัดการเรียนรู้ คือพฤติกรรมของบุคคลหน่ึงที่พยายามชวยใหบุคคลอื่นไดเกิดการพัฒนาตนในทุกดานอยางเต็ม ศกั ยภาพ สมทิ และลินช (Smith & Lynch, 2010 p. 43) ได้อธิบายความหมายของการจัดการเรียนรู้ ไว้ว่า การจัดการเรียนรู้เป็นความสามารถในการออกแบบกลยุทธ์การสอนที่ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุตาม ผลการเรียนรู้

237 จากความหมายของการจัดการเรียนรูที่กลาวมาน้ี จะเห็นไดวาการจัดการเรียนรู มคี วามหมายครอบคลุมทั้งดานวิธกี าร กระบวนการ และตัวบคุ คล ดังน้ัน จงึ อาจสรุปความหมายของ การจัดการเรียนรูไดวา การจัดการเรียนรู คือ กระบวนการปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน เพ่ือที่จะทาใหผูเรยี นเกดิ การเรียนรูตามวตั ถุประสงคของผูสอน ความสาํ คญั ของการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรูเปรียบเสมือนเคร่ืองมือที่สงเสริมใหผูเรียนรักการเรียน ตั้งใจเรียน และ เกิดการเรียนรูข้ึน การเรียนของผูเรียนจะไปสูจุดหมายปลายทาง คือ ความสาเร็จในชีวิตหรือไม เพียงใดน้ัน ยอมขึ้นอยูกับการจดั การเรียนรูท่ีดีของผูสอน หรือผูสอนดวยเชนกัน หากผูสอนรูจักเลอื ก ใชวิธกี ารจัดการเรยี นรูที่ดแี ละเหมาะสมแลว ยอมจะมีผลดีตอการเรียนของผูเรยี น ดังนี้ 1. มคี วามรูและความเขาใจในเน้ือหาวิชา หรือกจิ กรรมท่ีเรยี นรู 2. เกิดทักษะหรือมีความชานาญในเน้ือหาวชิ า หรอื กิจกรรมที่เรียนรู 3. เกิดทศั นคตทิ ่ดี ตี อสง่ิ ที่เรียน 4. สามารถนาความรูท่ีไดไปประยุกตใชในชีวติ ประจาวันได 5. สามารถนาความรูไปศกึ ษาหาความรูเพ่ิมเติมตอไปอกี ได อน่ึง การที่ผูสอนจะสงเสริมใหผูเรียนมีความเจริญงอกงามในทุกๆ ดานทั้งทางดานรางกาย อารมณ์ สังคม และสตปิ ญญานั้น การสงเสริมที่ดีที่สุดก็คือการใหการศึกษา ซ่ึงจากท่ีกลาวมาจะเห็น ไดวาการจัดการเรียนรูเปนสิ่งสาคญั ในการใหการศึกษาแกผเู รยี นเปนอยางมาก ลกั ษณะของการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรยี นรูมลี กั ษณะทเี่ ดนชัดอยู 3 ลกั ษณะ คอื 1. การจัดการเรียนรูเปนกระบวนการปฏสิ ัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรยี น ซ่ึงหมายความวา การจัดการเรียนรูจะเกิดข้ึนไดน้ัน ท้ังผูสอนและผูเรียนตองมีปฏิสัมพันธตอกัน และเปนปฏิสัมพันธที่ เกิดขนึ้ อยางตอเนื่อง เปนไปตามลาดับขน้ั ตอนเพื่อทาใหผเู รยี นเกดิ การเรียนรู 2. การจัดการเรียนรูมีจุดประสงคใหผูเรียนเกิดการเปล่ียนแปลงพฤตกิ รรมตามจุดประสงค ท่ีกาหนดไว โดยการเปลยี่ นแปลงพฤติกรรมน้ีเปนพฤติกรรมท้ัง 3 ดาน ไดแก 2.1 ดานความรูความคิด หรือดานพุทธิพสิ ัย 2.2 ดานทักษะกระบวนการ หรอื ดานทกั ษะพิสัย 2.3 ดานเจตคติหรอื ดานจติ พิสัย

238 3. การจัดการเรียนรูจะบรรลุจุดประสงคไดดี ตองอาศัยทั้งศาสตรและศิลปของผูสอน ซึ่งหมายความวาการจัดการเรียนรูจะบรรลุจุดประสงคไดหรือไมน้ันตองอาศัยความรูความสามารถ ของผูสอนท้ังดานวิชาการ (ศาสตร) ทักษะและเทคนคิ การจดั การเรียนรู (ศิลป) เปนสาคญั จากท่ีกลาวมานี้ สรุปไดวาการจัดการเรียนรูจะเกิดข้ึนไดจะตองมีกระบวนการปฏิสัมพันธ ระหวางผูสอนกบั ผูเรียน มีจดุ ประสงคในการจัดการเรียนรูและการจัดการเรยี นรู จะประสบผลสาเร็จ ไดดผี สู อนตองมีทงั้ ความรูและเทคนคิ การจัดการเรยี นรู องคป์ ระกอบของการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรเู้ กิดขึ้นได้ต้องอาศัยองค์ประกอบหลายด้าน ทุกสิง่ ทุกอย่างทเ่ี ก่ียวข้องกับ การจัดการเรียนรู้ และมสี ว่ นร่วมส่งเสริมใหก้ ารจดั การเรียนร้ปู ระสบผลสาเร็จได้ จดั เป็นองค์ประกอบ ของการเรยี นร้ทู ั้งส้นิ ซึง่ องค์ประกอบของการจัดการเรยี นรู้มดี ังน้ี 1. ผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เกิดข้ึนได้เพราะมีผู้เรียนเป็น เหตุหลัก ผู้เรียนจึงเป็น องค์ประกอบที่มีความสาคัญในการจัดการเรียนร้เู ป็นอยา่ งยิ่ง การเรยี นรู้ของผู้เรยี นแต่ละคนมีความ แตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างเหลา่ นี้มีอิทธิพลต่อการจัดการเรยี นการสอน ความแตกต่างของผู้เรียน ได้แก่ สติปัญญา ผลสัมฤทธ์ิ บุคลิกภาพ ความรู้เดิม สภาพครอบครัวและกลุ่มเพ่ือน ถ้าผู้สอนรู้จัก ผู้เรยี นกจ็ ะสามารถปรับวิธีสอนใหเ้ หมาะกับผู้เรียนได้ และในการพฒั นาหลักสูตรผู้พัฒนาตอ้ งคานึงถึง ความเหมาะสมของหลกั สูตรท่ีมีตอ่ ผู้เรียนในแต่ละวยั และระดับชน้ั เรียน 2. ผู้สอนหรือครู เป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งของการเรียนรู้ท่ีมีความสาคัญ และเป็นผู้มี อทิ ธิพลตอ่ ผู้เรียนเป็นอย่างย่ิง จงึ มีความคาดหวังต่อลักษณะการเป็นครูผู้สอนท่ีดีโดยเสมอมา เพ่ือให้ เป็นตัวอย่างท่ีดีแก่ผู้เรียน เร่ิมต้ังแต่ลักษณะพื้นฐานท่ีครูผู้สอนควรเป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดี โดยมีการ แสดงออกท้ังทางกายและความคิดเห็นท่ีดี เช่น มีเจตคติท่ีดีต่ออาชีพ มีเมตตา มีความยุติธรรม การมีจิตใจหรืออารมณ์ที่ดี ม่ันคง และใจกว้าง เป็นต้น นอกจากนี้ ครูผู้สอนจะต้องมีสมรรถภาพ ในด้านวิชาชีพ ได้แก่ ด้านความรู้ คือ ต้องมีความรู้ในเน้ือหาวิชาที่สอน เข้าใจหลักสูตรเป็นอย่างดี มีความเข้าใจต่อผู้เรียน และมีความรู้ทางทฤษฎีการศึกษา และการวิจัย ด้านความสามารถที่จาเป็น คือ ผู้สอนสามารถจัดประสบการณ์การเรียนร้ไู ด้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน มีทักษะในการถา่ ยทอด ที่ดีมีทักษะและเทคนิคในการจัดการเรียนการสอน และความสามารถในการแก้ปัญ หา (ชเู กียรติ โพธ์มิ ่ัน, 2548, น. 15) 3. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เป็นอีกองค์ประกอบหนึ่งทีส่ าคัญของการจัดการเรยี นรู้ เนอื่ งจาก ในการจัดการเรียนรูแ้ ตล่ ะคร้งั ต้องมเี ป้าหมายหรอื ทิศทางทช่ี ัดเจนและเปน็ หลักที่กระบวนการจดั การ เรียนรู้ต้องยึดไว้อยู่เสมอ การจัดการศึกษาในปัจจุบันยอมรับการจาแนกประเภทจุดประสงค์