นักจดั การ ขยะชมุ ชน
บทน�ำ หนังสือ “นักจัดการขยะชุมชน” เล่มน้ี ได้ถูกเขียนขึ้นจาก ประสบการณ์การท�ำงานด้านขยะมูลฝอยของผม โดยเร่ิมจากการ ท�ำงานร่วมกับ องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองพาน จังหวัดเชียงราย แก้ไขปัญหาขยะท่ีไม่สามารถหาสถานที่ก�ำจัดอย่างถูกวิธีได้ในพ้ืนท่ี กระบวนการลดตั้งแต่ต้นทางจึงได้เร่ิมด�ำเนินกิจกรรมตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน อีกทั้งการท�ำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย อาทิ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, มูลนิธิสถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ, ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), องค์การ บริหารส่วนจังหวัดเชียงราย และอีกหลายๆหน่วยงาน ที่ให้โอกาสผม ได้ร่วมงาน อีกท้ังนักศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ท่ีเป็นทีมงานวิจัย ทดลองหา เทคโนโลยีง่ายๆ เพอ่ื น�ำมาประยกุ ต์ใชก้ บั ชมุ ชน นกั จัดการขยะชุมชน เป็นคู่มือง่ายๆ ทีท่ ุกท่านเมื่ออา่ นจบทา่ นจะ สามารถมองเห็นกระบวนการจัดการขยะ ตั้งแต่ต้นทาง จนถึงปลาย ทาง แถมกลยุทธท์ ีจ่ ะชักชวนให้ทุกคนเข้ามาร่วมจดั การขยะ “มาเรยี ม จะไม่ตายเปล่า” ขยะในทะเลจะไม่เกิดขึ้น หากเราไม่ท�ำให้เกิดขยะ ต้ังแต่ต้นทาง.... ซ่ึงผมหวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือเล่มน้ี จะเป็นหนังสือเล่ม เลก็ ทคี่ อยสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ใหท้ กุ คนลกุ ขนึ้ มาเปน็ นกั จดั การมอื อาชพี ท�ำใหม้ อี ยูใ่ นทกุ ภาคสว่ น ตง้ั แตค่ รัวเรือน กลมุ่ ชมุ ชน องคก์ รปกครอง ส่วนท้องถิ่น รวมไปถึงกลุ่มธุรกิจเพ่ือสังคม มาเปลี่ยนโลก เปล่ียน ประเทศ เปลย่ี นสังคมใหน้ า่ อยู่กนั นะครบั
สาร ับญ 06ขยะ @home พน้ื ฐานความรู้ด้านการจดั การขยะ 12 โลกกลมกับปัญหา จากปญั หาชุมชนส่โู จทย์วจิ ัย 17 พฒั นา Model พฒั นาพ้ืนทต่ี ้นแบบ
22 เก็บกวาดบ้านเรือน จดั การขยะในครัวเรือน 25 เคลือ่ นสูเ่ พือ่ นบ้าน จดั การขยะในกลุ่ม 28 จัดจา้ นในชมุ ชน การจัดการขยะในชมุ ชน 32 ด้นั ดน้ สู่ปลายทาง ขยะปลายทาง ทางเลือกทางรอดสพู่ ลังงาน 36 หนทางความสำ� เรจ็ บทสรปุ
ขยะ @ home พืน้ ฐานความรดู้ ้านการจัดการขยะ ปัญหาด้านมลพิษนับวันย่ิงทวีความรุนแรง มากยง่ิ ขึน้ เน่ืองจากพษิ ของขยะมลู ฝอยไดส้ ่งกลน่ิ รบกวน กระจัดกระจายตามบริเวณต่างๆ ทั้งใน ตวั เมือง และ ชมุ ชน จนเกิดผลกระทบในหลาย กรณี อกี หนงึ่ อยา่ งทกี่ ลา่ วกนั มากในขณะนนี้ นั้ กค็ อื ขยะในทะเล ส่งผลกระทบตอ่ หลากหลายสง่ิ อาทิ ผลกระทบตอ่ สตั ว์ทะเล จะกินพลาสติกโดยเขา้ ใจ ผดิ คดิ วา่ เปน็ อาหาร ขยะดงั กลา่ วจะมผี ลกระทบตอ่ ระบบทางเดินอาหาร รวมทัง้ ท�ำใหส้ ัตว์ขาดอาหาร และอาจถึงตายในทสี่ ดุ กระทบตอ่ ระบบนิเวศและทรัพยากรเกดิ ความสญู เสยี เชน่ การตายของปะการงั เนื่องจากมีอวนจ�ำนวนมากปกคลุมในแนวปะการัง การติดอวนของสัตว์ทะเลจนตายหรือติดเช้ือ และ ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพของคน เชน่ การไดร้ บั บาดเจบ็ จากขยะบรเิ วณชายหาดและขยะทะเลพลาสตกิ ขนาด เลก็ ทสี่ ามารถเขา้ ไปปนเปื้อนในหว่ งโซอ่ าหารทง้ั มนุษย์และสัตวท์ ะเล การจะจัดการได้ต้องรู้จักขยะตั้งแต่ต้นทาง ซ่ึงการเกิดขยะมีจากหลากหลาย โดยเฉพาะ จากบา้ นพกั อาศัย เปน็ ขยะที่เกิดจากกิจกรรมการด�ำรงชีพของคนท่ีอาศัยอยใู่ นบ้านพกั อาศัยหรืออาคาร อพาทเมนท์ ได้แก่ เศษอาหารจากการเตรียมอาหารหรือจากการเหลือใช้ เศษกระดาษ เศษพืชผัก ถงุ พลาสติก ขวดพลาสตกิ ใบไมใ้ บหญา้ ภาชนะหรอื อปุ กรณท์ ่ีชำ� รดุ หรอื เสื่อมคณุ ภาพ เฟอร์นิเจอรเ์ กา่ ท่ีช�ำรุด เศษแก้ว ฯ ยังมีแหล่งก�ำเนิดจากธุรกิจการค้า จากการเกษตร และจากการพักผ่อนหย่อยใจ สว่ นใหญ่ขยะท่ีเกดิ จะเปน็ เศษอาหาร เศษวสั ดุบรรจภุ ณั ฑ์ทัง้ หลาย เชน่ กล่องกระดาษหรือพลาสตกิ ถงุ กระดาษหรอื พลาสติก กระป๋องโลหะต่าง ๆ ขวดแก้วหรอื พลาสตกิ ฯลฯ 6 นกั จดั การขยะชมุ ชน
นักจัดการขยะชุมชน ซึ่งท่ีผ่านมารัฐบาลมีนโยบายในการจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ ซึ่งมอบหมาย ให้กระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจัดท�ำแผนแม่บท การบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศระยะส้ัน (พ.ศ. 2559-2560) และจัดท�ำ แผนปฏิบัติการ “ประเทศไทยไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” ระยะ 1 ปี โดยใช้หลักการ 3Rs คือ การใช้น้อย (Reduce) ใช้ซ�้ำ (Reuse) และน�ำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) มีเป้าหมายเพอ่ื ลดปริมาณการเกิดขยะมูลฝอยในภาพรวมของประเทศให้ลดลงรอ้ ยละ 5 จากอตั ราการ เกิดขยะมูลฝอย ดงั นัน้ กระทรวงมหาดไทย จงึ สัง่ การให้ทกุ จังหวดั แตง่ ตัง้ คณะทำ� งานดา้ นการบรหิ าร จัดการขยะมูลฝอยชุมชน “จังหวัดสะอาด” ในระดับจังหวัด ระดับอ�ำเภอ และระดับองค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถนิ่ ทำ� หน้าทีจ่ ัดท�ำแผนปฏิบตั ิการกำ� หนดนโยบายและทศิ ทางการจดั การขยะในพน้ื ท่ี ส่งเสรมิ ใหท้ กุ ภาคสว่ นเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย ณ แหลง่ กำ� เนดิ มเี ปา้ หมาย คอื ปรมิ าณ ขยะมลู ฝอยชมุ ชนทเี่ ขา้ สรู่ ะบบการกำ� จดั ทปี่ ลายทางลดลงรอ้ ยละ5 เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ปรมิ าณขยะมลู ฝอย ในปี 2559 โดยทกุ ส่วนราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ภาคเอกชน และสถานประกอบการจัดกจิ กรรม ลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย หรอื การนำ� ขยะมลู ฝอยไปใชป้ ระโยชน์ รอ้ ยละ40 ของหมบู่ า้ น/ชมุ ชนในพน้ื ที่ สามารถเปน็ ตน้ แบบการลดและคดั แยกขยะมลู ฝอย ทกุ หมบู่ า้ น/ชมุ ชน จะตอ้ งมี “จดุ รวบรวมขยะมลู ฝอย อนั ตรายชมุ ชน” อยา่ งน้อย 1 จดุ และรอ้ ยละ 70 ของกากอุตสาหกรรมท่เี ปน็ อันตราย และร้อยละ 85 ของมูลฝอยตดิ เชื้อตอ้ งได้รบั การก�ำจัดอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลักวิชาการ
สถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอย จึงจ�ำเป็นต้องใช้ระบบการจัดการที่ถูกต้องเหมาะสม จึง ถือว่าประเด็นการจัดการขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติก็ว่าได้ เพราะเป็นเร่ืองที่ต้องด�ำเนินการเร่ง แก้ไข สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยงรางกูร ตราไว้ ณ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2560 เป็นปที ี่ 2 ในรชั การปัจจบุ ัน หมวด 16 การ ปฏริ ูปประเทศ มาตรา 258 ในขอ้ 1. (ช) ให้มรี ะบบบริหารจัดการทรัพยากรนำ�้ ท่มี ีประสทิ ธภิ าพเป็นธรรม และยง่ั ยนื โดยคาํ นึงถงึ ความตอ้ งการใช้น�้ำในทุกมติ ิ รวมทงั้ ความเปลีย่ นแปลงของสภาพแวดล้อมและ สภาพภูมอิ ากาศประกอบกัน 3.(ช) จัดให้มีระบบจดั การและกาํ จดั ขยะมูลฝอยที่มปี ระสิทธิภาพ เปน็ มิตร ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสามารถนาํ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนด์ า้ นอน่ื ๆ เกย่ี วเนอ่ื งกบั นโยบาย/แผนงาน สนบั สนนุ การจดั การขยะมลู ฝอยของแผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564 ใน ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 การเติบโตทเ่ี ปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ มเพือ่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยนื โดยการจดั ท�ำแผนระดับ ชาติ และแผนการจดั การคณุ ภาพส่ิงแวดล้อม พ.ศ. 2555 -2559 ในยุทธศาสตร์การเตรยี มความพร้อม รบั การเปล่ียนแปลงสภาพอากาศฯ และยทุ ธศาสตร์ การสรา้ งคณุ ภาพส่ิงแวดลอ้ มใหด้ ีกับประชาชนทุก ระดบั แผนการจัดการมลพิษ พ.ศ.2555 –2559 ตลอดจนพระราชบญั ญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 การก�ำหนดอ�ำนาจในการกำ� จดั มูลฝอยในท้องถ่นิ 8 นกั จดั การขยะชุมชน
นักจดั การขยะชุมชน มาตราสำ� คญั กฎหมายฉบบั นไี้ ดบ้ ญั ญตั ิ เรอ่ื ง การกำ� จดั ขยะมลู ฝอย โดยไดใ้ หอ้ ำ� นาจแกร่ าชการสว่ น ทอ้ งถิน่ ในการด�ำเนนิ งานเรื่องขยะมูลฝอย ได้แก่ มาตรา 18 มาตรา 19 และมาตรา 20 ดังนี้ 1) มาตรา 18 การเก็บ ขน หรอื กำ� จัดสง่ิ ปฏกิ ลู หรอื มูลฝอยในเขตราชการส่วนทอ้ งถ่ินใดให้เป็น อำ� นาจของราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ นนั้ ในการดำ� เนนิ การราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ อาจรว่ มกบั หนว่ ยงานของรฐั หรอื ราชการส่วนทอ้ งถน่ิ อน่ื ด�ำเนนิ การภายใตข้ ้อตกลงรว่ มกันกไ็ ด้ แตใ่ นกรณีจ�ำเปน็ เพ่อื ประโยชนส์ าธารณะ โดยสว่ นรวมรฐั มนตรมี อี ำ� นาจออกกฎกระทรวงโดยคำ� แนะนำ� ของคณะกรรมการกำ� หนดหลกั เกณฑว์ ธิ กี าร และเงอ่ื นไขในการดำ� เนนิ การรว่ มกนั ไดใ้ นกรณที ม่ี เี หตอุ นั สมควรราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ อาจมอบใหบ้ คุ คลใด ดำ� เนนิ การแทนภายใตก้ ารควบคมุ ดแู ลของราชการสว่ นทอ้ งถน่ิ หรอื อาจอนญุ าตใหบ้ คุ คลใดเปน็ ผดู้ ำ� เนนิ กจิ การรับทราบการเก็บ ขน หรือกำ� จดั สงิ่ ปฏิกูล หรอื มลู ฝอยตามมาตรา 19 ก็ได้ ซึ่งไมร่ วมถึงการใช้ บังคับกับ การจดั การของเสียอนั ตรายตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยโรงงาน แตใ่ หผ้ ูด้ �ำเนินกิจการโรงงานที่มขี อง เสียอันตราย และผ้ดู ำ� เนนิ กิจการรบั ทราบการเกบ็ ขน หรือก�ำจัดของเสียอนั ตราย แจง้ การดำ� เนนิ กิจการ เปน็ หนังสอื ตอ่ เจา้ พนักงานทอ้ งถ่นิ 2) มาตรา 19 ห้ามมใิ ห้ผูด้ �ำเนนิ กจิ การรับทำ� การเก็บขน หรอื ก�ำจัดส่งิ ปฏิกูล หรอื มูลฝอย โดย ท�ำเป็นธุรกิจหรือโดยได้รับประโยชน์ตอบแทนด้วยการคิดค่าบริการ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากเจ้า พนกั งานท้องถนิ่
3) มาตรา 20 เพ่ือประโยชน์ในการรักษา หรือมีสภาพรกรุงรัง หรือปล่อยปละละเลยให้มี ความสะอาดและการจัดระเบียบในการเก็บขน การทิ้งส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอยในบริเวณท่ีดินของ และก�ำจัดสิ่งปฏิกูล หรือมูลฝอย ให้ราชการส่วน ตน เจา้ ของหรอื ผคู้ รอบครองอาคารมคี วามผดิ ตาม ท้องถิ่นมีอ�ำนาจออกข้อก�ำหนดของท้องถิ่น พระราชบญั ญัตนิ ้ี โดยผ้กู ระทำ� ผิดจะมรี ะวางโทษ ดังต่อไปนี้ ปรบั ไม่เกินสองพันบาทตามมาตรา 54 (1) หา้ มการถา่ ยเททง้ิ หรอื ทำ� ใหม้ ขี นึ้ ในทหี่ รอื 2) มาตรา 13 เจ้าของรถซึ่งใช้บรรทุกสัตว์ ทางสาธารณะซง่ึ สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื มลู ฝอย นอกจากใน กรวด หิน ดนิ เลน ทรายส่ิงปฏกิ ูลมูลฝอย หรอื ทที่ ร่ี าชการส่วนท้องถิ่นไว้ให้ ส่งิ อน่ื ใด ต้องจดั ใหร้ ถนัน้ อยใู่ นสภาพท่ปี ้องกนั มิ ให้มูลสัตว์ หรอื สิ่งดงั กลา่ วตกหล่น รวั่ ไหล ปลวิ (2) กำ� หนดใหม้ ที รี่ องรบั สงิ่ ปฏกิ ลู หรอื มลู ฝอย ฟงุ้ กระจายลงบนถนนในระหวา่ งท่ใี ชร้ ถน้นั รวม ตามท่ี หรือทางสาธารณะ และสถานที่เอกชน ทงั้ ต้องป้องกันมิใหน้ ้�ำมันจากรั่วไหลลงบนถนน ท้องถ่ินและราชการส่วนท้องถ่ินอนุญาตให้เอกชน ดำ� เนินการโดยท�ำเป็นธรุ กจิ 3) มาตรา 18 หา้ มมใิ หผ้ ู้ใดทิง้ วาง หรอื กอง ซากยานยนต์ บนถนน หรือสถานสาธารณะ 2.4.2.2 พระราชบัญญัติรักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง 4) มาตรา 19 ห้ามมิให้ผู้ใดต้ัง วาง หรือ พ.ศ. 2535 กองวัตถุใดๆ บนถนนเว้นแต่เป็นการกระท�ำ ในบริเวณที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นหรือพนักงาน พระราชบัญญัติน้ีเป็นกฎหมายที่ก�ำหนดเร่ือง เจ้าหนา้ ท่ปี ระกาศ ก�ำหนดดว้ ยความเหน็ ชอบของ การรกั ษาความสะอาด และการหา้ มทง้ิ ขยะมลู ฝอย เจา้ พนกั งานจราจร การจัดการมลพิษท่ีเกิดจากกิจกรรมของชุมชน รวมทง้ั การทงิ้ ขยะมลู ฝอย และสงิ่ ปฏกิ ลู ของชมุ ชน 5) มาตรา 23 ห้ามมใิ ห้ผู้ใดเท หรือทิง้ กรวด โดยบังคับใช้ในเขตเทศบาล กรุงเทพมหานคร หนิ ดิน เลน ทราย หรอื เศษวัตถกุ ่อสร้างลงในทาง เมืองพัทยา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น น�้ำ หรอื กองไว้ หรอื กระทำ� ด้วยประการใดๆ ให้ ตามทรี่ ฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทยประกาศ วัตถดุ ังกลา่ วไหลหรือตกในทาง (กอบกลุ รายะนาคร, 2550: 171) มีบทบญั ญตั ทิ ่ี เกย่ี วกบั การจดั การขยะมลู ฝอยและสงิ่ ปฏกิ ลู ไดแ้ ก่ 6) มาตรา 26 ห้ามมใิ หท้ ิ้งสิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรอื เท หรือกองกรวด หิน ดิน เลน ทราย หรอื 1) มาตรา 8 เจ้าของหรือผู้ครอบครอง ส่ิงอ่ืนใด ในบริเวณที่ได้ปลูกหญ้า หรือต้นไม้ อาคาร หรือท่ีดิน ผู้ใดวางกระถางต้นไม้บน ซ่ึงราชการส่วนท้องถ่ิน ราชการส่วนอ่ืน หรือ ทางเท้า หรือปลูกต้นไม้บริเวณภายนอกอาคารที่ รฐั วิสาหกิจ ตนเปน็ เจา้ ของ หรอื ผู้ครอบครอง และปล่อยปละ ละเลยใหต้ น้ ไมเ้ หยี่ วแหง้ หรอื มสี ภาพรกรงุ รงั หรอื 7) มาตรา 31 ห้ามมิให้ผู้ใด บ้วน หรือถ่ม ปล่อยปละละเลยให้มีส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอย ใน นำ้� ลาย เสมหะ บ้วนหมาก สง่ั น�้ำมูก เท หรอื ทงิ้ สง่ิ กระถางต้นไม้ หรือท่ีบริเวณภายนอกของอาคาร ใด ๆ ลงบนถนนหรอื บนพืน้ รถหรอื พื้นเรอื โดยสาร หรือปล่อยปละละเลยให้ต้นไม้ หรือธัญพืชที่ตน ท้ิงส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอยในสถานสาธารณะนอก ปลูกไว้ หรือทข่ี ้นึ เองในทด่ี นิ ของตน ใหเ้ หย่ี วแหง้ ภาชนะหรอื ที่ทรี่ าชการสว่ นทอ้ งถิน่ ได้จดั ไว้ 10 นกั จดั การขยะชุมชน
นกั จดั การขยะชุมชน 8) มาตรา 32 หา้ มมิใหผ้ ู้ใดท้ิงสิง่ ปฏกิ ูล หรอื การปอ้ งกนั และควบคมุ มลพษิ ทเ่ี กดิ จากหรอื มที ม่ี า มูลฝอยลงบนที่สาธารณะ ปล่อยปละละเลยให้มี จาก การปลอ่ ยทง้ิ นำ้� มนั และการทง้ิ เทของเสยี และ ส่ิงปฏิกูล หรือมูลฝอยในที่ดินของตนในสภาพที่ วตั ถอุ น่ื ๆ จากเรอื เดนิ ทะเล เรอื บรรทกุ นำ้� มนั และ ประชาชนอาจเห็นไดจ้ ากท่ีสาธารณะ เรือประเภทอื่น ให้เป็นไปตามกฎหมาย ว่าด้วย การน้ัน และมาตรา 79 ในกรณีที่ไม่มีกฎหมาย 9) มาตรา 33 ห้ามมิให้ผู้ใดเทหรือท้ิง ใดบัญญตั ิไว้โดยเฉพาะ ใหร้ ัฐมนตรีโดยคำ� แนะน�ำ ส่ิงปฏกิ ลู มูลฝอย น้ำ� โสโครก หรือสงิ่ อ่ืนใดลงบน ของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ มีอ�ำนาจออก ถนนหรือในทางน้ำ� กฎกระทรวงก�ำหนดชนิดและประเภทของของเสีย อันตรายที่เกิดจากการผลิต การใช้สารเคมี หรือ 2.4.2.3 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา วตั ถอุ นั ตรายในกระบวนการผลติ ทางอตุ สาหกรรม คณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เกษตรกรรม การสาธารณสุขและกิจการอย่าง อน่ื เป็นกฎหมายที่เก่ียวกับ การคุ้มครอง ส่ิงแวดล้อม และการควบคุมมลพิษ ซึ่งมาตรา นิยามศัพท์ 39แผนปฏิบัติเพื่อการ การคุณภาพสิ่งแวดล้อม ของเสีย (Waste) หมายถงึ มูลฝอย สิ่งปฏกิ ลู ในระดับจังหวัด ที่จะได้รบั การพจิ ารณาจากคณะ นำ้� เสยี อากาศเสยี มวลสาร หรือวตั ถุอัตราอื่นใด กรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติในล�ำดับแรก จะ ซ่ึงถูกปล่อยท้ิงหรือมีท่ีมาจากแหล่งก�ำเนิดมลพิษ ต้องประมาณการเงินงบประมาณแผ่นดินและเงิน รวมทง้ั กาก ตะกอน หรอื สง่ิ ตกคา้ งจากสงิ่ เหลา่ นน้ั กองทุน ส�ำหรับการก่อสร้างหรือด�ำเนินการเพ่ือ ที่อยใู่ นสภาพของแขง็ ของเหลวหรอื ก๊าซ (ค�ำศัพท์ ให้มีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียรวม หรือระบบก�ำจัดของ ด้านสิง่ แวดล้อม,กรมควบคมุ มลพษิ 2556) เสยี รวมตามมาตรา 38 (2) ดว้ ยในกรณที จี่ งั หวดั มูลฝอยชุมชน (Municipal solid waste) ใดยงั ไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะดำ� เนนิ การเพอื่ ใหม้ รี ะบบบำ� บดั หมายถงึ มลู ฝอยทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมตา่ งๆในชมุ ชน น้�ำเสยี รวมหรือระบบกำ� จัดของเสียรวม อาจเสนอ เช่น บา้ นพักอาศัย ธรุ กจิ ร้านค้า สถานประกอบ แผนการส่งเสริมให้เอกชนลงทุนก่อสร้าง และ การ สถานประกอบการ สถานบรกิ าร ตลาดสด ดำ� เนนิ การแทน โดยแผนจะตอ้ งมรี ายละเอยี ดและ สถาบนั ตา่ งๆ รวมทง้ั เศษวสั ดกุ อ่ สรา้ ง ทงั้ นไ้ี มร่ วม ประมาณค่าใช้จ่ายทั้งหมด รวมทั้งกระบวนการ ของเสยี อนั ตรายและมลู ฝอยติดเชื้อ (คำ� ศัพทด์ ้าน และระบบก�ำจัดของเสียรวม ยังมีการกล่าวถึง ส่ิงแวดล้อม, กรมควบคมุ มลพิษ 2556) มลพิษอ่ืนและของเสียอันตรายไว้ในมาตรา 78 การเกบ็ รวบรวม การขนส่ง และการจัด การดว้ ย ประการใดๆ เพือ่ บ�ำบดั และขจดั ขยะมูลฝอยและ ของเสียอ่ืนทอ่ี ยใู่ นสภาพเปน็ ของแขง็ การป้องกนั และควบคุมมลพิษท่ีเกิดจากหรือมีที่มาจากการ ท�ำเหมืองแร่ท้ังบนบกและในทะเล การป้องกัน และควบคุมมลพิษท่ีเกิดจากหรือมีที่มาจากการ ส�ำรวจ และขดุ เจาะน้ำ� มัน ก๊าซธรรมชาตแิ ละสาร ไฮโดรคารบ์ อนทกุ ชนดิ ทง้ั บนบก และในทะเล หรอื
โลกกลม กบั ปญั หา จากปญั หาชุมชนสู่โจทย์วจิ ัย
14 เป้าหมายของแผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ พ.ศ 2559 - 2564 นักจัดการขยะชมุ ชน 1. ขยะมลู ฝอยชมุ ชนไดร้ บั การจดั การอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ไมน่ อ้ ย กว่ารอ้ ยละ 75 ของปรมิ าณ ขยะมูลฝอยที่เกดิ ขึ้น ภายในปี 2564 2. ขยะมูลฝอยตกค้างได้รับการจัดการอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ ร้อยละ 100 ของปริมาณขยะมลู ฝอย ตกคา้ ง ของปี 2558 ภายในปี 2562 3. ของเสียอันตรายชุมชนได้รับการรวบรวม และส่งไปก�ำจัดถูกต้องตาม หลกั วชิ าการ ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 30 ของปรมิ าณของเสียอนั ตรายชมุ ชน ทีเ่ กิด ขน้ึ ภายในปี 2564 4. มูลฝอยติดเช้ือไดร้ ับการจัดการอยา่ งถกู ต้อง ตามหลักวชิ าการ รอ้ ยละ 100 ของปรมิ าณขยะมูลฝอย ติดเช้อื ทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในปี 2563 5. กากอุตสาหกรรมท่ีเป็นอันตรายเข้าสู่ระบบ การจัดการที่ถูกต้อง รอ้ ยละ100 ของปรมิ าณ กากอตุ สาหกรรมทเ่ี ปน็ อนั ตรายทเี่ กดิ ขนึ้ ภายในปี2563 6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการคัดแยก ขยะมูลฝอยและของเสีย อนั ตรายชุมชนที่ตน้ ทาง ไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 ของจ�ำนวนองคก์ รปกครองสว่ น ท้องถิน่ ทวั่ ประเทศภายในปี 2564
นักจดั การขยะชมุ ชน โดยในปี 2555 กรมควบคุมมลพิษสิ่งแวดล้อม ส�ำนักงานทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อมจังหวัดเชียงราย ร่วมกับ สาขาวิศวกรรมโยธาและสิ่งแวดล้อม มหาวทิ ยาลยั ราชมงคลลา้ นนาเชยี งราย ทำ� การสำ� รวจและวเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบของ ขยะมูลฝอยในพ้ืนที่จังหวัดเชียงราย พบว่า องค์ประกอบของขยะมูลฝอยประเภท มูลฝอยเปียกมีปริมาณมากท่ีสดุ คอื มีค่ารอ้ ยละ 49.55 ท่เี หลือถอื เปน็ ขยะประเภท อืน่ ๆ ได้แก่ พลาสติกมปี ริมาณคา่ เฉล่ยี เป็นร้อยละ 16.78 ขยะประเภทแกว้ มคี ่าเฉลี่ย ร้อยละ 9.57 ขยะประเภทไมม้ คี า่ เฉลีย่ รอ้ ยละ 6.74 ขยะประเภทกระดาษมีค่าเฉลี่ย ร้อยละ 6.64 ขยะประเภทเศษผ้ามีค่าเฉล่ียรอ้ ยละ 3.39 ขยะประเภทโลหะมีค่าเฉลีย่ รอ้ ยละ 3.25 ขยะประเภทยาง/หนังมคี ่าเฉลย่ี ร้อยละ 2.3 และขยะประเภทอื่น ๆ มี ค่าเฉล่ียคดิ เป็นร้อยละ 1.78 อกี ทง้ั จากการสำ� รวจข้อมูลของ ทรพั ยากรธรรมชาตจิ งั หวดั เชยี งราย พบว่าในปี 2557 เชยี งรายมีขยะเกิดขน้ึ ประมาณ 435,147 ตนั ตอ่ ปี หรอื คิดเป็น 0.99 กโิ ลกรัมตอ่ คนต่อวัน ซงึ่ มีการคัดแยกเพยี ง 22 % ซง่ึ มีองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ (อปท.) เพยี ง 24 แห่งสง่ ขยะไปก�ำจัดอยา่ งปลอดภัย ส่วนอกี 119 อปท. เททงิ้ ขยะแบบกองหรือเผา โดยไมน่ ำ� มาใช้ประโยชนใ์ นรูปพลังงาน โดยในแผนปฏิบตั กิ ารจดั การขยะมลู ฝอยชมุ ชน องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น เป็นหนว่ ยงานปฏบิ ตั กิ ารในระดบั พืน้ ที่ 1. รว่ มกับจังหวัดจัดท�ำแผนปฏบิ ัตกิ ารเพอ่ื ดำ� เนนิ งานในการจัดการขยะมูลฝอย ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นและจงั หวดั 2. ดำ� เนนิ การกำ� จดั ขยะมลู ฝอยตกคา้ งภายในพน้ื ทใ่ี หห้ มดไป โดยดำ� เนนิ การปดิ และ/หรอื ปรับปรุง ฟืน้ ฟูสถานทกี่ �ำจัดขยะมูลฝอยเดมิ ใหถ้ กู ตอ้ ง 3. ด�ำเนินการลดและคัดแยกขยะมูลฝอยในพนื้ ท่ี และจดั ระบบการเกบ็ รวบรวม ขนส่งขยะมูลฝอยและ ขยะอันตรายชุมชนแบบแยกประเภทเพื่อส่งก�ำจัดอย่าง ถกู ต้องตามหลกั วชิ าการ 4. การรวมกลุ่มพื้นท่ีและจัดต้ังศูนย์ก�ำจัดขยะมูลฝอยรวม โดยใช้เทคโนโลยีท่ี เหมาะสม สง่ เสรมิ ภาคเอกชนลงทุนการจัดการขยะมูลฝอย และไดร้ ับการยอมรบั จากประชาชนในพืน้ ท่ี 5. จัดหาพ้ืนที่ท่ีเหมาะสมเพ่ือรองรับการจัดการขยะมูลฝอยหรือการก�ำจัดขยะ มลู ฝอย 6. ออกข้อบัญญัติท้องถิ่นเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยภายใต้กฎหมายที่ เกี่ยวขอ้ ง ในการคัดแยก เก็บรวบรวม การเก็บขนและกำ� จดั ขยะมลู ฝอย การจดั เกบ็ คา่ ธรรมเนียมการเก็บขนและก�ำจดั ขยะมูลฝอยให้ เหมาะสม เปน็ ต้น
7. จัดต้งั ศูนยแ์ ลกเปลยี่ นเรยี นรู้การจดั การขยะมลู ฝอยชุมชนในระดบั ท้องถ่ิน 8. ติดตามและบังคับใช้กฎหมายกับเอกชนผู้รับจ้างการจัดการขยะมูลฝอย ใหเ้ อกชนดำ� เนนิ การ จดั การขยะมลู ฝอยในพน้ื ทบี่ รกิ ารอยา่ งถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ 9. สนับสนุนการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนที่ โดยการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร และเปิดช่องทางให้ประชาชนสามารถเสนอแนะ ร่วมตัดสิน ใจและร่วมมือในการด�ำเนินโครงการบริหารจัดการ ขยะมูลฝอยและขยะอันตราย ต้ังแตต่ น้ ทาง 10. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนตามระเบียบส�ำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรบั ฟงั ความคดิ เห็น ของประชาชน พ.ศ. 2548 หรือระเบียบ กฎหมายอ่นื ท่เี ก่ียวข้อง (ถ้าม)ี ซ่ึงที่ผ่านมา ซึ่งองค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองพาน ก็ได้เป็นอีกหน่ึงองค์การ ปกครอง ส่วนทอ้ งถ่นิ ทเี่ จอกบั ปัญหาขยะเพราะตอ้ งใช้งบประมาณจำ� นวนมาก ใน การนำ� ขยะไปทงิ้ ที่ อ�ำเภอฮอด จงั หวดั เชียงใหม่ ในปี พ.ศ. 2556 มปี ระชากร 10,951 คน ปรมิ าณขยะ 16,329 กโิ ลกรมั ตอ่ สปั ดาห์ จากจำ� นวนประชากรทมี่ จี ำ� นวนมาก อกี ทง้ั ทางองคก์ าร บรหิ ารสว่ นตำ� บลเมอื งพานยงั ไมม่ พี นื้ ทใี่ นการกำ� จดั ขยะมลู ฝอย ทำ� ให้ ต้องมีการจ้างภาคเอกชนเขา้ มาขนล�ำเลยี ง ขยะมูลฝอยไปกำ� จดั ทจ่ี ังหวัดเชียงใหม่ ทำ� การขนล�ำเลยี งขยะหน่ึงครง้ั ตอ่ สัปดาห์ เดือนละ 4 คร้ัง คิดเป็นเงินครั้งละ 55,000 บาท ทำ� ให้เสยี งบประมาณ ในการจดั การเป็นเงิน 2 ล้านกว่าบาทในปที ผ่ี า่ นมา และ คนในชุมชน ยังขาดความรู้เรื่องการจัดการขยะมูลฝอย และการมีส่วนร่วมท่ีดี จึง ท�ำให้มีปัญหาขยะมูลฝอยเกิดข้ึน หลายฝ่ายที่เก่ียวข้องพยายาม หามาตรการเพื่อ แก้ไขปัญหา ซ่ึงการเร่ิมตันของการด�ำเนินกิจกรรมต่างเกิดข้ึนจากปัญหาไม่มีบ่อ ขยะในพื้นทีต่ ้องจ้างเอกชนนำ� ไปกับจัดในสถานท่กี ำ� จัดขยะในจงั หวัดเชยี งใหมซ่ ง่ึ จะ ตอ้ งเสียงบประมาณเป็นจ�ำนวนมากนับหลายลา้ นบาทต่อปี การวิเคราะห์ปญั หาแบบ SWAT Analysis และ PDCA จงึ ถูกนำ� มาใช้ โดยขอความรว่ มมอื ผูน้ ำ� ชมุ ชนทั้งท้องที่ และท้องถน่ิ ซึง่ ประกอบไปด้วย ผ้บู ริหาร ก�ำนัน ผู้ใหญบ่ ้าน สมาชกิ องคก์ ารบรหิ าร สว่ นตำ� บล อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจำ� หมบู่ า้ น รวมทง้ั เจา้ หนา้ ทข่ี ององคก์ ารบรหิ าร ส่วนต�ำบลทุกคน รวมถงึ หนว่ ยงานภาคการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ลา้ นนา เชยี งราย เขา้ มาวางแผนกจิ กรรมตา่ งๆ โดยมอบเงนิ สนบั สนนุ กจิ กรรมใหก้ บั ทกุ หมบู่ า้ น หมบู่ า้ นละ15,000 บาท เพอ่ื สรา้ งกจิ กรรมลดปรมิ าณขยะ และมกี ารตรวจ ประเมินหมบู่ ้านเปน็ ระยะๆ โดยผลการดำ� เนนิ การพบว่า จากกอ่ นมีการจดั การขยะ อบต.ตอ้ งสญู เสยี งบประมาณมากกวา่ เดอื นละ สองแสนบาท ในการกำ� จดั ขยะมลู ฝอย 16 นกั จดั การขยะชุมชน
นักจัดการขยะชมุ ชน พฒั นา Model พัฒนาพืน้ ทีต่ ้นแบบ
ปญั หาการจดั การขยะมลู ฝอยเปน็ อกี หนง่ึ ปญั หาทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ หลาย แห่งก�ำลังประสบปัญหาอยู่ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาการเก็บขนไม่หมดขยะมูลฝอยตกค้าง วิธกี ารก�ำจดั อยา่ งถกู วธิ ี ปญั หาเหลา่ นี้เปน็ ปญั หาทส่ี ะสมมานาน และมสี าเหตมุ าจาก ปจั จยั หลายประการ เชน่ การเพม่ิ ขึ้นอยา่ งรวดเร็วของปรมิ าณขยะมลู ฝอย ซึง่ เป็นผล มาจากการเพ่ิมขึน้ ของจ�ำนวนประชากร และสภาพทางเศรษฐกจิ ที่ดีขึน้ เมืองพานนา่ อยู่ เชดิ ชคู ณุ ธรรม นอ้ มน�ำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง องค์การบริหารส่วนต�ำบลเมืองพาน อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย เป็น อีกหน่ึงพ้ืนท่ีท่ีท�ำงานด้านการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างจริงจังจนสามารถขึ้นมา เป็นชุมชนต้นแบบด้านการบริหารจัดการขยะในระดับประเทศได้ ซึ่งการเริ่มตันของ การด�ำเนินกิจกรรมต่างเกิดขึ้นจากปัญหาไม่มีบ่อขยะในพ้ืนท่ีต้องจ้างเอกชนน�ำไปกับ จัดในสถานที่ก�ำจัดขยะในจังหวัดเชียงใหม่ซึ่งจะต้องเสียงบประมาณเป็นจ�ำนวนมาก นับหลายล้านบาทตอ่ ปี การวิเคราะหป์ ัญหาแบบ SWAT Analysis จึงถกู น�ำมันใช้ โดย ขอความร่วมมือผู้น�ำชุมชนทั้งท้องท่ีและท้องถ่ิน ซึ่งประกอบไปด้วย ผู้บริหาร ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิกองค์การบริหารส่วนต�ำบล อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�ำหมู่บ้าน รวมทงั้ เจ้าหนา้ ท่ขี ององคก์ ารบริหารส่วนต�ำบลทุกคน รวมถึงหนว่ ยงานภาคการศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย เข้ามาวางแผนกิจกรรมตา่ งๆ โดย มอบเงนิ สนบั สนนุ กจิ กรรมใหก้ บั ทกุ หมบู่ า้ น หมบู่ า้ นละ 15,000 บาท เพอื่ สรา้ งกจิ กรรม ลดปรมิ าณขยะ และมกี ารตรวจประเมนิ หมู่บ้านเป็นระยะๆ โดยผลการดำ� เนินการพบ ว่า จากกอ่ นมกี ารจัดการขยะ อบต.ตอ้ งสูญเสยี งบประมาณมากกว่าเดอื นละ สองแสน บาท ในการกำ� จดั ขยะมลู ฝอย ซง่ึ ในปจั จบุ นั เสยี งบประมาณเพยี งเดอื นละประมาณหนงึ่ แสนบาท ซง่ึ สามารถลดคา่ ใชจ้ า่ ยไดม้ ากกวา่ รอ้ ยละ50 ซงึ่ หมบู่ า้ นทส่ี ามารถทำ� คะแนน ประเมินอยใู่ นระดับเพชร (มากกว่า 90 คะแนน) จะไดร้ ับเงนิ อดุ หนนุ เพอื่ การพฒั นา หม่บู า้ นพิเศษมากกว่างบปรกติ ซึ่งมีชุมชนเดน่ ๆขอยกตวั อย่างบางหมบู่ ้าน รูป วนั แหง่ ความภาคภมู ิใจรบั มอบรางวัลชุมชนปลอดขยะ 18 นกั จดั การขยะชมุ ชน
นกั จดั การขยะชุมชน บา้ นป่ากว๋าว หมทู่ ่ี 9 ขยะเปล่ยี นเป็นบุญเพ่อื สาธารณะประโยชน์ในชุมชน ผนู้ ำ� ชมุ ชนมีการรณรงค์ รบั บรจิ าคขยะรไี ซเคลิ เพอ่ื นำ� มาซอ้ื โตะ๊ เกา้ อี้ พดั ลม รวมถงึ ของใชจ้ ำ� เปน็ ทจ่ี ะนำ� มาใชเ้ ปน็ สว่ นกลางของ หมบู่ า้ น เนอ่ื งจากของต่างๆมีอยใู่ นจำ� นวนจ�ำกดั รวมถึงมสี ภาพเก่าและช�ำรดุ ในบางสว่ น ซึง่ กิจกรรมรบั บรจิ าคน้ันจะมีประจำ� ทุกเดือน โดยคณะทำ� งานจิตอาสาของหมบู่ า้ นพร้อมผ้นู �ำชมุ ชนจะใชร้ ถอแี ตน๋ ออก รับบริจาคขยะรีไซเคิลในหมู่บ้าน แล้วน�ำขยะรีไซเคิลมาคัดแยกประเภทขาย แล้วลงบัญชีประจ�ำเดือน ในรอบการดำ� เนินงานอาจจะ 6 – 12 เดอื นจะมีการน�ำเงินไปซื้อ โตะ๊ เก้าอี้ พดั ลม เพื่อน�ำมาถวายกบั พระสงฆ์ แลว้ นำ� มาใชใ้ นศาลาเอนกประสงคข์ องหมบู่ า้ นตอ่ ไป ซง่ึ ปญั หาในการดำ� เนนิ งานของชว่ งปแี รก คอื ชาวบา้ นบางสว่ นไมใ่ หค้ วามรว่ มมอื เมอื่ กจิ กรรมสามารถดำ� เนนิ จนเหน็ เปน็ รปู ธรรมปจั จบุ นั มกี ารเพม่ิ ขึ้นของสมาชกิ อย่างต่อเน่ืองจนครบทกุ หลังคาเรอื นในหมู่บ้าน รูป กิจกรรมขยะเปลย่ี นเป็นบุญเพ่อื สาธารณะประโยชน์ในชมุ ชนบ้านปา่ กว๋าว บ้านป่าส้าน หมู่ 10 หม่บู า้ นนำ� วิถชี ุมชนมาใช้ในการขบั เคล่อื นการจดั การขยะ หมบู่ า้ นพงึ่ พาตนเอง วถิ ีแห่งเกษตรผสมผสาน พัฒนานวตั กรรม ตอ้ งขอยกใหบ้ ้านปา่ สา้ น หมูท่ ่ี 10 ท่ีสามารถนำ� วิถีชุมชนเขา้ มาบริหารจดั การเพ่ือลดปรมิ าณของขยะมลู ฝอยในชมุ ชน การดงึ กลุ่มเยาวชนมาร่วมเปน็ อีกหน่ึงตวั แปร หลักในการรวบรวมขยะรีไซเคิลเพื่อจ�ำหน่าย การพัฒนาผลิตภัณท์ชุมชนโดยน�ำสิ่งเหลือใช้มาพัฒนาสิ่ง ประดิษฐ์ อาทิ กบคอนโด (การเลีย้ งกบในขวดพลาสติกท่เี หลือใช)้ การน�ำเสอื่ น้�ำมนั ทห่ี มดอายกุ ารใช้ งานแล้วมาฆ่าหญา้ เพื่อลดการใชส้ ารเคมี การเลยี้ งไก่ในบ้านเพอ่ื กำ� จดั ขยะอนิ ทรีย์ การสร้างเตาแกลบ ชีวมวลเพ่ือเปน็ แหล่งพลงั งานจากวสั ดุเหลอื ใชใ้ นชุมชน รูป กิจกรรมวิถชี ุมชนขบั เคล่ือนการจดั การขยะ บา้ นปา่ สา้ น
บ้านหนองบวั ใต้ หมทู่ ่ี 20 หมบู่ า้ นนอ้ มน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพ่อื การพฒั นาทยี่ ่งั ยนื ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพยี ง” รากฐานชวี ิตของคนไทยอยา่ งแทจ้ รงิ หมู่บ้านหนองบัวใต้ การพัฒนาชมุ ชนในองค์ รวม การจดั กจิ กรรมสายตรวจเยาวชนเพอ่ื ใหค้ ะแนนบา้ นเรอื นของประชาชน การมอบรางวลั บา้ นตน้ แบบ ใหก้ บั ครวั เรอื นทมี่ คี วามโดดเดน่ ในดา้ นตา่ งๆ การจดั กจิ กรรมการลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ ในชวี ติ ประจำ� วนั การใช้กระต๊ิบเข้าแทนการหอ่ ดว้ ยถุงพลาสตกิ ในงานบุญตา่ งๆของชมุ ชน รปู กจิ กรรมน้อมนำ� ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงเพือ่ การพัฒนาที่ย่งั ยนื บ้านหนองบัวใต้ บ้านป่ากว๋าวทองกวาว หมู่ที่ 25 ความร่วมมือของชุมชนจนปริมาณขยะลดลงอย่างเป็นรูปธรรม ปรมิ าณขยะจาก1096 กโิ ลกรรมตอ่ สปั ดาห์ เหลอื นอ้ ยกวา่ 100 กิโลกรัมต่อสปั ดาห์ นับเป็นบทพิสจู น์ถึง ความสามารถของผู้น�ำในการน�ำพาหมู่บ้านลดปริมาณขยะได้อย่างเป็นรูปธรรม ซึ่งได้แบ่งหัวหน้าหมวด ในการชั่งปริมาณขยะรายครวั เรอื นกอ่ นนำ� ข้นึ รถเก็บขยะของทาง อบต.เมืองพาน การมธี นาคารขยะใน หมู่บ้านปันผลรายปีเป็นเงินรวมถึงเป็นของใช้ในครัวเรือน การสร้างเสวียนเพ่ือรองรับขยะอินทรีย์ การ เลยี้ งไกช่ นเพือ่ จดั จ�ำหนา่ ยและก�ำจดั ขยะอินทรีย์ในครวั เรือน การทำ� นำ้� หมกั จากเศษผักผลไมเ้ พอ่ื ใชเ้ ป็น น้�ำยาซกั ล้างในชุมชน การรับบริจาคถุงพลาสตกิ เพอื่ จัดจำ� หน่าย รูป กจิ กรรมความรว่ มมือของชมุ ชน บ้านปา่ กวา๋ วทองกวาว 20 นักจัดการขยะชมุ ชน
นกั จัดการขยะชมุ ชน ชุมชนวัดร้องหลอด โครงการสังฆทานต่อบุญ การถวายสังฆทาน เป็นการท�ำบุญที่คนไทย เช่ือกันว่าเป็นการท�ำทานที่ได้บุญมาก แต่สิ่งของที่ท�ำไปถวายน้ันส่วนมากอาจไม่ได้ถูกน�ำไป ใช้ประโยชน์ ทางวัดร้องหลอด ต�ำบลเมืองพานจึงเริ่มโครงการสังฆทานต่อบุญ โดยร่วมมือกับ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจ�ำต�ำบลเมืองพาน เพยี งเปลีย่ นจากส่ิงของในสงั ฆทานทั่วไปเป็นของใช้ สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง รวมถงึ การนำ� ขยะรไี ซเคลิ มาเปลยี่ นเปน็ สง่ ของใชจ้ ำ� เปน็ สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทยี่ ากไร้ และ รว่ มสรา้ งศนู ย์เก็บอุปกรณช์ ว่ ยเหลือผู้ป่วย เพ่อื ชว่ ยเหลือผู้ป่วยนอกพื้นทต่ี ำ� บลเมืองพานตอ่ ไป รปู โครงการสังฆทานต่อบุญ วัดรอ้ งหลอด
เก็บกวาด บา้ นเรอื น จดั การขยะในครวั เรอื น 22 นกั จัดการขยะชุมชน
นกั จัดการขยะชุมชน หลายคนคงเจอปัญหากับการจัดการขยะใน “คิดก่อนดื่มน�้ำเปล่าบรรจุขวด” น้�ำเปล่า บ้านใช่ไหม เราคงต้องคิดให้มากกว่าเดิมอีกสัก บรรจุขวดหรือเคร่ืองดื่มบรรจุขวดอ่ืนๆ เป็นต้น นดิ วา่ จะจดั การกบั ขยะในบา้ นอยา่ งไรและสามารถ เหตุขยะหลักในหลายๆ ที่ ในประเทศไทยการ ช่วยให้คุณจดั การกบั ขยะได้อย่างเปน็ ระเบยี บมาก ดื่มน้�ำบรรจุขวดน้ันปลอดภัยกว่าการด่ืมน้�ำก๊อก ข้ึนได้ การวางแผนอย่างรอบคอบจะท�ำให้คุณ แตเ่ รากส็ ามารถทำ� ใหน้ ำ้� กอ๊ กสะอาดขน้ึ ไดโ้ ดยการ สามารถประหยัดเงินและสร้างผลกระทบต่อสิ่ง ใช้เครื่องกรองน้�ำและกรอกใส่ขวดติดตัวไปด้วย แวดล้อมน้อยลงได้ ซึ่งวันนเี้ ราจะมาแนะนำ� สาม วธิ นี ี้ทง้ั ประหยัดกว่าและดตี ่อสง่ิ แวดลอ้ มมากกว่า กจิ กรรมคือ คิดกอ่ นซ้อื แยกอินทรีย์ และแยกไว้ (2) แยกอนิ ทรีย์ ขยะอนิ ทรยี ค์ ือส่งิ ทีส่ ามารถ เปน็ ชนิด ย่อยสลายได้ เชน่ เศษอาหาร เศษใบไม้ เศษหญา้ (1) คิดกอ่ นซือ้ ซึ่งปริมาณมากกว่าคร่ึงหน่ึงของขยะที่เราท้ิงกัน ทุกวัน เพียงเราสร้างท่ีหมักปุ๋ย เลือกพื้นท่ีท่ีโดน แดดหรือมีร่มเงาบางส่วนในสวน วิธีสร้างที่หมัก ปุ๋ยของคุณเชน่ “ใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก” มาตรการเล็กๆ นส้ี ามารถลดปริมาณขยะทีค่ ุณนำ� เขา้ บ้านได้อยา่ ง มหาศาล ทุกครัง้ ทจ่ี ะออกไปไหนกพ็ กถงุ ผา้ ติดตัว “เสวยี น” คอกไมไ้ ผข่ ดั รอบต้นไมห้ รอื ในทโ่ี ลง่ ออกไป แทนการรบั ถงุ พลาสติกจากทางร้าน โดย เพื่อให้กองเศษวัสดุอินทรีย์เป็นระเบียบเรียบร้อย เก็บไว้ในท่ีท่ีคุณจะไม่ลืมพกติดตัวไปด้วยเม่ือต้อง มีความโปร่งให้อากาศผ่านเข้าสู่กองเศษวัสดุได้ ซ้อื ของครงั้ ต่อไป สามารถรดน้�ำหรือเพ่ิมน�้ำหมักเพื่อเร่งการย่อย “ซอื้ ของทบี่ รรจหุ บี หอ่ นอ้ ย” ปรกตเิ รามกั จะซอื้ สลาย หากต้องการเติมมูลสัตว์เพ่ือประโยชน์ใน ของทบ่ี รรจอุ ยใู่ นกลอ่ งทหี่ อ่ พลาสตกิ และมหี อ่ แยก การท�ำปุ๋ยไม่ควรท�ำรอบต้นไม้ขนาดเล็กเนื่องจาก แต่ละหนว่ ยข้างในอีกที นี้แหละเรากำ� ลงั สร้างขยะ จะมคี วามร้อนออกมาจากกองปุย๋ หมัก มากกวา่ ทต่ี อ้ งการกไ็ ด้ เพยี งมองหาวธิ ที จี่ ะซอ้ื ของ ทมี่ กี ารบรรจหุ บี ห่อเพียงเลก็ น้อย
“แก้ว” ได้แก่ ขวดแก้วต่างๆ ทั้งที่มีสีใส สนี ำ�้ ตาลและสเี ขียว “กระดาษ” ไดแ้ ก่ กระดาษหนงั สอื พมิ พ์ กลอ่ ง กระดาษ ถุงกระดาษ สมดุ กระดาษส�ำนักงาน หนังสือต่างๆ “โลหะ” ได้แก่ วัสดุหรือเศษเหล็กทุกชนิด กระป๋องอลมู ิเนยี ม ทองแดง ทองเหลือง “พลาสติก” ได้แก่ ขวดนำ�้ พลาสตกิ ใส ขวด น้�ำพลาสติกสขี าวขุ่น ถงุ พลาสตกิ เหนียว ภาชนะ พลาสตกิ ตา่ งๆ(กะละมงั ถงั นำ้� ขวดแชมพ)ู รวม ถึงบรรจภุ ัณฑท์ มี่ ีสัญลักษณ์รไี ซเคลิ “ถังกินน้�ำแกง” หรือจะเรียกว่า กรีนโคน แค่นี้แล้วจะท�ำให้ปริมาณขยะของบ้านเรา (GreenCone) ทีร่ องรับเศษอาหารทำ� โดยนำ� ถังท่ี คว่�ำและผูกติดกับตะกร้าฝังลงไปในติดให้มิดส่วน ลดลง ซึ่งบางทีอาจจะต้องมีตัวเสริมเรื่องแผ่นพับ ที่เป็นตะกร้า ติดตั้งในที่ท่ีแสงแดดส่องถึงความ ราคาขยะของแต่ละประเภท หรือมีคนรับซื้อ(นัก รอ้ นภายในถงั จะชว่ ยเรง่ การยอ่ ยสลายและชว่ ยลด จัดการขยะเชิงพาณชิ ย์)ในพ้ืนท่ี มาชว่ ยรบั ซื้อวัสดุ กลน่ิ จากเศษอาหาร สามารถชว่ ยบำ� รงุ ดนิ บรเิ วณท่ี รีไซเคลิ ทีแ่ ยกตวั แต่ในครวั เรือนตอ่ ไป ติดตง้ั และถา้ มมี ากกว่า 1 จุดสามารถหมกั เศษ อาหารนำ� มาใช้ประโยชนเ์ ปน็ สารบ�ำรงุ ดนิ ได้ (3) แยกเป็นชนิด ขยะรีไซเคลิ เป็นสิ่งทย่ี ังมี ประโยชน์สามารถน�ำไปแปรรูปแล้วกลับมาใช้ใหม่ เช่น กระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ กล่องเครื่อง ดื่มแบบ UHT กระป๋อง ซึ่งมีปรมิ าณประมาณ หนึ่ง ในสาม ของขยะทง้ั หมด แตถ่ ังขยะเขยี ว เหลือง แดง ท่ีเราเห็นไม่ตอบโจทย์การแยกขยะ ลองมา แกป้ ญั หาง่ายๆกบั แยก 4 อยา่ งน้ีสคิ รบั 24 นักจัดการขยะชมุ ชน
นักจัดการขยะชุมชน เคลือ่ นสู่ เพอ่ื นบา้ น จดั การขยะในกลุ่ม เม่ือเราเร่ิมจัดการขยะในครัวเรือนเรียบร้อย แล้ว การส่งต่อขยะจากครัวเรือนไปยังจุดหมาย ปลายทางก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ส�ำคัญ การสร้างกลุ่ม เพอื่ เขา้ มาบรหิ ารจดั การขยะรว่ มกนั กจ็ ะทำ� ใหก้ าร ดำ� เนนิ การตา่ งๆมคี วามเขม็ แขง็ และยงั่ ยนื เหมอื น คำ� สภุ าษติ ไทยทวี่ า่ “รวมกนั เราอย”ู่ นน้ั เอง ซง่ึ การ จดั การขยะในรปู แบบกลมุ่ นจี้ ะสง่ ผลดอี ยา่ งมากใน การจัดการขยะประเภทรีไซเคิล แต่ขยะอินทรีย์ก็ ยงั สามารถจดั การได้ต่อด้วยกจิ กรรมง่ายๆเหลา่ นี้
รีไซเคิลเป็นส่วนหน่ึงสมทบกับเงินก็ได้ “กองทุน ขยะ” ใช้การขอรับบริจาคขยะรีไซเคิลเพ่ือน�ำ รายได้ท่ีเกิดขึ้นมาเป็นกองทุนกลางเพ่ือใช้พัฒนา กลุ่ม น�ำมาซื้อวัสดุอุปกรณ์กลาง เช่น กล่องยา โต๊ะเก้าอี้อเนกประสงค์ ชุดเคร่ืองครัวส�ำหรับจัด กิจกรรม ฯลฯ หรือนำ� มาสมทบโครงการฝกึ อาชพี โดยต้องมีคณะกรรมการบริหารกองทุนอย่าง โปร่งใสตามวตั ถปุ ระสงค์ รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั ลดคา่ ใชจ้ า่ ย “ขยะแลกของใช้ ของกนิ ” นำ� ไขห่ รอื เครอ่ื งอปุ โภคบรโิ ภคทค่ี รวั เรอื น ใช้เป็นประจ�ำมาเป็นแรงจูงใจให้คนคัดแยกขยะ โดยตอ้ งพจิ ารณาถงึ ราคาของทน่ี ำ� มาแลกใหส้ มนำ�้ สมเนอื้ กบั มลู คา่ ของขยะรไี ซเคลิ และควรมกี ารจดั กจิ กรรมอย่างสม่�ำเสมอ รว่ มดว้ ยชว่ ยสรา้ งเงนิ “ธนาคารขยะ” มกี ารรบั ฝากขยะรไี ซเคลิ ใหก้ บั สมาชกิ และมกี ารจดั ทำ� บญั ชี ตัวธนาคารสามารถอยู่ได้จากส่วนต่างท่ีเกิดจาก การคดั แยกขยะเพมิ่ มลู คา่ หรอื สว่ นตา่ งจากรา้ นรบั ซอื้ ของเกา่ โรงเรยี นสามารถเปน็ ศนู ยก์ ลางของการ ท�ำธนาคารขยะ โดยเช่อื มตอ่ กิจกรรมของธนาคาร ขยะเข้ากบั บทเรยี นในช้ันตา่ งๆ เชน่ คณิตศาสตร์ กบั การจดั ท�ำบญั ชี ภาษากับการเรยี กชอ่ื ขยะ ฯลฯ สรา้ งเงนิ “ธนาคารขยะ” มกี ารรบั ฝากขยะรไี ซเคลิ ร่วมด้วยช่วยสร้างบุญ “ผ้าป่าขยะ” ขอรับ ให้กับสมาชิกและมีการจัดท�ำบัญชี ตัวธนาคาร บรจิ าคขยะรไี ซเคลิ เพอ่ื นำ� รายไดท้ เี่ กดิ ขน้ึ ไปทำ� บญุ สามารถอยู่ได้จากส่วนต่างท่ีเกิดจากการคัดแยก ร่วมกนั ควรร่วมดำ� เนินการกบั วัดหรือศาสนสถาน ขยะเพิ่มมูลค่าหรือส่วนต่างจากร้านรับซื้อของเก่า ท่เี ปน็ ศนู ย์รวมทางจติ วิญญาณของกลมุ่ “ขยะเพื่อ โรงเรยี นสามารถเปน็ ศนู ยก์ ลางของการทำ� ธนาคาร สวัสดิการ” เป็นการน�ำมูลค่าของขยะรีไซเคิลมา ขยะ โดยเชอ่ื มต่อกจิ กรรมของธนาคารขยะเขา้ กบั สรา้ งระบบสวสั ดกิ ารของชมุ ชนทสี่ มาชกิ ตอ้ งมกี าร บทเรียนในชัน้ ตา่ งๆ เชน่ คณติ ศาสตร์กบั การจดั สมทบทนุ เปน็ ประจำ� เชน่ เบย้ี ประกนั ยามเจบ็ ปว่ ย ทำ� บญั ชี ภาษากบั การเรยี กชอื่ ขยะ ฯลฯ หรือเบ้ียงานศพ โดยอาจจะก�ำหนดปริมาณขยะ 26 นกั จัดการขยะชุมชน
นักจดั การขยะชมุ ชน รว่ มดว้ ยชว่ ยกนั หาทางออก “เครอ่ื งอดั ถงุ พลาสตกิ ” เปน็ อปุ กรณท์ ส่ี นบั สนนุ การรวมกลมุ่ กนั คดั แยก ถงุ พลาสตกิ เพื่อลดพ้นื ท่ใี นการจัดเก็บ เนอ่ื งจากถุงพลาสติกมีราคาคอ่ นข้างต�ำ่ รายได้ที่เกิดข้นึ จากการ ขายถงุ พลาสตกิ มกั จะเปน็ กองกลางของกลมุ่ ทนี่ ำ� มาสนบั สนนุ กจิ กรรมอน่ื ๆ “กลอ่ งนมหลงั คาเขยี ว” กลอ่ ง นมเปน็ อีกหนึง่ ปัญหาเร่ืองขยะในเกอื บทุกพื้นที่ เพยี งเลือก 1 ใน 3 “..แกะ ล้าง เก็บ..” หรอื “..พบั เล็ก ดึง มมุ บน..” หรอื “..พบั แบน ดงึ มมุ บน..” เพอื่ ความสะดวกตอ่ การจดั เกบ็ ในการขนยา้ ยไปรไี ซเคลิ นนั่ เอง นำ� กลอ่ งไปหย่อนตู้บรจิ าคได้ทีห่ ้างสรรพสนิ คา้ BIG C ใกลบ้ า้ น สาขาท่วั ประเทศ หากใจรอ้ น รวมกลมุ่ แลว้ สง่ ไปที่ ศนู ยร์ ไี ซเคลิ กลอ่ งเครอ่ื งดมื่ โดย บรษิ ทั ไฟเบอรพ์ ฒั น์ จำ� กดั (เขยี นทหี่ นา้ กลอ่ งวา่ “รว่ มโครงการ หลังคาเขียวฯ”) ทอ่ี ยู่ 30/11 หม่ทู ่ี 11 วดั บางเสาธง บางนา-ตราด บางเสาธง สมทุ รปราการ 10570 เศษผักเศษอาหารมที างออก “เล้ียงสตั ว”์ ในกรณีท่ีหม่บู า้ นมีชมุ ชน ร้านอาหาร หรือตลาดสด และ มีเศษอาหารเกดิ ข้ึนเป็นจ�ำนวนมาก สามารถรวบรวมส่งไปยังฟาร์มหมูหรอื บ่อปลาที่จะน�ำเศษอาหารไป ผสมกับหัวเช้อื เปน็ อาหารสตั ว์ได้ “ไส้เดอื น” คัดเลอื กพนั ธ์ไุ ส้เดือนที่กินอาหารเกง่ และโตไว เช่น ขีต้ า แร่ ไทเกอร์ แอฟริกนั ไนท์คลอเลอร์ หรอื ไสเ้ ดอื นสนี ้�ำเงิน เลย้ี งในบอ่ ซีเมนต์ และให้เศษผักเปน็ อาหาร นอกจากตัวไส้เดอื นแล้ว มูลไสเ้ ดอื นเป็นป๋ยุ ช้ันดี และสามารถเกบ็ น้ำ� ชาจากบ่อไสเ้ ดอื นเพ่ือน�ำมาใชเ้ ปน็ ฮอร์โมนและสารไล่แมลงในแปลงการเกษตร
จัดจา้ น ในชุมชน การจัดการขยะในชมุ ชน การจัดการในระดับท่ีสาม จากครัวเรือน มาเป็นกลุ่ม เข้ามาถึงชุมชน แล้วนะครับ ก็คงต้องคิดกันต่อว่า เม่ือคนหลายคนหลายบ้านมาร่วมกันการมี ผู้น�ำ วิทยากร บ้านต้นแบบ แหล่งเรียนรู้ ส�ำหรับคนในชุมชนก็เป็นอีกความ ท้าทาย รวมถึงมีการตรวจเยี่ยมชมบ้านของทุกครัวเรือนในชุมชน เพื่อจะได้ ดำ� เนนิ กจิ กรรมไปในทางเดยี วกนั จนกลายเปน็ ชมุ ชนปลอดขยะตอ่ ไปในอนาคต “ผู้น�ำเข้มแข็ง-วิทยากรชุมชน” ผู้ซ่ึงมีบุคลิกภาพเด่นในสังคมหรือ ในกลุ่มชุมชนในท้องถิ่น เป็นแบบอย่างที่ดี สามารถท�ำให้เกิดความร่วมมือได้ อกี ทงั้ ยงั สามารถเปน็ วทิ ยากรสำ� หรบั ชมุ ชน เพอื่ ใหค้ นในชมุ ชนทำ� ตามได้ อกี ทงั้ ยงั เปน็ วทิ ยากรสำ� หรบั ชมุ ชนอนื่ ๆ เพอ่ื สามารถพฒั นาดา้ นการจดั การขยะตอ่ ไป 28 นกั จดั การขยะชมุ ชน
นกั จดั การขยะชมุ ชน “บ้านต้นแบบ-แหล่งเรียนรู้” เม่ือมีการจัดการขยะในครัวเรือนได้ในระดับดีมากแล้ว อาจจะมไี ม่มากแต่ก็ควรจะยกย่องและเชิดชู ให้คนในชมุ ชน หรอื ผู้ที่เขา้ มาเยี่ยมในชุมชน ไดน้ �ำไปเปน็ แรงบนั ดาลใจ ตามค�ำทว่ี ่า สบิ ปากวา่ ไมเ่ ท่าตาเห็น “สายตรวจขยะ” ให้ อสม.หรือนักเรียนเป็นผู้ตรวจสอบการคัดแยกขยะของ ครัวเรือน โดยท�ำความเขา้ ใจสร้างเกณฑก์ ารประเมิน มาตรฐานการคัดแยกกบั ผตู้ รวจสอบ มีสญั ลกั ษณ์แสดงผลการประเมนิ เชน่ ธงสามสตี ดิ หนา้ บา้ น โดยสเี ขียวแสดงว่าคัดแยกได้ ดี สเี หลอื งแสดงวา่ ยงั ตอ้ งปรบั ปรงุ สแี ดงคอื ยงั ไมไ่ ดค้ ดั แยกตอ้ งปรบั ปรงุ อยา่ งเรง่ ดว่ น และ การตรวจสอบอยา่ งสมำ�่ เสมอจะกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การปรับพฤตกิ รรม
“ตลาดนดั ขยะ” เป็นการกระตุ้นให้เกิดการคัดแยกขยะรไี ซเคลิ ในชุมชน โดยประสาน ใหร้ า้ นรบั ซอ้ื ของเกา่ เขา้ มาจดั กจิ กรรมเปน็ พเิ ศษภายในชมุ ชน มกี ารรบั ซอ้ื ในวนั และเวลาที่ กำ� หนด โดยไม่ต้องมีการเก็บรวบรวมขยะรไี ซเคิลหรือบรหิ ารจัดการรายได้ท่เี กิดข้ึน “การจดั กิจกรรมแบบปลอดขยะ” การจดั กิจกรรมในชุมชน เช่น งานขน้ึ บ้านใหม่ งาน แตง่ งาน งานรนื่ เรงิ หรอื งานศพ มกั จะกอ่ ใหเ้ กดิ ขยะปรมิ าณมาก ชมุ ชนสามารถลดปรมิ าณ ขยะนไี้ ดห้ ากมกี ารจดั หาภาชนะและอปุ กรณท์ น่ี ำ� มาใชซ้ ำ�้ ได้ และขอความรว่ มมอื ใหเ้ จา้ ภาพ ใชช้ ดุ อุปกรณ์เหลา่ น้ี โดยทางชุมชนช่วยในการดำ� เนินการจัดเตรียมและท�ำความสะอาด 30 นักจัดการขยะชมุ ชน
นักจดั การขยะชมุ ชน “นักจัดการขยะจิตสาธารณะ”เครือข่ายผู้ท่ีมีความรู้ในการคัดแยกขยะ โดยจะท�ำ หนา้ ทเ่ี ปน็ เครอื ข่าย ในการเป็นทปี่ รกึ ษาให้ความรู้กับประชาชนในพืน้ ทข่ี องตนเอง ในเรื่อง การคัดแยกขยะอย่างถกู ตอ้ ง “จุดรวบรวมขยะอันตรายส�ำหรับชุมชน” จากแผนแม่บทการจัดการขยะ 2564 ของ เสยี อนั ตรายชมุ ชนไดร้ บั การรวบรวม และสง่ ไปกำ� จดั ถกู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ ไมน่ อ้ ย กวา่ รอ้ ยละ30 ของปรมิ าณของเสยี อนั ตรายชมุ ชน ทเี่ กดิ ขน้ึ ภายในปี2564 เปน็ อกี หนง่ึ กจิ กรรม งา่ ยๆเพือ่ ดึงขยะอันตรายออกจากขยะท่วั ไป
ด้นั ดน้ สู่ปลายทาง การจัดการขยะในชมุ ชน
จากนโยบายทวี่ า่ การจดั การขยะมลู ฝอยทถ่ี กู ตอ้ งตามหลกั วชิ าการ และ ประสทิ ธภิ าพ คอื โจทยท์ ก่ี วา้ งมากส�ำหรบั อปท.ตงั้ แตข่ นาดเลก็ จนถงึ ขนาด ใหญ่ที่จะด�ำเนินให้บรรลุวัตถุประสงค์ ลองมาปรับใช้มาตรการ นโยบาย กลเม็ดลดขยะจนถงึ หานวตั กรรมทางเทคโนโลยมี าเลือกใชใ้ หเ้ หมาะสม กลเม็ดแยกขยะรายวัน “การแยกเก็บขยะตามวัน” การส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะ โดยเฉพาะในชุมชนเมืองที่ครัวเรือนมีข้อจ�ำกัดในการจัดการขยะท่ีคัดแยก ดว้ ยตนเอง สามารถทำ� ไดโ้ ดยการเปลย่ี นระบบการใหบ้ รกิ ารเกบ็ ขน โดยทาง ผู้บริหารต้องเตรียมทางออกส�ำหรับขยะแต่ละประเภทที่เก็บรวบรวมมา โดยเชือ่ มโยงกบั กิจกรรมกลมุ่ มาตรการผลิตมากจา่ ยมาก “ส่วนลดค่าขยะ” ครัวเรือนได้รับส่วนลดจากการคัดแยกขยะอินทรีย์ และ/หรอื ขยะรีไซเคิล ท�ำใหล้ ดความถ่แี ละปรมิ าณการเข้ามาใหบ้ รกิ ารเกบ็ ขนขยะไปกำ� จัดลด “การคิดค่าขยะต่อกิโลกรัม” การคิดค่าธรรมเนียมขยะตามน้�ำหนัก จะชว่ ยกระตนุ้ ใหค้ รวั เรอื นลดปรมิ าณขยะท่นี ำ� มาทิ้งให้เทศบาล อบต.หรือ หมู่บ้านน�ำไปจัดการ ด้วยการคัดแยกขยะอินทรีย์ไปจัดการเอง หรือน�ำ ขยะรีไซเคลิ ไปขาย ท้งั น้ี ควรมีการใหค้ วามรแู้ ละสนบั สนนุ การจดั การขยะ ท่ตี น้ ทางใหก้ ับครัวเรอื นควบคู่ไปด้วย 34 นักจัดการขยะชุมชน
นักจัดการขยะชมุ ชน ขยะส่พู ลงั งาน “กอ้ นเชอื้ เพลงิ ” ขยะสพู่ ลงั งานเปน็ คำ� ทหี่ ลายคนมกั กลา่ วถงึ เมอื่ คดิ ถงึ ขยะ ปลายทางแต่ใช่ว่าทุกพื้นที่จะสามารถมีโรงไฟฟ้าได้ แต่การผลิตก้อนพลังงาน กอ่ นจะนำ� ไปสูก่ อ้ น RDF ทุกพนื้ ทคี่ วรมีเคร่ืองบดย่อยและเครือ่ งอดั แล้วน�ำกอ้ น พลังงานสู่ โรงงานผลิต RDF แล้วน�ำสู่โรงไฟฟ้าและ อุตสาหกรรมท่ีต้องการ พลังงาน ทดแทนการมีบอ่ ฝงั กลบ หรือเตาเผาขยะในพนื้ ท่ี ความส�ำเรจ็ ของ อปท. “รางวัลองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มีการบริหารจัดการที่ดี” การสร้าง แรงจูงใจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพัฒนาการบริหารจัดการตามอ�ำนาจ หนา้ ทข่ี องตนเองใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั การบรหิ ารจดั การบา้ นเมอื งทดี่ ี และสามารถ ตอบสนองต่อความตอ้ งการของประชาชน ซึง่ การจัดการขยะกเ็ ป็นหนง่ึ ส่วนใน การประเมินสว่ นน้ี โดยพิจารณาประสิทธิภาพและผลสมั ฤทธใ์ิ นการดำ� เนินงาน ความพงึ พอใจของประชาชน และโครงการนวัตกรรมท้องถน่ิ
หนทาง ความสำ� เร็จ บทสรุป 36 นกั จดั การขยะชมุ ชน
นักจดั การขยะชุมชน การจัดการขยะ เป็นสิ่งท่ีมีความส�ำคัญและจ�ำเป็นในทุกพื้นที่ เพราะ ขยะเกิดขนึ้ ในทุกพืน้ ท่ี หากไม่มกี ารบรหิ ารจดั การที่ดี จะสง่ ผลกระทบเปน็ วงกวา้ ง นกั จดั การขยะชมุ ชนเปน็ สว่ นหนง่ึ ทสี่ ำ� คญั ยงิ่ ซง่ึ ไดถ้ กู ถอดบทเรยี น มาจากพ้นื ทตี่ น้ แบบ ตา่ งๆ การจดั การดว้ ยอปุ กรณ์ง่ายๆในครวั เรอื น จะ สามารถจัดการขยะต้นทางออกไป ดว้ ย เสวียน ถังกนิ นำ้� แกง แผน่ พับ หาก จะดำ� เนนิ ใหไ้ ดด้ ยี ง่ิ ขน้ึ การดำ� เนนิ เปน็ กลมุ่ จะไดส้ รา้ งความยง่ั ยนื ในของการ จดั การขยะได้ เพราะ “เดินคนเดยี วเดินอาจจะไว แตถ่ ้าเดินไดไ้ กลต้องเดิน เปน็ กลมุ่ ” มกี ลยทุ ธง์ า่ ย ไมว่ า่ จะเปน็ การสรา้ งกลมุ่ เพอ่ื ลดคา่ ใชจ้ า่ ย โดยนำ� ขยะมาแลกของใช้ หรือการสรา้ งกล่มุ เงนิ ออม การเลยี้ งสตั ว์ ซง่ึ กจิ กรรม เหลา่ นจ้ี ะเป็นส่วนทีท่ ำ� ให้ชุมชนน่าอยูไ่ ด้ การจดั การตอ่ ไป ในระดบั ชมุ ชน ตอ้ งเพมิ่ แรงจงู ในเพอ่ื ใหก้ จิ กรรมระดบั ตา่ งๆ มีกระแสการไหลต้ังแต่การจดั การขยะจากในครวั เรือน สกู่ ารจดั การ ขยะแบบกลุ่ม โดยชุมชนต้องมีข้อตกลงร่วมกันของการด�ำเนินกิจกรรม การเชิดชูบุคคลต้นแบบ และน�ำการลดการเกิดขยะไปใช้ในทุกๆกิจกรรม ของของชุมชน อีกทั้งมีการตรวจสอบ ซึ่งจะสามารถท�ำให้เกิดการท�ำงาน ร่วมกันของคนทั้งสามวัย ซ่ึงในส่วนของ อปท.หรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ คงต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสนับสนุนองค์ความรู้แค่เพียงอย่างเดียว มาเสริมกลไกลให้ปรมิ าณขยะลดลง ไมว่ ่าจะเป็นการคิดขยะตามการผลติ ของแต่ละครัวเรือน หรือการแยกเก็บขยะแต่ละประเภทในวันท่ีก�ำหนด ซึง่ จะง่ายตอ่ การจดั การปลายทาง และสดุ ทา้ ยหาเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกบั บรบิ ทของ อปท.และพืน้ ท่ี เพอื่ จดั การขยะปลายทาง เราอยากจะให้โลกใบน้ีเป็นอย่างไร อยู่เราร่วมมือร่วมใจกันทุกคน ทุกภาคส่วน ขยะท่ีเราทุกคนร่วมกันผลิตในวันนี้จะกลายเป็นมรดก ใหล้ กู หลานเราต่อไป มารว่ มกันเปน็ นกั จัดการขยะมืออาชพี กันนะครับ
เอกสารอา้ งองิ กรมควบคุมมลพิษ. (2547). เกณฑม์ าตรฐานและแนวทางการจดั การมลู ฝอยชมุ ชน. พมิ พค์ รัง้ ที่ 6. กระทรวง ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม. มงคลกร ศรวี ชิ ัย และคณะ. (2557). การจัดการขยะมลู ฝอยของชุมชนในเขตพนื้ ที่ องคก์ ารบรหิ าร สว่ นตำ�บลเมอื งพาน อำ�เภอพาน จงั หวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชมุ ชนและ คุณภาพชีวติ . หนา้ 245-254 ปี ที่ 2 ฉบบั ท่ี 3. มงคลกร ศรีวิชยั . (2558). ดูคนพานจัดการขยะ. กรงุ เทพฯ: ล็อคอินดีไซน์เวริ ์ค. มงคลกร ศรีวชิ ัย. (2561). วศิ วกรรมขยะมลู ฝอย ฉบบั ปรบั ปรงุ ครั้งท่ี 1. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา มงคลกร ศรีวิชยั และ กนกทพิย์ อโนราช. (2561). ตามรอยฅนเมอื งพานจดั การขยะ. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา มงคลกร ศรีวิชัย และ กนกทิพย์ อโนราช “ปจั จัยความสำ�เรจ็ ในการบริหารจดั การขยะ องคก์ ารบรหิ ารส่วนตำ�บลเมอื งพาน” โครงการประชุมวชิ าการระดบั ชาตมิ หาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลครั้งท่ี 11 วันท่ี 24 – 26 กรกฎาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมและแสดง สินคา้ นานาชาติ เชียงใหม่ สมพงษ์ หิรญั มาศสุวรรณ. (2555). วิศวกรรมมูลฝอย. [เอกสารประกอบการสอน]. ปทมุ ธาน:ี มหาวทิ ยาลัยรังสติ .ปเนต มโนมัยวิบูลย์, พรรณนิภา ดอกไมง้ าม, พัทธยาพร อ่นุ โรจน์ และมงคลกร ศรวี ชิ ยั (2561). 30 เมนปู ลอดขยะ . เชยี งราย: มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง อัครพงศ์ อน้ั ทอง, ปเนต มโนมัยวบิ ลู ย์ และ มงิ่ สรรพ์ ขาวสะอาด. (2558). โครงสร้างวสิ ัยทัศน์ การขบั เคลื่อนสขุ ภาวะ และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อมในทอ้ งถ่ิน. กรงุ เทพฯ: สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ. 38 นกั จดั การขยะชมุ ชน
นักจัดการขยะชมุ ชน ผเู้ ขยี น ชอ่ื -สกุล ผศ.ดร. มงคลกร ศรวี ชิ ยั ต�ำแหนง่ ปจั จุบนั อาจารย์ประจ�ำสาขาวิศวกรรมโยธาและส่ิงแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชยี งราย e-mail [email protected] โทรศัพทม์ อื ถือ 0813066166 สาขาวชิ าทนี่ ักวิจัยเชย่ี วชาญ การเปลี่ยนแปลงภมู อิ ากาศ, การจดั การภยั ธรรมชาต,ิ การจัดการทรัพยากรน�ำ้ , การจัดการขยะ และ เทคโนโลยีเพอ่ื ชุมชน
กองบรรณาธกิ าร นกั จดั การขยะชุมชน ISBN : 978-974-625-861-6 (Print) ISBN : 978-974-625-862-3 (e-book) ทีป่ รกึ ษา รองศาสตราจารยศ์ ลี ศิริ สงา่ จติ ร ดร.สรุ พล ใจวงศ์ษา ผ้เู ขยี น ผศ.ดร.มงคลกร ศรวี ิชยั กองบรรณาธิการ นายภฤศพงศ ์ เพชรบุล ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ยุทธนา เขาสเุ มรุ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ กรียงไกร ธารพรศรี นายนรศิ ก�ำแพงแก้ว นางสาวเสาวลักษณ์ จนั ทร์พรหม นายพิษณ ุ พรมพราย นายจักรรินทร์ ชน่ื สมบัติ นายเจษฎา สุภาพรเหมินทร์ นางสาวสธุ าสนิ ี ผอู้ ย่สู ุข ว่าท่ี ร.ต.รชั ตพ์ งษ์ หอชยั รตั น์ ว่าที่ ร.ต.เกรียงไกร ศรีประเสริฐ นางสาวรตั นาภรณ ์ สารภี นางสาวอารีรัตน ์ พมิ พน์ วน นางสาวฉตั วณฐั มโนพฤกษ์ นางสาวหนง่ึ ฤทัย แสงใส นางสาวทิน อ่อนนวล นางสาววราภรณ ์ ต้นใส นายวีรวทิ ย์ ณ วรรณมา จดั ทำ� โดย สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสูช่ ุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 98 หมู่ 6 ต�ำบลป่าปอ้ ง อำ� เภอดอยสะเก็ด จงั หวดั เชียงใหม่ 50220 โทรศัพท์ : 0 5326 6516 #1032 , โทรสาร : 0 5326 6522 พิมพ์ที่ บรษิ ัท สยามพิมพ์นานา จ�ำกดั 108 ซอยพงษ์สุวรรณ ต�ำบลศรีภูมิ อำ� เภอเมือง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50200 โทร. 0-5321-6962 40 นกั จดั การขยะชมุ ชน
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: