บทสวด ธรรมวินัยคือศาสดา k สิยา โข ปะนานันทะ ตุม๎หากัง อานนท์ ความคิดอาจมแี ก่พวกเธออย่างนี้ว่า เอวะมัสสะ อะตีตะสัตถุกัง ปาวะจะนัง นัตถิ โน สัตถาติ ธรรมวินัยของพวกเรา มีพระศาสดา ล่วงลับไปแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา ดังนี้ นะ โข ปะเนตัง อานันทะ เอวัง ทัฏฐัพพัง อานนท์ ข้อนี้ พวกเธออย่าคิดดังนั้น โย โว อานันทะ มะยา ธัมโม จะ วินะโย จะ เทสิโต ปัญญัตโต อานนท์ ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ท่ีเราแสดงแล้ว บัญญัติแล้ว แก่พวกเธอทั้งหลาย LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 95
โส โว มะมัจจะเยนะ สัตถา สาธยายธรรม ธรรมวินัยน้ัน จักเป็นศาสดาของพวกเธอทั้งหลาย โดยกาลล่วงไปแห่งเรา -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๗๘/๑๔๑. hhh LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 96
บทสวด พึ่งตนพึ่งธรรม k เย หิ เกจิ อานนั ทะ เอตะระหิ วา มะมจั จะเย วา อานนท์ ในกาลบัดนี้ก็ดี ในกาลล่วงไปแห่งเราก็ดี ใครก็ตาม อัตตะทีปา วิหะริสสันติ อัตตะสะระณา อะนัญญะสะระณา จักต้องมีตนเป็นประทีป มีตนเป็นสรณะ ไม่เอาส่ิงอ่ืนเป็นสรณะ ธัมมะทีปา ธัมมะสะระณา อะนัญญะสะระณา มีธรรมเป็นประทีป มีธรรมเป็นสรณะ ไม่เอาส่ิงอ่ืนเป็นสรณะ เป็นอยู่ LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 97
ตะมะตัคเคเมเต อานันทะ ภิกขุ สาธยายธรรม ภะวิสสันติ เย เกจิ สิกขากามาติ อานนท์ ภกิ ษพุ วกใด เป็นผู้ใคร่ในสกิ ขา ภกิ ษพุ วกนน้ั จกั เปน็ ผอู้ ยใู่ นสถานะอนั เลศิ ทส่ี ดุ แล -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๑๙/๙๓. hhh LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 98
บทสวด ปัจฉิมวาจา k หันทะ ทานิ ภิกขะเว อามันตะยามิ โว ภกิ ษทุ ้งั หลาย บดั น้ี เราขอเตอื นเธอทงั้ หลายว่า วะยะธัมมา สังขารา สงั ขารทง้ั หลายมีความเส่อื มไปเป็นธรรมดา อัปปะมาเทนะ สัมปาเทถะ เธอทง้ั หลาย จงถงึ พรอ้ มดว้ ยความไมป่ ระมาทเถดิ ... -บาลี มหา. ที. ๑๐/๑๘๐/๑๔๓.. hhh LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 99
การเจริญเมตตา สาธยายธรรม k (หรอื การเจริญพรหมวหิ าร ) เธอพึงศึกษาอย่างน้ีว่า จิตของเราจักตั้งม่ัน ด�ำรงอยู่ด้วยดีในภายใน และอกุศลธรรมอันเป็นบาป ท่ีเกิดข้ึนแล้ว จักไม่ครอบง�ำจิตได้ เม่ือใด จิตของเธอ เป็นจิตต้ังมั่น ด�ำรงอยู่ด้วยดีแล้วในภายใน และอกุศล- ธรรมอนั เปน็ บาปทเี่ กดิ ขนึ้ แล้ว ไมค่ รอบง�ำจติ ได้ เมอื่ นน้ั เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า เราจักเจริญ กระท�ำให้มากซ่ึง เมตตาเจโตวมิ ตุ ต,ิ กรณุ าเจโตวมิ ตุ ต,ิ มทุ ติ าเจโตวมิ ตุ ต,ิ อุเบกขาเจโตวิมุตติ ท�ำให้เป็นดุจยาน ท�ำให้เป็นที่ตั้ง ให้ม่ันคง สั่งสม ปรารภดีแล้ว เม่ือเธอพิจารณาเห็นตนบริสุทธิ์ พ้นแล้วจาก อกุศลธรรมอันเป็นบาปที่เกิดข้ึน ปราโมทย์ก็เกิด เม่ือเธอเกิดปราโมทย์แล้ว ปีติก็เกิด เมื่อเธอมีใจ ประกอบด้วยปีตแิ ล้ว กายกส็ งบร�ำงบั ผ้มู กี ายสงบร�ำงบั ย่อมเสวยสุข จิตของผู้มีสุขย่อมต้ังมั่นเป็นสมาธิ LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 100
เธอมีจิตประกอบด้วยเมตตา แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๑ อยู่ แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๒ ก็อย่างน้ัน แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๓ ก็อย่างน้ัน แผ่ไปสู่ทิศที่ ๔ ก็อย่างนั้น และเธอมีจิตประกอบด้วย เมตตา อันกว้างขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปทง้ั เบอื้ งบน เบอ้ื งตำ�่ เบอ้ื งขวาง ทั่วทุกทาง เสมอหน้ากันตลอดโลกท้ังปวงท่ีมีอยู่ มีจิตประกอบด้วยกรุณา แผ่ไปสู่ทิศที่ ๑ อยู่ แผ่ไปสู่ทิศที่ ๒ กอ็ ย่างนน้ั แผ่ไปสทู่ ศิ ที่ ๓ กอ็ ย่างนน้ั แผไ่ ปสทู่ ศิ ที่ ๔ ก็อย่างนั้น และเธอมีจิตประกอบด้วย กรุณา อันกว้างขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปทงั้ เบอ้ื งบน เบอ้ื งตำ่� เบอ้ื งขวาง ทั่วทุกทาง เสมอหน้ากันตลอดโลกท้ังปวงที่มีอยู่ มีจิตประกอบด้วยมุทิตา แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๑ อยู่ แผ่ไปสู่ทิศที่ ๒ กอ็ ยา่ งนนั้ แผ่ไปสทู่ ศิ ท่ี ๓ กอ็ ยา่ งนนั้ แผไ่ ปสทู่ ศิ ที่ ๔ ก็อย่างน้ัน และเธอมีจิตประกอบด้วย มุทิตา อันกว้างขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปทง้ั เบอื้ งบน เบอื้ งตำ�่ เบอื้ งขวาง ทั่วทุกทาง เสมอหน้ากันตลอดโลกทั้งปวงท่ีมีอยู่ LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 101
มีจิตประกอบด้วยอุเบกขา แผ่ไปสู่ทิศที่ ๑ อยู่ สาธยายธรรม แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๒ ก็อย่างนั้น แผ่ไปสู่ทิศท่ี ๓ ก็อย่างน้ัน แผไ่ ปสทู่ ศิ ที่ ๔ ก็อย่างนั้น และเธอมีจิตประกอบด้วย อุเบกขา อันกว้างขวาง เป็นส่วนใหญ่ หาประมาณมิได้ ไมม่ เี วร ไมม่ พี ยาบาท แผไ่ ปทง้ั เบอื้ งบน เบอื้ งตำ�่ เบอื้ งขวาง ทั่วทุกทาง เสมอหน้ากันตลอดโลกทั้งปวงท่ีมีอยู่ สระโบกขรณี มนี ำ�้ ใสจดื เยน็ สะอาด มที า่ อนั ดี น่าร่ืนรมย์ ถ้าบุรุษมาแต่ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทศิ เหนอื ทิศใต้ และจากที่ไหนๆ อันความร้อนแผดเผา เร่าร้อน ล�ำบาก กระหาย อยากด่ืมน้�ำ เขามาถึง สระโบกขรณีน้ันแล้ว ก็บรรเทาความอยากด่ืมน�้ำ และ ความกระวนกระวายเพราะความร้อนเสียได้ แม้ฉันใด เธอมาถึงธรรมวินัยท่ีตถาคตประกาศแล้ว เจริญเมตตา กรณุ า มทุ ติ า และอเุ บกขาอยา่ งนนั้ ยอ่ มไดค้ วามสงบจติ ณ ภายใน ก็ฉันน้ันเหมือนกัน เรากล่าวว่าเป็นผู้ปฏิบัติ ข้อปฏิบัติอันดีย่ิง LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 102
เปรียบเหมือนคนเป่าสังข์ผู้มีก�ำลัง ย่อมเป่าสังข์ ใหไ้ ดย้ นิ ไดท้ ง้ั สท่ี ศิ โดยไมย่ ากฉนั ใด ในเมตตาเจโตวมิ ตุ ติ (กรุณาเจโตวิมุตติ..., มุทิตาเจโตวิมุตติ..., อุเบกขาเจโต- วิมุตติ...,) ท่ีเจริญแล้วอย่างนี้ กรรมชนิดท่ีท�ำอย่างมี ขีดจ�ำกัดย่อมไม่มีเหลืออยู่ ไม่ต้ังอยู่ในน้ัน ก็ฉันน้ัน เม่ือใดเธอเจริญสมาธิน้ีอย่างนี้ เจริญดีแล้ว เม่ือนั้นเธอจักเดินไปในทางใดๆ ก็จักเดินเป็นสุข ในทางน้ันๆ ยืนอยู่ในที่ใดๆ ก็จักยืนเป็นสุขในท่ีน้ันๆ น่ังอยู่ในท่ีใดๆ ก็จักนั่งเป็นสุขในที่น้ันๆ นอนอยู่ที่ใดๆ ก็จักนอนเป็นสุขในที่น้ันๆ เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพมาแต่แรก ท�ำให้เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้เป็นดุจยาน ท่ีเทียมดีแล้ว ท�ำให้เป็นท่ีต้ัง ประพฤติส่ังสมเนืองๆ ปรารภสม�่ำเสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ อย่าง คือ หลับเป็นสุข ๑ ต่ืนเป็นสุข ๑ LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 103
ไม่ฝันร้าย ๑ สาธยายธรรม เป็นที่รักของพวกมนุษย์ ๑ เป็นท่ีรักของพวกอมนุษย์ ๑ เทพยดารักษา ๑ ไฟก็ดี ยาพิษก็ดี ศัสตราก็ดีไม่ต้องบุคคลน้ัน ๑ จิตต้ังม่ันได้รวดเร็ว ๑ สีหน้าผุดผ่อง ๑ ไม่หลงท�ำกาละ ๑ เมื่อยังไม่บรรลุคุณวิเศษที่ยิ่งข้ึนไป ย่อมเกิดในพรหมโลก ๑ เมื่อเมตตาเจโตวิมุตติ อันบุคคลเสพมาแต่แรก ท�ำให้เจริญแล้ว ท�ำให้มากแล้ว ท�ำให้เป็นดุจยาน ท่ีเทียมดีแล้ว ท�ำให้เป็นที่ต้ัง ประพฤติส่ังสมเนืองๆ ปรารภสม่�ำเสมอดีแล้ว พึงหวังอานิสงส์ ๑๑ อย่างน้ีแล. -บาลี สตฺตก. อํ. ๒๓/๓๐๘/๑๖๐. -บาลี มู. ม. ๑๒/๕๑๘/๔๘๒. -บาลี เอกาทสก. อํ. ๒๔/๓๗๖/๒๒๒. -บาลี สี. ที. ๙/๓๑๐/๓๘๓-๔. LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 104
คำ�ชี้ชวนวิงวอน k ภิกษุท้ังหลาย โยคกรรม อันเธอพึงกระท�ำ เพ่ือให้รู้ว่า “น้ีทุกข์ นี้เหตุให้เกิดทุกข์ น้ีความดับสนิทแห่งทุกข์ น้ีทางให้ถึงความดับสนิทแห่งทุกข์” นิพพาน เราได้แสดงแล้ว, ทางให้ถึงนิพพาน เราก็ได้แสดงแล้ว แก่เธอท้ังหลาย. กิจใด ท่ีศาสดาผู้เอ็นดู แสวงหาประโยชน์เก้ือกูล อาศัยความเอ็นดูแล้ว จะพึงท�ำแก่สาวกทั้งหลาย, กิจน้ัน เราได้กระท�ำแล้วแก่พวกเธอ. นั่น โคนไม้; น่ัน เรือนว่าง. พวกเธอจงเพียรเผากิเลส, อย่าได้ประมาท, อย่าเป็นผู้ท่ีต้องร้อนใจ ในภายหลังเลย. น่ีแหละ วาจาเคร่ืองพร่�ำสอนของเรา แก่เธอท้ังหลาย. -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๑/๔๑๓/๑๖๕๔. -บาลี สฬา. สํ. ๑๘/๔๕๒/๗๔๑. LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 105
การสาธยายธรรม ท่เี ป็นไปเพ่อื ความหลุดพน้ k ...ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ข้ออ่ืนยงั มีอกี : พระศาสดา หรอื เพ่ือนสพรหมจารี ผู้ต้งั อยู่ในฐานะเป็นครู รูปใดรูปหน่งึ กม็ ไิ ด้แสดงธรรมแก่ภกิ ษ;ุ และเธอนน้ั กม็ ไิ ด้แสดงธรรมแก่ชนเหล่าอ่นื โดยพิสดาร ตามท่เี ธอได้ฟังมา ได้เล่าเรยี นมา แต่เธอ กระท�ำการทอ่ งบน่ ซึง่ ธรรม โดยพิสดาร ตามท่ีตนฟังมา เล่าเรยี นมา อยู่. เธอย่อมเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซ่งึ อรรถ รู้พร้อมเฉพาะซ่งึ ธรรม ในธรรมน้นั ตามที่เธอ ท�ำการท่องบ่นซง่ึ ธรรม โดยพสิ ดาร ตามที่ได้ฟังมา เล่าเรยี นมาอย่างไร. LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 106
เมื่อเป็นผู้รู้พร้อมเฉพาะซ่งึ อรรถ รู้พร้อมเฉพาะซ่งึ ธรรม, ปราโมทย์ ย่อมเกดิ ขน้ึ แก่เธอน้นั ; เม่ือปราโมทย์แล้ว ปีตยิ ่อมเกดิ ; เมอ่ื ใจปีติ กายย่อมร�ำงบั ; ผู้มกี ายร�ำงับแล้ว ย่อมเสวยสขุ ; เมือ่ มสี ขุ จติ ย่อมตง้ั มน่ั . ภิกษุทง้ั หลาย ! นีค้ ือ ธรรมเป็นเคร่อื งให้ถงึ วมิ ตุ ติ ข้อทสี่ าม, ซึง่ ในธรรมนน้ั เม่ือภิกษเุ ป็นผู้ไม่ประมาท มคี วามเพยี รเผากเิ ลส มตี นส่งไปแล้ว อยู่, จิตท่ียังไม่หลดุ พ้น ย่อมหลดุ พ้น อาสวะทย่ี ังไม่ส้นิ รอบ ย่อมถงึ ซง่ึ ความส้นิ รอบ หรือว่าเธอย่อมบรรลตุ ามล�ำดับ ซึง่ ความเกษมจากโยคะอนั ไม่มีอ่นื ยิ่งกว่า ทีต่ นยงั ไม่บรรลตุ ามล�ำดบั . -บาลี ปญฺจก. อ.ํ ๒๒/๒๓/๒๖. LOGO BUDDHAWAJANA INSTITUTE 107
ผปู้ ระสงคก์ ารสาธยายธรรม หมายเหตผุ รู้ วบรวม ส�ำ หรบั ผปู้ ระสงคก์ ารสาธยายธรรม (สชฌฺ าย) ค�ำ ทต่ี รสั จากพระโอษฐ์ ของตถาคตนน้ั เปน็ สง่ิ ทส่ี มควรตอ่ การสาธยายไดท้ ง้ั หมด แตบ่ ท ทพ่ี ระองคส์ าธยายดว้ ยพระองคเ์ องเมอ่ื อยวู่ เิ วกหลกี เรน้ ผเู้ ดยี วนน้ั คอื อทิ ปั ปจั จยตาและปฏจิ จสมปุ บาท อทิ ปั ปจั จยตาและปฏจิ จสมปุ บาท -บาลี นทิ าน. ส.ํ ๑๖/๘๕/๑๕๙. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย อรยิ สาวกในธรรมวนิ ยั น้ี ยอ่ มกระทำ�ไวใ้ นใจ โดยแยบคายเปน็ อยา่ งดี ซง่ึ ปฏจิ จสมปุ บาทนน่ั เทยี ว ดงั นว้ี า่ เมอ่ื สง่ิ นม้ี ี สง่ิ นย้ี อ่ มมี เพราะความเกดิ ขน้ึ แหง่ สง่ิ น้ี สง่ิ นจ้ี งึ เกดิ ขน้ึ . เมอ่ื สง่ิ นไ้ี มม่ ี สง่ิ นย้ี อ่ มไมม่ ี เพราะความดบั ไปแหง่ สง่ิ น ้ี สง่ิ นจ้ี งึ ดบั ไป ไดแ้ กส่ ง่ิ เหลา่ น้ี คอื จงึ มสี งั ขารทง้ั หลาย เพราะมอี วชิ ชาเปน็ ปจั จยั จงึ มวี ญิ ญาณ เพราะมสี งั ขารเปน็ ปจั จยั จงึ มนี ามรปู เพราะมวี ญิ ญาณเปน็ ปจั จยั จงึ มสี ฬายตนะ เพราะมนี ามรปู เปน็ ปจั จยั จงึ มผี สั สะ เพราะมสี ฬายตนะเปน็ ปจั จยั จงึ มเี วทนา เพราะมผี สั สะเปน็ ปจั จยั
เพราะมเี วทนาเปน็ ปจั จยั จงึ มตี ณั หา เพราะมตี ณั หาเปน็ ปจั จยั จงึ มอี ปุ าทาน เพราะมอี ปุ าทานปจั จยั จงึ มภี พ เพราะมภี พเปน็ ปจั จยั จงึ มชี าติ เพราะมชี าติ เปน็ ปจั จยั ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลาย จงึ เกดิ ขน้ึ ครบถว้ น ความเกดิ ขน้ึ พรอ้ มแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี เพราะความจางคลายดบั ไปโดยไมเ่ หลอื แหง่ อวชิ ชานน้ั นน่ั เทยี ว จงึ มคี วามดบั แหง่ สงั ขาร เพราะมคี วามดบั แหง่ สงั ขาร จงึ มคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ เพราะมคี วามดบั แหง่ วญิ ญาณ จงึ มคี วามดบั แหง่ นามรปู เพราะมคี วามดบั แหง่ นามรปู จงึ มคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ เพราะมคี วามดบั แหง่ สฬายตนะ จงึ มคี วามดบั แหง่ ผสั สะ เพราะมคี วามดบั แหง่ ผสั สะ จงึ มคี วามดบั แหง่ เวทนา เพราะมคี วามดบั แหง่ เวทนา จงึ มคี วามดบั แหง่ ตณั หา เพราะมคี วามดบั แหง่ ตณั หา จงึ มคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน เพราะมคี วามดบั แหง่ อปุ าทาน จงึ มคี วามดบั แหง่ ภพ เพราะมคี วามดบั แหง่ ภพ จงึ มคี วามดบั แหง่ ชาติ เพราะมคี วามดบั แหง่ ชาตนิ น่ั แล ชรามรณะ โสกะปรเิ ทวะทกุ ขะ โทมนสั อปุ ายาสะทง้ั หลาย จงึ ดบั สน้ิ ความดบั ลงแหง่ กองทกุ ขท์ ง้ั สน้ิ น้ี ยอ่ มมี ดว้ ยอาการอยา่ งน.้ี
ขอนอบนอ้ มแด่ ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ พระองค์นน้ั ด้วยเศยี รเกลา้ (สาวกตถาคต) คณะงานธมั มะ วดั นาปา พง (กลมุ่ อาสาสมคั รพุทธวจน-หมวดธรรม)
มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ มูลนิธิแห่งมหาชนชาวพทุ ธ ผซู้ งึ่ ชดั เจน และมั่นคงในพุทธวจน เรม่ิ จากชาวพทุ ธกลมุ่ เลก็ ๆ กลมุ่ หนง่ึ ไดม้ โี อกาสมาฟงั ธรรมบรรยายจาก ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทเี่ นน้ การนา� พทุ ธวจน (ธรรมวนิ ยั จากพทุ ธโอษฐ์ ทพี่ ระพทุ ธองคท์ รงยนื ยนั วา่ ทรงตรสั ไวด้ แี ลว้ บรสิ ทุ ธบิ์ รบิ รู ณส์ นิ้ เชงิ ทง้ั เนอื้ ความและ พยญั ชนะ) มาใชใ้ นการถา่ ยทอดบอกสอน ซงึ่ เปน็ รปู แบบการแสดงธรรมทต่ี รงตาม พุทธบญั ญตั ิตามท่ี ทรงรบั ส่งั แกพ่ ระอรหันต์ ๖๐ รปู แรกที่ปาอสิ ิปตนมฤคทายวัน ในการประกาศพระสัทธรรม และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะทภี่ กิ ษใุ นครง้ั พทุ ธกาลใชเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี ว หลกั พทุ ธวจนนี้ ไดเ้ ขา้ มาตอบคา� ถาม ตอ่ ความลงั เลสงสยั ไดเ้ ขา้ มาสรา้ ง ความชดั เจน ต่อความพร่าเลอื นสับสน ในขอ้ ธรรมต่างๆ ทม่ี ีอยู่ในสงั คมชาวพทุ ธ ซง่ึ ท้งั หมดนี้ เป็นผลจากสาเหตเุ ดียวคือ การไมใ่ ช้คา� ของพระพุทธเจา้ เป็นตัวต้งั ต้น ในการศกึ ษาเลา่ เรยี น ดว้ ยศรทั ธาอยา่ งไมห่ วน่ั ไหวตอ่ องคส์ มั มาสมั พทุ ธะ ในฐานะพระศาสดา ทา่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ ไดป้ ระกาศอยา่ งเปน็ ทางการวา่ “อาตมาไมม่ คี า� สอนของตวั เอง” และใช้เวลาท่ีมีอยู่ ไปกับการรับสนองพุทธประสงค์ ด้วยการโฆษณาพุทธวจน เพื่อความตั้งมนั่ แหง่ พระสทั ธรรม และความประสานเป็นหน่ึงเดยี วของชาวพุทธ เมอื่ กลบั มาใชห้ ลกั พทุ ธวจน เหมอื นทเี่ คยเปน็ ในครง้ั พทุ ธกาล สงิ่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ คือ ความชัดเจนสอดคล้องลงตัว ในความรู้ความเข้าใจ ไม่ว่าในแง่ของหลักธรรม ตลอดจนมรรควธิ ที ต่ี รง และสามารถนา� ไปใชป้ ฏบิ ตั ใิ หเ้ กดิ ผล รเู้ หน็ ประจกั ษไ์ ดจ้ รงิ ดว้ ยตนเองทนั ที ดว้ ยเหตนุ ้ี ชาวพทุ ธทเ่ี หน็ คณุ คา่ ในคา� ของพระพทุ ธเจา้ จงึ ขยายตวั มากขึ้นเรอ่ื ยๆ เกิดเป็น “กระแสพทุ ธวจน” ซง่ึ เปน็ พลงั เงียบท่กี �าลงั จะกลายเป็น คลนื่ ลกู ใหม่ ในการกลบั ไปใชร้ ะบบการเรยี นรพู้ ระสทั ธรรม เหมอื นดงั ครง้ั พทุ ธกาล
ด้วยการขยายตวั ของกระแสพทุ ธวจนน้ี ส่อื ธรรมที่เปน็ พุทธวจน ไม่ว่า จะเป็นหนังสือ หรือซีดี ซ่ึงแจกฟรีแก่ญาติโยมเร่ิมมีไม่พอเพียงในการแจก ทั้งน้ี เพราะจ�านวนของผู้ท่ีสนใจเห็นความส�าคัญของพุทธวจน ได้ขยายตัวมากขึ้นอย่าง รวดเร็ว ประกอบกับว่าท่านพระอาจารย์คึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล เคร่งครัดในข้อวัตร ปฏิบัติท่ีพระศาสดาบัญญัติไว้ อันเป็นธรรมวินัยท่ีออกจากพระโอษฐ์ของตถาคต โดยตรง การเผยแผ่พุทธวจนที่ผ่านมา จึงเป็นไปในลักษณะสันโดษตามมีตามได้ เมือ่ มีโยมมาปวารณาเป็นเจา้ ภาพในการจดั พิมพ์ ไดม้ าจ�านวนเท่าไหร่ ก็ทยอยแจก ไปตามทมี่ เี ทา่ นน้ั เมอ่ื มมี า กแ็ จกไป เมอื่ หมด กค็ อื หมด เนอ่ื งจากวา่ หนา้ ทใ่ี นการดา� รงพระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มน่ั สบื ไป ไมไ่ ดผ้ กู จา� กดั อย่แู ตเ่ พยี งพทุ ธสาวกในฐานะของสงฆ์เทา่ นนั้ ฆราวาสกลมุ่ หนึ่งซึ่งเห็นความส�าคญั ของพทุ ธวจน จงึ รวมตวั กนั เขา้ มาชว่ ยขยายผลในสงิ่ ทที่ า่ นพระอาจารยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ทา� อยแู่ ลว้ นน่ั คอื การนา� พทุ ธวจนมาเผยแพรโ่ ฆษณา โดยพจิ ารณาตดั สนิ ใจจดทะเบยี น จัดตัง้ เปน็ มลู นธิ อิ ย่างถูกตอ้ งตามกฏหมาย เพือ่ ใหก้ ารด�าเนนิ การตา่ งๆ ทง้ั หมด อยใู่ นรปู แบบทโี่ ปรง่ ใส เปดิ เผย และเปดิ กวา้ งตอ่ สาธารณชนชาวพทุ ธทวั่ ไป สา� หรับผู้ท่ีเหน็ ความสา� คัญของพุทธวจน และมคี วามประสงค์ทจี่ ะด�ารง พระสทั ธรรมใหต้ ง้ั มนั่ ดว้ ยวธิ ขี องพระพทุ ธเจา้ สามารถสนบั สนนุ การดา� เนนิ การตรงนไ้ี ด้ ดว้ ยวิธงี า่ ยๆ น่ันคอื เขา้ มาใส่ใจศึกษาพทุ ธวจน และนา� ไปใช้ปฏิบตั ดิ ้วยตนเอง เม่ือรู้ประจักษ์ เห็นได้ด้วยตนแล้ว ว่ามรรควิธีท่ีได้จากการท�าความเข้าใจ โดย ใช้ค�าของพระพุทธเจ้าเป็นตัวต้ังต้นน้ัน น�าไปสู่ความเห็นที่ถูกต้อง ในหลักธรรม อันสอดคล้องเป็นเหตุเป็นผล และเช่ือมโยงเป็นหน่ึงเดียว กระทั่งได้ผลตามจริง ทา� ใหเ้ กดิ มีจติ ศรทั ธา ในการช่วยเผยแพรข่ ยายส่ือพทุ ธวจน เพียงเท่านี้ คุณก็คอื หนง่ึ หนว่ ยในขบวน “พทุ ธโฆษณ”์ แลว้ น่คี อื เจตนารมณ์ของมูลนิธิพทุ ธโฆษณ์ นน่ั คอื เปน็ มลู นิธิแหง่ มหาชน ชาวพทุ ธ ซง่ึ ชดั เจน และมน่ั คงในพทุ ธวจน
ผูท้ ีส่ นใจรับสือ่ ธรรมทเี่ ปน็ พุทธวจน เพอ่ื ไปใชศ้ กึ ษาส่วนตัว หรือน�าไปแจกเปน็ ธรรมทาน แกพ่ ่อแมพ่ ีน่ ้อง ญาติ หรือเพื่อน สามารถมารบั ไดฟ้ รี ที่วดั นาปาพง หรือตามที่พระอาจารย์คกึ ฤทธ์ไิ ด้รบั นมิ นต์ไปแสดงธรรมนอกสถานที่ สา� หรบั รายละเอยี ดกจิ ธรรมต่างๆ ภายใตเ้ ครอื ข่ายพุทธวจนโดยวัดนาปาพง คน้ หา ขอ้ มลู ไดจ้ าก www.buddhakos.org หรือ www.watnapp.com หากมคี วามจ�านงทจ่ี ะรับไปแจกเปน็ ธรรมทานในจา� นวนหลายสิบชดุ ขอความกรุณาแจง้ ความจ�านงไดท้ ี่ มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ ประสานงานและเผยแผ่ : เลขที่ ๒๙/๓ หมูท่ ่ี ๗ ถนนเลียบคลอง ๑๐ ฝ่ังตะวันออก ตา� บลบึงทองหลาง อา� เภอลา� ลูกกา จงั หวัดปทุมธานี ๑๒๑๕๐ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔, ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘, ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ โทรสาร ๐ ๒๑๕๙ ๐๕๒๖ เวบ็ ไซต์ : www.buddhakos.org อเี มล์ : [email protected] สนบั สนนุ การเผยแผ่พุทธวจนไดท้ ี่ ชอื่ บญั ชี “มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ”์ ธนาคารไทยพาณชิ ย์ สาขา คลอง ๑๐ (ธญั บรุ )ี ประเภท บัญชีออมทรัพย์ เลขทีบ่ ัญชี ๓๑๘-๒-๔๗๔๖๑-๐ วธิ ีการโอนเงนิ จากต่างประเทศ ย่นื แบบฟอร์ม คา� ขอโอนได้ท่ี ธนาคารไทยพาณชิ ย์ Account name: “Buddhakos Foundation” SWIFT CODE : SICOTHBK Branch Number : 318 Siam Commercial Bank PCL, Khlong 10(Thanyaburi) Branch, 33/14 Mu 4 Chuchat Road, Bung Sanun Sub District, Thanyaburi District, Pathum Thani 12110, Thailand Saving Account Number : 318-2-47461-0
ขอกราบขอบพระคุณแด่ พระอาจารยค์ กึ ฤทธิ์ โสตถฺ ผิ โล และคณะสงฆว์ ดั นาปา่ พง ท่กี รณุ าให้ค�าปรกึ ษาในการจดั ทา� หนังสือเลม่ น้ี ติดตามการเผยแผ่พระธรรมคา� สอนตามหลกั พทุ ธวจน โดย พระอาจารยค์ ึกฤทธ์ิ โสตฺถิผโล ไดท้ ่ี เวบ็ ไซต์ • http://www.watnapp.com : หนงั สอื และสื่อธรรมะ บนอินเทอร์เนต็ • http://media.watnapahpong.org : ศูนยบ์ ริการมลั ตมิ เี ดียวัดนาปา พง • http://www.buddha-net.com : เครือขา่ ยพุทธวจน • http://etipitaka.com : โปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพุทธวจน • http://www.watnapahpong.com : เว็บไซตว์ ัดนาปา พง • http://www.buddhakos.org : มลู นิธิพุทธโฆษณ์ • http://www.buddhawajanafund.org : มูลนธิ ิพทุ ธวจน ดาวนโ์ หลดโปรแกรมตรวจหาและเทยี บเคยี งพทุ ธวจน (E-Tipitaka) ส�าหรบั คอมพวิ เตอร์ • ระบบปฏบิ ัตกิ าร Windows, Macintosh, Linux http://etipitaka.com/download หรอื รบั แผน่ โปรแกรมได้ทว่ี ดั นาปาพง ส�าหรับโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทแ่ี ละแทบ็ เลต็ • ระบบปฏิบตั กิ าร Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Play Store โดยพิมพค์ �าวา่ พทุ ธวจน หรอื e-tipitaka • ระบบปฏบิ ัตกิ าร iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พุทธวจน หรอื e-tipitaka ดาวนโ์ หลดโปรแกรมพุทธวจน (Buddhawajana) เฉพาะโทรศัพทเ์ คลือ่ นทีแ่ ละแทบ็ เล็ต • ระบบปฏบิ ตั กิ าร Android ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี Google Play Store โดยพิมพ์คา� วา่ พุทธวจน หรอื buddhawajana • ระบบปฏบิ ตั ิการ iOS (ส�าหรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวน์โหลดได้ท่ี App Store โดยพมิ พ์คา� ว่า พทุ ธวจน หรอื buddhawajana ดาวน์โหลดโปรแกรมวทิ ยวุ ดั นาป่าพง (Watnapahpong Radio) เฉพาะโทรศพั ทเ์ คลื่อนทีแ่ ละแท็บเลต็ • ระบบปฏิบัติการ Android ดาวน์โหลดได้ท่ี Google Play Store โดยพิมพ์ค�าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวดั นาปาพง • ระบบปฏิบตั ิการ iOS (สา� หรับ iPad, iPhone, iPod) ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี App Store โดยพมิ พค์ �าว่า พทุ ธวจน หรือ วทิ ยุวัดนาปาพง วทิ ยุ • คล่ืน ส.ว.พ. FM ๙๑.๐ MHz ทุกวนั พระ เวลา ๑๗.๔๐ น.
ร่วมสนับสนนุ การจัดทำ�โดย คณะงานธมั มะ วดั นาปา่ พง (กล่มุ อาสาสมัครพทุ ธวจน-หมวดธรรม), คณะศษิ ยว์ ัดนาปา่ พง, มูลนิธิพุทธวจน, พุทธวจนสถาบันภาคกลาง, พุทธวจนสถาบันภาคเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันออก, พุทธวจนสถาบันภาคใต้, พุทธวจนสถาบันภาคตะวันตก, กลุ่มศิษย์ตถาคต, กลุ่มสมณะศากยะปุตติยะ, กลุ่มชวนม่วนธรรม, กลุ่มละนันทิ, กลุ่มพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินบริษัทการบินไทย, กลุ่มมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, ชมรมพุทธวจนอุดรธานี, บจก. สยามคูโบต้า คอร์ปอเรชั่น, บจก. สยามรักษ์, บจก. เซเว่นสเต็ปส์, บจก. ห้างพระจันทร์โอสถ, สถานกายภาพบำ�บัด คิดดีคลินิค, บจก. ดีเทลส์ โปรดักส์
ลงสะพานคลอง ๑๐ ไปยูเทิร์นแรกมา แผนท่ีวัดนาป่าพง แล้วเล้ียวซ้ายก่อนข้ึนสะพาน แนวทิวสน วัดนาป่าพง โทรศัพท์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑, ๐๘ ๔๐๙๖ ๘๔๓๐, ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๔, ๐๘ ๖๕๕๒ ๒๔๕๙ ลงสะพานคลอง ๑๐ เล้ียวซ้ายคอสะพาน
๑๐ พระสตู รของความสา� คญั ทชี่ าวพทุ ธตอ้ งศกึ ษา แตค่ า� สอนจากพระพทุ ธเจา้ เทา่ นน้ั ผา่ นมา ๒,๕๐๐ กวา่ ปี คา� สอนทางพระพทุ ธศาสนาเกดิ ความหลากหลายมากขน้ึ มสี า� นกั ตา่ งๆ มากมาย ซง่ึ แตล่ ะหมคู่ ณะกม็ คี วามเหน็ ของตน หามาตรฐานไมไ่ ด้ แมจ้ ะกลา่ วในเรอ่ื งเดยี วกนั ทง้ั นไ้ี มใ่ ชเ่ พราะคา� สอนของพระพทุ ธเจา้ ไมส่ มบรู ณ์ แลว้ เราควรเชอ่ื และปฏบิ ตั ติ ามใคร ? ลองพจิ ารณาหาคา� ตอบงา่ ยๆ ไดจ้ าก ๑๐ พระสตู ร ซง่ึ พระตถาคตทรงเตอื นเอาไว้ แลว้ ตรสั บอกวธิ ปี อ้ งกนั และแกไ้ ขเหตเุ สอ่ื มแหง่ ธรรมเหลา่ น.ี้ ขอเชญิ มาตอบตวั เองกนั เถอะวา่ ถงึ เวลาแลว้ หรอื ยงั ? ทพ่ี ทุ ธบรษิ ทั จะมมี าตรฐานเพยี งหนงึ่ เดยี ว คอื “พทุ ธวจน” ธรรมวนิ ยั จากองคพ์ ระสงั ฆบดิ าอนั วญิ ญชู นพงึ ปฏบิ ตั แิ ละรตู้ ามไดเ้ ฉพาะตน ดงั น.ี้ ๑. พระองคท์ รงสามารถกา� หนดสมาธ ิ เมอ่ื จะพดู ทกุ ถอ้ ยคา� จงึ ไมผ่ ดิ พลาด -บาลี มู. ม. ๑๒/๔๕๘/๔๓๐. อคั คเิ วสนะ ! เรานน้ั หรอื จา� เดมิ แตเ่ รมิ่ แสดง กระทง่ั คา� สดุ ทา้ ยแหง่ การกลา่ วเรอ่ื งนนั้ ๆ ยอ่ มตงั้ ไวซ้ งึ่ จติ ในสมาธนิ มิ ติ อนั เปน็ ภายในโดยแท ้ ใหจ้ ติ ดา� รงอย ู่ ใหจ้ ติ ตง้ั มน่ั อย ู่ กระทา� ใหม้ จี ติ เปน็ เอก ดงั เชน่ ทค่ี นทง้ั หลาย เคยไดย้ นิ วา่ เรากระทา� อยเู่ ปน็ ประจา� ดงั น.้ี
๒. แตล่ ะคา� พดู เปน็ อกาลโิ ก คอื ถกู ตอ้ งตรงจรงิ ไมจ่ า� กดั กาลเวลา -บาลี ม.ู ม. ๑๒/๔๘๕/๔๕๑. ภิกษุท้ังหลาย ! พวกเธอทงั้ หลายเปน็ ผทู้ เี่ รานา� ไปแลว้ ดว้ ยธรรมน้ี อนั เปน็ ธรรมทบ่ี คุ คลจะพงึ เหน็ ไดด้ ว้ ยตนเอง (สนทฺ ฏิ โิ ก) เปน็ ธรรมให้ ผลไมจ่ า� กดั กาล (อกาลโิ ก) เปน็ ธรรมทคี่ วรเรยี กกนั มาด ู (เอหปิ สสฺ โิ ก) ควรน้อมเข้ามาใส่ตัว (โอปนยิโก) อันวิญญูชนจะพึงรู้ได้เฉพาะตน (ปจจฺ ตตฺ � เวทติ พโฺ พ วญิ ญฺ หู )ิ . ๓. คา� พดู ทพ่ี ดู มาทง้ั หมดนบั แตว่ นั ตรสั รนู้ น้ั สอดรบั ไมข่ ดั แยง้ กนั -บาลี อิติว.ุ ขุ. ๒๕/๓๒๑/๒๙๓. ภิกษุท้ังหลาย ! นับต้ังแต่ราตรี ที่ตถาคตได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมา- สัมโพธิญาณ จนกระทั่งถึงราตรีที่ตถาคตปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสส นิพพานธาตุ ตลอดเวลาระหว่างนั้น ตถาคตได้กล่าวสอน พร่�าสอน แสดงออก ซง่ึ ถอ้ ยคา� ใด ถอ้ ยคา� เหลา่ นนั้ ทงั้ หมด ยอ่ มเขา้ กนั ไดโ้ ดย ประการเดยี วทงั้ สนิ้ ไมแ่ ยง้ กนั เปน็ ประการอน่ื เลย. อ๔. ทรงบอกเหตแุ หง่ ความอนั ตรธานของคา� สอนเปรยี บดว้ ยกลองศกึ -บาลี นทิ าน. สํ. ๑๖/๓๑๑/๖๗๒-๓. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! เรอ่ื งนเี้ คยมมี าแลว้ กลองศกึ ของกษตั รยิ พ์ วกทสารหะ เรยี กวา่ อานกะ มอี ยู่ เมอื่ กลองอานกะน้ี มแี ผลแตกหรอื ลิ พวกกษตั รยิ ์ ทสารหะไดห้ าเนอื้ ไมอ้ น่ื ทา� เปน็ ลมิ่ เสรมิ ลงในรอยแตกของกลองนนั้ (ทกุ คราวไป). ภิกษุทั้งหลาย ! เม่ือเชื่อมปะเข้าหลายคร้ังหลายคราวเช่นนั้น นานเขา้ กถ็ งึ สมยั หนง่ึ ซง่ึ เนอื้ ไมเ้ ดมิ ของตวั กลองหมดสนิ้ ไป เหลอื อยแู่ ต่ เนอื้ ไมท้ ที่ า� เสรมิ เขา้ ใหมเ่ ทา่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ฉนั ใดกฉ็ นั นนั้ ในกาลยดื ยาวฝา่ ยอนาคต จกั มภี กิ ษุ ทงั้ หลาย สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซง้ึ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั
มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ด้วยดี จกั ไมเ่ งี่ยหฟู งั จกั ไมต่ ั้งจิตเพอ่ื จะรู้ท่ัวถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใดที่ นกั กวแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอ่ื มผี นู้ า� สุตตันตะท่ีนักกวีแต่งข้ึนใหม่เหล่านั้นมากล่าวอยู่ เธอจักฟังด้วยดี จัก เงย่ี หฟู งั จกั ตงั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั สา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทตี่ นควรศกึ ษา เลา่ เรยี นไป. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ความอนั ตรธานของสตุ ตนั ตะเหลา่ นนั้ ทเี่ ปน็ คา� ของ ตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชน้ั โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ย เรอื่ งสญุ ญตา จกั มไี ดด้ ว้ ยอาการอยา่ งนี้ แล. ๕.ทรงกา� ชับให้ศกึ ษาปฏิบัติเฉพาะจากคา� ของพระองคเ์ ท่านน้ั อย่าฟังคนอื่น -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๑-๙๒/๒๙๒. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษบุ รษิ ทั ในกรณนี ้ี สตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วี แตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มี พยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอจกั ไมฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมต่ งั้ จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และจกั ไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทเ่ี ปน็ คา� ของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลกึ มคี วามหมายซงึ้ เปน็ ชนั้ โลกตุ ตระ วา่ เฉพาะดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นน้ั มากลา่ วอยู่ เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี ยอ่ มเงยี่ หฟู งั ยอ่ มตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น จงึ พากนั เลา่ เรยี น ไตถ่ าม ทวนถามแกก่ นั และกนั อยวู่ า่ “ขอ้ นเี้ ปน็ อยา่ งไร มคี วามหมายกน่ี ยั ” ดงั น้ี ดว้ ยการทา� ดงั นี้ เธอยอ่ มเปดิ ธรรมทถี่ กู ปดิ ไวไ้ ด้ ธรรมทยี่ งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ า� ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการ ทนี่ า่ สงสยั เธอกบ็ รรเทาลงได.้
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! บรษิ ทั ชอ่ื อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ ง้ั หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทงั้ หลาย อนั เปน็ ตถาคตภาษติ (ตถาคตภาสติ า) อนั ลกึ ซง้ึ (คมภฺ รี า) มี อรรถอันลึกซึ้ง (คมฺภีรตฺถา) เป็นโลกุตตระ (โลกุตฺตรา) ประกอบด้วย เรอ่ื งสญุ ญตา (สญุ ญฺ ตปฏสิ ย� ตุ ตฺ า) อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควร ศกึ ษาเลา่ เรยี น. สว่ นสตุ ตนั ตะเหลา่ ใด ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภท กาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก เมอื่ มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ นมี้ ากลา่ วอยู่ พวกเธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี เงย่ี หฟู งั ตงั้ จติ เพอื่ จะรทู้ ว่ั ถงึ และสา� คญั ไป วา่ เปน็ สง่ิ ทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมอนั กวแี ตง่ ใหม่ นัน้ แล้ว ก็ไม่สอบถามซงึ่ กันและกัน ไมท่ า� ใหเ้ ปิดเผยแจม่ แจ้งออกมาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นน้ั เปดิ เผย สง่ิ ทย่ี งั ไมเ่ ปดิ เผยไมไ่ ด้ ไมห่ งายของทค่ี วา�่ อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ ไมบ่ รรเทา ความสงสยั ในธรรมทงั้ หลายอนั เปน็ ทต่ี งั้ แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ อกุ กาจติ วนิ ตี า ปรสิ า โน ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย! บรษิ ทั ชอื่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! ในกรณนี คี้ อื ภกิ ษทุ งั้ หลายในบรษิ ทั ใด เมอื่ สตุ ตนั ตะ ทง้ั หลาย ทก่ี วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คา� รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษร สละสลวย มพี ยญั ชนะอนั วจิ ติ ร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เปน็ คา� กลา่ วของสาวก อนั บคุ คลนา� มากลา่ วอยู่ กไ็ มฟ่ งั ดว้ ยดี ไมเ่ งย่ี หฟู งั ไมเ่ ขา้ ไปตงั้ จติ เพอ่ื จะ รทู้ วั่ ถงึ และไมส่ า� คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น สว่ น สตุ ตนั ตะ เหลา่ ใด อนั เปน็ ตถาคตภาษติ อนั ลกึ ซง้ึ มอี รรถอนั ลกึ ซง้ึ เปน็ โลกตุ ตระ ประกอบดว้ ยเรอ่ื งสญุ ญตา เมอ่ื มผี นู้ า� สตุ ตนั ตะเหลา่ น ี้ มากลา่ วอย ู่ พวก
เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยด ี ยอ่ มเงย่ี หฟู งั ยอ่ มเขา้ ไปตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ วั่ ถงึ และ ยอ่ มสา� คญั วา่ เปน็ สงิ่ ทคี่ วรศกึ ษาเลา่ เรยี น พวกเธอเลา่ เรยี นธรรมทเ่ี ปน็ ตถาคตภาษติ นน้ั แลว้ กส็ อบถามซง่ึ กนั และกนั ทา� ใหเ้ ปดิ เผยแจม่ แจง้ ออก มาวา่ ขอ้ นพ้ี ยญั ชนะเปน็ อยา่ งไร อรรถะเปน็ อยา่ งไร ดงั น้ี เธอเหลา่ นนั้ เปดิ เผยสง่ิ ทยี่ งั ไมเ่ ปดิ เผยได้ หงายของทคี่ วา่� อยใู่ หห้ งายขนึ้ ได้ บรรเทา ความสงสยั ในธรรมทง้ั หลายอนั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความสงสยั มอี ยา่ งตา่ งๆ ได.้ ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเี้ ราเรยี กวา่ ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! เหลา่ นแี้ ลบรษิ ทั ๒ จา� พวกนน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! บรษิ ทั ทเี่ ลศิ ในบรรดาบรษิ ทั ทง้ั สองพวกนนั้ คอื บรษิ ทั ปฏปิ จุ ฉาวนิ ตี า ปรสิ า โน อกุ กาจติ วนิ ตี า (บรษิ ทั ทอ่ี าศยั การสอบสวนทบทวนกนั เอาเอง เปน็ เครอื่ งนา� ไป ไมอ่ าศยั ความเชอ่ื จากบคุ คลภายนอกเปน็ เครอ่ื งนา� ไป) แล. ๖. ทรงหา้ มบัญญัติเพ่ิมหรือตดั ทอนสงิ่ ท่บี ัญญัตไิ ว้ -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๙๐/๗๐. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ภกิ ษทุ งั้ หลาย จกั ไมบ่ ญั ญตั สิ งิ่ ทไี่ มเ่ คยบญั ญตั ิ จกั ไมเ่ พกิ ถอนสงิ่ ทบ่ี ญั ญตั ไิ วแ้ ลว้ จกั สมาทานศกึ ษาในสกิ ขาบททบี่ ญั ญตั ไิ ว้ แลว้ อยา่ งเครง่ ครดั อยเู่ พยี งใด ความเจรญิ กเ็ ปน็ สง่ิ ทภ่ี กิ ษทุ ง้ั หลายหวงั ได้ ไมม่ คี วามเสอ่ื มเลย อยเู่ พยี งนนั้ . ๗. ส�านึกเสมอว่าตนเองเปน็ เพียงผู้เดินตามพระองคเ์ ท่านนั้ ถงึ แม้จะเปน็ อรหันตผ์ ู้เลศิ ทางปัญญากต็ าม -บาลี ขนธฺ . ส.ํ ๑๗/๘๒/๑๒๖. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ไดท้ า� มรรคทยี่ งั ไมเ่ กดิ ใหเ้ กดิ ขน้ึ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ใี ครรใู้ หม้ คี นรู้ ไดท้ า� มรรคทย่ี งั ไมม่ ี ใครกลา่ วใหเ้ ปน็ มรรคทก่ี ลา่ วกนั แลว้ ตถาคตเปน็ ผรู้ มู้ รรค (มคคฺ ญญฺ )ู เปน็ ผรู้ แู้ จง้ มรรค (มคคฺ วทิ )ู เปน็ ผฉู้ ลาดในมรรค (มคคฺ โกวโิ ท). ภิกษุทั้งหลาย ! สว่ นสาวกทงั้ หลายในกาลน ้ี เปน็ ผเู้ ดนิ ตามมรรค (มคคฺ านคุ า) เปน็ ผตู้ ามมา ในภายหลงั .
ภกิ ษทุ ง้ั หลาย! นแ้ี ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั เปน็ ความมงุ่ หมาย ทแ่ี ตกตา่ งกนั เปน็ เครอื่ งกระทา� ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ต- สัมมาสมั พุทธะ กบั ภิกษผุ ้ปู ัญญาวมิ ตุ ต.ิ ๘. ตรัสไวว้ า่ ให้ทรงจ�าบทพยัญชนะและค�าอธิบายอยา่ งถูกตอ้ ง พร้อมขยนั ถา่ ยทอดบอกสอนกันตอ่ ไป -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๑๙๗/๑๖๐. ภิกษทุ งั้ หลาย ! พวกภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั น ้ี เลา่ เรยี นสตู รอนั ถอื กนั มาถกู ดว้ ยบทพยญั ชนะทใี่ ชก้ นั ถกู ความหมายแหง่ บทพยญั ชนะทใ่ี ชก้ นั กถ็ กู ยอ่ มมนี ยั อนั ถกู ตอ้ งเชน่ นน้ั . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นเี่ ปน็ มลู กรณที หี่ นงึ่ ซงึ่ ทา� ใหพ้ ระสทั ธรรมตงั้ อยไู่ ดไ้ มเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป... ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกภกิ ษเุ หลา่ ใด เปน็ พหสุ ตู คลอ่ งแคลว่ ในหลกั พระพทุ ธวจน ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า (แมบ่ ท) พวกภกิ ษเุ หลา่ นนั้ เอาใจใส ่ บอกสอน เนอ้ื ความแหง่ สตู รทงั้ หลายแกค่ นอน่ื ๆ เมอื่ ทา่ นเหลา่ นน้ั ลว่ งลบั ไป สตู รทง้ั หลาย กไ็ มข่ าดผเู้ ปน็ มลู ราก (อาจารย)์ มที อ่ี าศยั สบื กนั ไป. ภิกษุท้ังหลาย ! น่ีเป็น มูลกรณีท่ีสาม ซ่ึงท�าให้พระสัทธรรมต้ังอยู่ได้ ไมเ่ ลอะเลอื นจนเสอ่ื มสญู ไป... *** ในที่นี้ยกมา ๒ นัย จาก ๔ นัย ของมูลเหตุส่ีประการ ที่ท�าให้พระสัทธรรมตั้งอยู่ได้ ไม่เลอะเลือนจนเส่ือมสูญไป ๙. ทรงบอกวิธีแกไ้ ขความผิดเพ้ยี นในคา� สอน -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๔๔/๑๑๓-๖. ๑. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ผมู้ อี ายุ ! ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั รบั มาเฉพาะพระพกั ตรพ์ ระผมู้ พี ระภาควา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๒. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี สงฆอ์ ยพู่ รอ้ มดว้ ยพระเถระ พรอ้ มดว้ ยปาโมกข์ ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะ หนา้ สงฆน์ นั้ วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”...
๓. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นกี้ ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอื่ โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยจู่ า� นวนมาก เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระเหลา่ นน้ั วา่ “นเี้ ปน็ ธรรม นเี้ ปน็ วนิ ยั นเี้ ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... ๔. (หากม)ี ภกิ ษใุ นธรรมวนิ ยั นก้ี ลา่ วอยา่ งนวี้ า่ ในอาวาสชอ่ื โนน้ มี ภกิ ษผุ เู้ ปน็ เถระอยรู่ ปู หนง่ึ เปน็ พหสุ ตู เรยี นคมั ภรี ์ ทรงธรรม ทรงวนิ ยั ทรงมาตกิ า ขา้ พเจา้ ไดส้ ดบั มาเฉพาะหนา้ พระเถระรปู นน้ั วา่ “นเ้ี ปน็ ธรรม นเ้ี ปน็ วนิ ยั นเ้ี ปน็ คา� สอนของพระศาสดา”... เธอทง้ั หลายยงั ไมพ่ งึ ชนื่ ชม ยงั ไมพ่ งึ คดั คา้ นคา� กลา่ วของผนู้ น้ั พงึ เรยี น บทและพยญั ชนะเหลา่ นน้ั ใหด้ ี แลว้ พงึ สอบสวนลงในพระสตู ร เทยี บเคยี ง ดใู นวนิ ยั ถ้าบทและพยัญชนะเหล่านั้น สอบลงในสูตรก็ไม่ได้ เทียบเข้าใน วินัยก็ไม่ได้ พึงลงสันนิษฐานว่า “น้ีมิใช่พระด�ารัสของพระผู้มีพระภาค พระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ รี้ บั มาผดิ ” เธอทงั้ หลาย พงึ ทง้ิ คา� นนั้ เสยี ถา้ บทและพยญั ชนะเหลา่ นนั้ สอบลงในสตู รกไ็ ด ้ เทยี บเขา้ ในวนิ ยั กไ็ ด ้ พงึ ลงสนั นษิ ฐานวา่ “นเ้ี ปน็ พระดา� รสั ของพระผมู้ พี ระภาคพระองคน์ นั้ แนน่ อน และภกิ ษนุ นั้ รบั มาดว้ ยด”ี เธอทงั้ หลาย พงึ จา� มหาปเทส... นไี้ ว.้ ๑๐. ทรงตรสั แกพ่ ระอานนท ์ ให้ใชธ้ รรมวนิ ยั ท่ีตรสั ไวเ้ ป็นศาสดาแทนตอ่ ไป -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๘/๑๔๑. -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓. -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๒๑๗/๗๔๐. อานนท์ ! ความคิดอาจมีแก่พวกเธออย่างน้ีว่า ‘ธรรมวินัยของ พวกเรามีพระศาสดาล่วงลับไปเสียแล้ว พวกเราไม่มีพระศาสดา’ ดังนี้. อานนท์ ! พวกเธออยา่ คิดอย่างนนั้ . อานนท์ ! ธรรมก็ดี วนิ ัยก็ดี ทเ่ี รา แสดงแล้ว บญั ญัติแลว้ แก่พวกเธอท้ังหลาย ธรรมวนิ ัยน้ัน จกั เป็น ศาสดาของพวกเธอทง้ั หลาย โดยกาลลว่ งไปแหง่ เรา.
อานนท์ ! ในกาลบดั นกี้ ด็ ี ในกาลลว่ งไปแหง่ เรากด็ ี ใครกต็ าม จกั ตอ้ งมตี นเปน็ ประทปี มตี นเปน็ สรณะ ไมเ่ อาสงิ่ อน่ื เปน็ สรณะ มธี รรมเปน็ ประทปี มธี รรมเปน็ สรณะ ไมเ่ อาส่งิ อืน่ เป็นสรณะ เปน็ อย.ู่ อานนท ์ ! ภิกษพุ วกใด เปน็ ผ้ใู ครใ่ นสกิ ขา ภิกษพุ วกน้ัน จกั เปน็ ผอู้ ยู่ในสถานะ อนั เลิศทส่ี ดุ แล. อานนท์ ! ความขาดสูญแห่งกัลยาณวัตรน้ี มีในยุคแห่งบุรุษใด บุรุษน้ันชื่อว่า เป็นบรุ ุษคนสดุ ทา้ ยแห่งบรุ ษุ ท้ังหลาย... เราขอกลา่ วยา้� กะ เธอว่า... เธอท้งั หลายอยา่ เปน็ บรุ ุษคนสุดท้ายของเราเลย. เธอทั้งหลายอยา่ เปน็ บุรษุ คนสดุ ท้าย ของเราเลย -บาลี ม. ม. ๑๓/๔๒๗/๔๖๓.
พุทธวจน-หมวดธรรม 19 พทุ ธวจน-ปฎ ก วิทยุวัดนาปาพง
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๗ รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ ๑) หลกั ฐานสมยั พทุ ธกาล การใช้ พุทธวจน ที่มีความหมายถึงคำาสอนของ พระพทุ ธเจา้ มมี าตงั้ แตใ่ นสมยั พทุ ธกาล ดงั ปรากฏหลกั ฐาน ในพระวินัยปิฎก ว่าพระศาสดาให้เรียนพุทธวจน (ภาพท่ี ๑.๑ และภาพท่ี ๑.๒) ภาพท ่ี ๑.๑ ค�ำ อธบิ �ยภ�พ : ขอ้ ความสว่ นหนง่ึ จากพระไตรปฎิ ก ฉบบั ร.ศ. ๑๑๒ (จปร.อกั ษรสยาม) หนา้ ๖๔ ซง่ึ พระไตรปฎิ กภาษาไทย ฉบบั หลวง พ.ศ. ๒๕๒๕ เลม่ ท่ี ๗ พระวนิ ยั ปฎิ ก จลุ วรรค ภาค ๒ หนา้ ๔๕ ไดแ้ ปลเปน็ ภาษาไทยไวด้ งั น้ี [๑๘๐] ... ดูกรภกิ ษทุ ้ังหลาย ภกิ ษุไมพ่ งึ ยกพทุ ธวจนะข้ึนโดยภาษา สันสกฤต รูปใดยกข้ึน ต้องอาบัติทุกกฏ. ดูกรภิกษุท้ังหลาย เร�อนุญ�ตให้ เล�่ เรยี นพุทธวจนะตามภาษาเดิม. ทม่ี า : พระไตรปฎิ ก ฉบบั ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ.๒๔๓๖) พระวนิ ยปฏิ ก จลุ ล์ วคั ค์ เลม่ ๒ หนา้ ๖๔
ภาพท ่ี ๑.๒ คำ�อธบิ �ยภ�พ : คาำ แปลเปน็ ภาษาไทย ของภาพท่ี ๑.๑ จาก หนังสือ สารานุกรม พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ประมวลจาก พระนิพนธ์ สมเด็จ พ ร ะ ม ห า ส ม ณ เ จ้ า กรมพระยาวชริ ญาณ- วโรรส ทม่ี า : หนังสือ สารานกุ รมพระพุทธศาสนา ประมวลจากพระนพิ นธ์ สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส หนา้ ๖๙๖
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗ ๒) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๑ พุทธวจนะ มีปรากฏในหนังสือพงษาวดาร กรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาษามคธ แล คาำ แปล ซง่ึ แตง่ เปน็ ภาษามคธ เพอ่ื เฉลมิ พระเกยี รตเิ มอ่ื สงั คายนาในรชั กาลท ่ี ๑ เปน็ หนงั สอื ๗ ผูก ต้นฉบบั มีอย่ใู นวัดพระแก้ว กรงุ พนมเปญ ประเทศ กมั พชู า แปลเปน็ ภาษาไทยโดยพระยาพจนสนุ ทร คาำ นาำ ของ หนงั สอื เลม่ นี้ เปน็ พระนพิ นธใ์ นสมเดจ็ พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระยาดาำ รงราชานภุ าพ (ภาพที่ ๒.๑ และภาพที่ ๒.๒) ภาพท ่ี ๒.๑ ค�ำ อธิบ�ยภ�พ : ขอ้ ความส่วนหน่ึงจากหนังสือ พงษาวดาร กรงุ ศรอี ยุธยา ภาษามคธ แล คำาแปล หนา้ ๑
ภาพท ่ี ๒.๒ คำ�อธิบ�ยภ�พ : ข้อความส่วนหนึ่ง จากหนงั สอื พงษาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยา ภาษามคธ แล คาำ แปล หนา้ ๒ ทม่ี า : หนังสือ พงษาวดารกรงุ ศรีอยุธยา ภาษามคธ แล คาำ แปล
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗ ๓) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๔ พทุ ธวจน มปี รากฏในหนงั สอื พระคาถาสรรเสรญิ พระธรรมวนิ ยั พระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลท ่ี ๔ (ภาพท่ี ๓.๑) และปรากฏในหนังสือ ประชุมพระราชนิพนธ์ภาษาบาลี ในรชั กาลท ่ี ๔ ภาค ๒ (ภาพท่ี ๓.๒ และภาพท่ี ๓.๓) ภาพท ่ี ๓.๑ ทม่ี า : หนงั สอื พระคาถาสรรเสรญิ พระธรรมวนิ ยั พระราชนพิ นธ์ ในรชั กาลท่ี ๔ ทรงแปลเปน็ ภาษาไทยโดย สมเดจ็ พระสงั ฆราช วดั ราชประดษิ ฐ หนา้ ๒๕
พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี ๔ ภาพท ่ี ๓.๒ ภาพท ่ี ๓.๓ ทม่ี า : หนงั สอื ประชมุ พระราชนพิ นธภ์ าษาบาลี ในรชั กาลท่ี ๔ ภาค ๒ หนา้ ๑๘๐ และหนา้ ๑๘๓
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗ ๔) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๕ พทุ ธวจน มปี รากฏในหนงั สอื พระราชวจิ ารณ ์ เทยี บ ลทั ธพิ ระพทุ ธศาสนาหนิ ยานกบั มหายาน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ (ภาพท่ี ๔.๑), ปรากฏในหนังสือ พระราชหัตถเลขา พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีไปมากับ สมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส (ภาพท่ี ๔.๒ และภาพท่ี ๔.๓) และปรากฏในหนังสือ พระราชดำารัส ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๑๗ ถึง พ.ศ. ๒๔๕๓) จัดทำาโดย มูลนิธิสมเด็จ พระเทพรตั นราชสุดา (ภาพที่ ๔.๔) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ รชั กาลท่ี ๕ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส
ภาพท ่ี ๔.๑ ทม่ี า : หนงั สอื พระราชวจิ ารณ์ เทยี บลทั ธพิ ระพทุ ธศาสนาหนิ ยานกบั มหายาน พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ หนา้ ๑๘
ภาพท ่ี ๔.๒ ภาพท ่ี ๔.๓ ทม่ี า : หนงั สอื พระราชหตั ถเลขา พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงมไี ปมากบั สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส หนา้ ๑๐๒ และ ๑๐๙
ภาพท ่ี ๔.๔ ทม่ี า : หนงั สอื พระราชดาำ รสั ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั (ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๔๑๗ ถงึ พ.ศ. ๒๔๕๓) จดั ทาำ โดย มลู นธิ สิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๔ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ หนา้ ๑๐๐
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗ ๕) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๗ พทุ ธวจนะ มปี รากฏในราชกจิ จานเุ บกษา เลม่ ท่ี ๔๔ วนั ที่ ๔ มนี าคม ๒๔๗๐ เรอ่ื ง รายงานการสรา้ งพระไตรปฎิ ก โดย พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ กรมพระจนั ทบรุ นี ฤนาถ (ภาพท่ี ๕) ภาพท ่ี ๕ ทม่ี า : ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ ท่ี ๔๔ หนา้ ๓๙๓๙ วันท่ี ๔ มนี าคม ๒๔๗๐ เร่อื ง รายงานการสรา้ งพระไตรปิฎก
• ล�ำ ดบั ก�รสบื ทอดพทุ ธวจน รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธกาล รชั กาลท ่ี ๑ รชั กาลท ่ี ๔ รชั กาลท ่ี ๕ รชั กาลท ่ี ๗ ๖) หลกั ฐานสมยั รชั กาลท ่ี ๙ พทุ ธวจน มปี รากฏในราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั พเิ ศษ วันท่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๒๘ เร่ือง ประกาศสังคายนา พระธรรมวนิ ยั ตรวจชาำ ระพระไตรปฎิ ก (ภาพท่ี ๗) ภาพท ่ี ๖ ทม่ี า : ราชกจิ จานเุ บกษา ฉบบั พเิ ศษ หนา้ ๑๖ เลม่ ท่ี ๑๐๒ ตอนท่ี ๑๖๗ วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๘ เรอ่ื ง ประกาศสงั คายนาพระธรรมวนิ ยั ตรวจชาำ ระพระไตรปฎิ ก
ประตูนครแห่งความไม่ตาย ตถาคตเปิดโล่งไว้แล้ว เพ่ือสัตว์ท้ังหลายเข้าถึงถ่ินอันเกษม. กระแสแห่งมารผู้มีบาป ตถาคตปิดก้ันเสียแล้ว ก�ำจัดเสียแล้ว ท�ำให้หมดพิษสงแล้ว. ภิกษุท้ังหลาย เธอทั้งหลายจงเป็นผู้มากมูนด้วยปราโมทย์ ปรารถนาธรรมอันเกษมจากโยคะเถิด. - บาลี ม. ม. ๑๓/๔๖๔/๕๑๑.
อานนท์ ! บคุ คลบางคนในโลกนี้ เป็นผทู้ ศุ ลี , เปน็ ผ้มู ศี ีล, เปน็ ผมู้ ีราคะกล้า, เปน็ ผ้มู ักโกรธ, เปน็ ผฟู้ งุ้ ซ่าน และไมร่ ู้ชัด ซงึ่ เจโตวิมตุ ติ ปัญญาวิมุตต ิ อนั เปน็ ทด่ี ับโดยไม่เหลือ แหง่ ความเป็นผทู้ ศุ ลี , เปน็ ผู้มีศลี , เป็นผู้มีราคะกลา้ , เปน็ ผูม้ ักโกรธ, เป็นผูฟ้ งุ้ ซา่ น ของเขาตามความเป็นจริง บคุ คลนน้ั ไมก่ ระทา� กจิ แมด้ ว้ ยการฟงั ไมก่ ระทา� กจิ แมด้ ว้ ยความเปน็ พหสู ตู ไมแ่ ทงตลอดแมด้ ว้ ยความเหน็ ยอ่ มไมไ่ ดว้ มิ ตุ ตแิ มอ้ นั เกดิ ในสมยั เมอื่ ตายไป เขายอ่ มไปทางเสอ่ื ม ไมไ่ ปทางเจรญิ ยอ่ มถงึ ความเสอื่ ม ไมถ่ งึ ความเจรญิ ... อานนท์ ! สว่ นบคุ คลบางคนในโลกนี้ เปน็ ผทู้ ศุ ลี , เปน็ ผมู้ ศี ลี , เปน็ ผมู้ รี าคะกลา้ , เปน็ ผมู้ กั โกรธ, เปน็ ผฟู้ งุ้ ซา่ น แตร่ ชู้ ดั ซงึ่ เจโตวมิ ตุ ต ิ ปญั ญาวิมตุ ติ อนั เป็นที่ดบั โดยไม่เหลอื แห่งความเป็นผู้ทุศลี , เป็นผูม้ ศี ีล, เปน็ ผ้มู ีราคะกล้า, เป็นผู้มักโกรธ, เปน็ ผ้ฟู ุ้งซา่ น ของเขาตามความเป็นจริง บคุ คลน้นั กระทา� กิจแมด้ ว้ ยการฟัง กระทา� กจิ แมด้ ้วยความเป็นพหูสตู แทงตลอดดว้ ยดีแม้ด้วยความเห็น ยอ่ มได้วมิ ตุ ติแม้อนั เกดิ ในสมัย เมอื่ ตายไป เขายอ่ มไปทางเจรญิ ไม่ไปทางเสอื่ ม ยอ่ มถึงความเจรญิ อย่างเดียว ไม่ถงึ ความเสอื่ ม ... เพราะกระแสแหง่ ธรรมย่อมถูกตอ้ งบคุ คลนี้ ใครเล่าจะพงึ รูเ้ หตนุ น้ั ได้ นอกจากตถาคต อานนท์ ! เพราะเหตนุ ้นั แหละ เธอท้งั หลาย อยา่ ไดเ้ ป็นผู้ชอบประมาณในบุคคล และอยา่ ได้ถอื ประมาณในบคุ คล เพราะผู้ถือประมาณในบคุ คลย่อมท�าลายคณุ วิเศษของตน เราหรือผทู้ ีเ่ หมือนเราพึงถอื ประมาณในบุคคลได้ ... . -บาลี ทสก. อ.ํ ๒๔/๑๔๗/๗๕.
ภิกษทุ ั้งหลาย ! ภกิ ษุในธรรมวินัยน้ี ยอ่ มเล่าเรยี นธรรม คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณะ คาถา อุทาน อติ วิ ุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม เวทลั ละ ธรรมเหล่านน้ั เปน็ ธรรมอนั ภิกษนุ ้นั ฟงั เนอื งๆ คล่องปาก ข้ึนใจ แทงตลอดดว้ ยดี ด้วยความเห็น เธอมสี ตหิ ลงลมื เมือ่ กระทา� กาละ ยอ่ มเข้าถงึ เทพนกิ ายหมู่ใดหมู่หน่ึง บทแห่งธรรมทั้งหลาย ย่อมปรากฏแกเ่ ธอ ผมู้ คี วามสุขในภพน้ัน สตบิ ังเกิดข้ึนช้า แตส่ ตั ว์นั้น ยอ่ มเป็นผูบ้ รรลคุ ุณวิเศษเรว็ พลนั ... . -บาลี จตุกฺก. อํ. ๒๑/๒๕๑/๑๙๑. ขอ้ มลู ธรรมะนี้ จดั ทำ�เพอื่ ประโยชน์ท�งก�รศกึ ษ�สสู่ �ธ�รณชนเปน็ ธรรมท�น ลขิ สิทธ์ใิ นต้นฉบับนีไ้ ด้รับก�รสงวนไว้ ในก�รจะจดั ทำ� หรอื เผยแผ่ โปรดใชค้ ว�มละเอยี ดรอบคอบ เพอ่ื รกั ษ�คว�มถกู ตอ้ งของขอ้ มลู ใหข้ ออนญุ �ตเปน็ ล�ยลกั ษณอ์ กั ษรและปรกึ ษ�ด�้ นขอ้ มลู ในการจดั ทาำ เพอ่ื ความสะดวกและประหยดั ตดิ ตอ่ ไดท้ ่ี มลู นธิ พิ ทุ ธโฆษณ์ โทร. ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐ - ๙๔ คุณศรช� โทร. ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คุณอ�รีวรรณ โทร. ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ตดิ ต�มก�รเผยแผพ่ ระธรรมค�ำ สอนต�มหลกั พทุ ธวจน โดยพระอ�จ�รยค์ กึ ฤทธ์ิ โสตถฺ ผิ โล ไดท้ ่ี www.watnapp.com | media.watnapahpong.org | www.buddhakos.org Facebook : Buddhawajana Real | YouTube : Buddhawajana Real Instagram : Buddhawajana Real | Facebook : coursesappaya คลื่น ส.ว.พ. FM 91.0 MHz ทุกวนั พระ ชว่ งบ่�ย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148