พุทธวจน ธรรมตามรอย
ภิกษุทงั้ หลาย ! สว่ นสุตตันตะเหล่าใด ทเ่ี ปน็ ค�าของตถาคต เปน็ ขอ้ ความลึก มีความหมายซ้ึง เปน็ ชน้ั โลกตุ ตระ ว่าเฉพาะด้วยเร่อื งสุญญตา เมอื่ มผี ูน้ �าสุตตันตะเหล่าน้นั มากลา่ วอยู่ เธอย่อมฟงั ดว้ ยดี ย่อมเงยี่ หูฟัง ยอ่ มตั้งจิตเพ่ือจะรู้ทั่วถงึ และย่อมส�าคญั ว่า เปน็ สงิ่ ทต่ี นควรศึกษาเล่าเรียน จงึ พากันเลา่ เรียน ไต่ถาม ทวนถามแก่กันและกันอย่วู ่า ข้อน้เี ป็นอยา่ งไร มคี วามหมายกน่ี ยั ดังน้.ี ดว้ ยการทา� ดงั นี้ เธอย่อมเปิดธรรมท่ถี ูกปิดไว้ได้. ธรรมทยี่ งั ไมป่ รากฏ เธอกท็ �าให้ปรากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการทีน่ ่าสงสยั เธอก็บรรเทาลงได้. -บาลี ทกุ . อ.ํ ๒๐/๙๑/๒๙๒.
พุทธวจน ตามสรภุ ัททอะ! ยธรรม ในธรรมวินัยนี้แล มีอริยมรรคมีองค์ ๘... ถา้ ภิกษุทั้งหลายเหลา่ นี้ พงึ อยโู่ ดยชอบไซร้วาเสฏฐะ ! พวกเธอแล มชี าโตลิตกา่ กง็จกะนั ไมม่วนี า่ างมจตา่ากงพกรันะอมรีโหคันตตรตท์ า่ง้ั งหกลนั ายม.สี กลุ ต่างกนั ออกบวชจากเรอื นเป็นผู้ไมห่ วังเกย่ี วข้องดว้ ยเรอื นแล้ว ใครก็ตอาามนน“จทเร์ัก!าตทใ้อเนง้ั มงหกไ่อื มามลถลเ่ ูกาตีอบเยาขนดั สานเงิ่เถป้ีกปอาด็นื่น็มน็ ีเวใสปปน่ามน็ กร“สณาะพรลทณสวลกา่วะปีพทงกวไา่ยปมกนปแเเีตธปหุตอนน็ง่ กตเใเร็ปิยคปาฏระกน็ญิ ”?ด็ ”าีดสณดังรังนวณนา่ .้ี ้ี ะ มีธรรมเปน็ ประทปี มธี รรมเป็นสรณะ ไม่เอาส่งิ อ่ืนเป็นสรณะ. อานนท์ ! ภิกษุพวกใด เป็นผ้ใู ครใ่ นสิกขา อนึง่ ศรัทธาภขกิองษผพุู้ใดวแลกตน้ังมัน้ ั่นใจนักตถเปาค็นตผู้อยใู่ นสถานะอนั เลิศท่ีสุดแล. ฝงั ลงรากแลว้ ดำ�รงอยไู่ ด้ม่ันคง อนั สมณะหรอื พราหม-บณาล์ เี มทหวาด. ทา.ี ๑ม๐า/๑ร๗พ๕/ร๑ห๓๘ม.ห, -รบอื าใลคี มรหๆาวใารน. โสลํ. ๑ก๙ก/๒็ต๑า๗ม/๗๔๐. ไม่ชักนำ�ไปทางอ่นื ได้ ผู้นน้ั ควรท่ีจะกล่าวอย่างนี้ว่า “เราเปน็ บตุ ร เปน็ โอรส เกดิ จากพระโอษฐข์ องพระผมู้ พี ระภาคเจา้ เกิดโดยธรรม เนรมติ โดยธรรม เป็นทายาทโดยธรรม”ดงั น้.ี -บาลี ปา. ที. ๑๑/๙๑/๕๕.
พทุ ธวจน -หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปดิ ๑ฉบับ ตามรอยธรรม พุทธวจนสถาบัน รว่ มกนั มงุ่ มน่ั ศกึ ษา ปฏบิ ตั ิ เผยแผค่ �ำ ของตถาคต
พุทธวจน ฉบบั ๑ ตามรอยธรรม ข้อมูลธรรมะนี้ จัดทำ�เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาสู่สาธารณชน เป็นธรรมทาน ลขิ สทิ ธใิ์ นตน้ ฉบับนี้ได้รบั การสงวนไว้ ในการจะจดั ท�ำ หรือเผยแผ่ โปรดใชค้ วามละเอียดรอบคอบ เพ่ือรกั ษาความถกู ตอ้ งของข้อมูล ใหข้ ออนญุ าตเป็นลายลักษณอ์ กั ษร และปรกึ ษาด้านข้อมูลในการจดั ท�ำ เพ่ือความสะดวกและประหยดั ติดต่อได้ที่ มลู นิธิพทุ ธโฆษณ ์ โทรศพั ท์ ๐๘ ๒๒๒๒ ๕๗๙๐-๙๔ มูลนิธพิ ทุ ธวจน โทรศัพท์ ๐๘ ๑๔๕๗ ๒๓๕๒ คุณศรชา โทรศัพท ์ ๐๘ ๑๕๑๓ ๑๖๑๑ คณุ อารวี รรณ โทรศพั ท์ ๐๘ ๕๐๕๘ ๖๘๘๘ ปที ่ีพมิ พ์ ๒๕๖๓ ศิลปกรรม ปรญิ ญา ปฐวนิ ทรานนท,์ วิชชุ เสรมิ สวสั ดศิ์ รี, ณรงค์เดช เจริญปาละ จัดทำ�โดย มลู นธิ ิพุทธโฆษณ์ (เวบ็ ไซต์ www.buddhakos.org)
มลู นธิ ิพทุ ธโฆษณ์ เลขที่ ๒๙/๓ หมทู่ ่ี ๗ ตำ�บลบึงทองหลาง อ�ำ เภอล�ำ ลูกกา จงั หวัดปทมุ ธานี ๑๒๑๕๐ โทรศัพท์ /โทรสาร ๐ ๒๕๔๙ ๒๑๗๕ เว็บไซต์ : www.buddhakos.org
คำ�อนโุ มทนา ขออนุโมทนา กับคณะผจู้ ัดทำ� หนังสือพุทธวจน ฉบบั “ตามรอยธรรม” ในเจตนาอนั เปน็ กุศล ทีม่ ีความ ต้ังใจเผยแผ่คำ�สอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้าที่ออกจาก พระโอษฐ์ของพระองคเ์ อง เพ่อื ใหผ้ สู้ นใจได้ศกึ ษาและ นำ�มาปฏิบัติเพื่อให้ถึงความพ้นทุกข์ ด้วยการกระทำ� อันเป็นกศุ ลนี้ ขอให้เปน็ เหตเุ ป็นปจั จยั ให้ผู้มีส่วนร่วม ในการทำ�หนังสอื เล่มนี้ และผู้ท่ีได้อ่าน ได้ศกึ ษา พงึ เกิด ปัญญา ได้ดวงตาเห็นธรรม พ้นทุกขใ์ นชาตนิ ี้เทอญ ขออนโุ มทนา ภิกขคุ ึกฤทธิ์ โสตฺถผิ โล
ค�ำน�ำ หนังสือ “พุทธวจน ฉบับ ตามรอยธรรม” ไดจ้ ดั ท�ำขนึ้ ดว้ ยปรารภเหตทุ ว่ี า่ หลายคนยงั เหน็ ค�ำสอนของ พระผูม้ พี ระภาคเจ้าวา่ เปน็ สิง่ ทยี่ าก หรือเป็นส่งิ ท่ีไกลตวั เกนิ ไป ท�ำให้มนี ้อยคนนักท่จี ะหันมาใส่ใจศกึ ษาค�ำสอนของ พระผู้มีพระภาคเจ้าอย่างจริงจัง ท้ังๆ ทพี่ ระองค์ไดต้ รสั ไว้ แลว้ ว่า ค�ำสอนท่ีพระองค์ตรสั สอนทงั้ หมดน้นั บริสทุ ธ์ิ บรบิ ูรณแ์ ล้วสิ้นเชิง อกี ท้งั ค�ำสอนนนั้ ยังเปน็ สิ่งท่ีเรยี กว่า “อกาลโิ ก” คือใชไ้ ด้ไปตลอด ไมม่ ีค�ำว่าเก่าหรือลา้ สมัย และใช้ได้กบั บคุ คลทุกคน อนั จะเห็นได้จากในสมยั พทุ ธกาล ท่ีพุทธบรษิ ัท ๔ ท้ังหลายนั้น มคี นจากหลายชาตแิ ละวรรณะ นอกจากนพ้ี ระองคย์ งั ไดต้ รสั อกี วา่ บคุ คลทท่ี า่ นตรสั สอนนน้ั มตี ง้ั แต่ พรหม เทวดา ภกิ ษุ ภกิ ษณุ ี อบุ าสก อบุ าสกิ า ไปจนถึง ปุถุชนคนธรรมดาท่ัวไป และทุกคนนั้น เมื่อน�ำค�ำสอน ของพระองคไ์ ปปฏบิ ตั ิแล้ว ก็สามารถแกท้ กุ ข์หรือดับทุกข์ ใหก้ ับตนเองไดท้ งั้ ส้ิน คณะงานธมั มะ วดั นาปา่ พง มิถุนายน ๒๕๕๔
อักษรย่อ เพอื่ ความสะดวกแกผ่ ทู้ ่ียงั ไมเ่ ขา้ ใจเร่อื งอกั ษรยอ่ ทใี่ ช้หมายแทนชื่อคมั ภรี ์ ซงึ่ มีอย่โู ดยมาก มหาวิ. ว.ิ มหาวภิ ังค์ วนิ ัยปิฎก. ภิกฺขุน.ี ว.ิ ภกิ ขุนีวภิ งั ค์ วนิ ยั ปฎิ ก. มหา. วิ. มหาวรรค วินัยปฎิ ก. จุลลฺ . ว.ิ จลุ วรรค วนิ ัยปิฎก. ปริวาร. วิ. ปริวารวรรค วนิ ัยปฎิ ก. สี. ที. สีลขันธวรรค ทฆี นกิ าย. มหา. ท.ี มหาวรรค ทฆี นกิ าย. ปา. ที. ปาฏิกวรรค ทีฆนกิ าย. ม.ู ม. มูลปัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. ม. ม. มัชฌมิ ปัณณาสก์ มชั ฌมิ นกิ าย. อปุ ร.ิ ม. อุปรปิ ัณณาสก์ มชั ฌิมนิกาย. สคาถ. ส.ํ สคาถวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. นทิ าน. ส.ํ นทิ านวรรค สงั ยตุ ตนกิ าย. ขนธฺ . ส.ํ ขันธวารวรรค สงั ยุตตนิกาย. สฬา. ส.ํ สฬายตนวรรค สังยุตตนิกาย. มหาวาร. ส.ํ มหาวารวรรค สังยุตตนกิ าย. เอก. อ.ํ เอกนิบาต อังคุตตรนกิ าย. ทุก. อํ. ทกุ นบิ าต องั คตุ ตรนิกาย. ติก. อ.ํ ตกิ นิบาต อังคตุ ตรนิกาย. จตกุ กฺ . อํ. จตกุ กนบิ าต องั คตุ ตรนิกาย.
ปญจฺ ก. อํ. ปญั จกนิบาต อังคตุ ตรนิกาย. ฉกกฺ . อ.ํ ฉกั กนิบาต อังคตุ ตรนิกาย. สตฺตก. อํ. สตั ตกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย อฏฺก. อํ. อฏั ฐกนิบาต องั คตุ ตรนกิ าย. นวก. อํ. นวกนิบาต องั คตุ ตรนิกาย. ทสก. อํ. ทสกนบิ าต องั คตุ ตรนกิ าย. เอกาทสก. อ.ํ เอกาทสกนบิ าต อังคุตตรนกิ าย. ขุ. ขุ. ขุททกปาฐะ ขทุ ทกนิกาย. ธ. ขุ. ธรรมบท ขทุ ทกนกิ าย. อุ. ขุ. อทุ าน ขุททกนิกาย. อติ วิ ุ. ข.ุ อิตวิ ตุ ตกะ ขทุ ทกนิกาย. สุตตฺ . ข.ุ สุตตนิบาต ขทุ ทกนกิ าย. วมิ าน. ขุ. วิมานวตั ถุ ขทุ ทกนิกาย. เปต. ขุ. เปตวัตถุ ขุททกนกิ าย. เถร. ข.ุ เถรคาถา ขทุ ทกนิกาย. เถรี. ข.ุ เถรีคาถา ขทุ ทกนิกาย. ชา. ข.ุ ชาดก ขุททกนกิ าย. มหานิ. ขุ. มหานทิ เทส ขุททกนิกาย. จูฬนิ. ขุ. จฬู นทิ เทส ขุททกนิกาย. ปฏสิ ม.ฺ ข.ุ ปฏิสมั ภทิ ามรรค ขทุ ทกนิกาย. อปท. ขุ. อปทาน ขทุ ทกนกิ าย. พทุ ธฺ ว. ขุ. พุทธวงส์ ขทุ ทกนิกาย. จริยา. ขุ. จรยิ าปฎิ ก ขุททกนกิ าย ตัวอยา่ ง : ๑๔/๑๗๑/๒๔๕ ให้อ่านว่า ไตรปิฎกฉบับสยามรฐั เล่ม ๑๔ หน้า ๑๗๑ ข้อท่ี ๒๔๕
สารบญั 1. เนื้อแท้ทีไ่ มอ่ นั ตรธาน 1 2. ผชู้ ีข้ มุ ทรพั ย์ ! 3 3. ทรงแสดงเรอ่ื งที่เปน็ ไปไดย้ ากเกยี่ วกบั พระองค์เอง 5 4. พระพทุ ธเจา้ ทัง้ ในอดตี อนาคต 7 และในปัจจุบัน ลว้ นแตต่ รัสรูอ้ รยิ สัจสี่ 9 5. พระพทุ ธองค์ ทรงพระนามวา่ 11 “อรหันตสัมมาสัมพทุ ธะ” ก็เพราะได้ตรสั รอู้ ริยสัจส่ี 13 6. จงสงเคราะห์ผู้อ่ืนดว้ ยการให้รู้อรยิ สัจ 16 7. อรยิ สัจสโ่ี ดยสังเขป (ทรงแสดงดว้ ยความยึดในขนั ธ์หา้ ) 19 8. การร้อู รยิ สจั สี่ ทำ�ให้มตี าสมบรู ณ์ 21 9. การสนทนากับพระอานนท์เรอื่ งกลั ยาณมิตร 23 10. กลั ยาณมิตรของพระองค์เอง 29 11. ขยายความแหง่ อริยมรรคมอี งคแ์ ปด 30 12. โลกจะไมว่ ่างจากพระอรหนั ต์ 13. ความเหมือนและความแตกตา่ ง 32 33 ระหว่างสัมมาสัมพุทธะ กับ ภกิ ษผุ ปู้ ญั ญาวิมตุ ติ 14. ไม่ไดท้ รงประพฤติพรหมจรรย์เพ่อื ใหเ้ ขานับถือ 15. ทรงสอนเฉพาะแตเ่ รือ่ งทุกขก์ บั ความดบั สนิทของทกุ ข์
16. ค�ำ ของพระองคต์ รงเปน็ อันเดยี วกนั หมด 35 17. หลกั ที่ทรงใชใ้ นการตรสั (๖ อย่าง) 36 18. สิง่ ทตี่ รัสร้แู ต่ไม่ทรงน�ำ มาสอน 39 มีมากกวา่ ทท่ี รงน�ำ มาสอนมากนัก 41 19. ถ้ามวั รอใหร้ เู้ รือ่ งที่ไมจ่ �ำ เป็นเสียก่อนกต็ ายเปล่า 43 20. คำ�สอนที่ทรงสง่ั สอนบ่อยมาก 45 21. ล�ำ ดบั การหลดุ พ้น เมอ่ื เห็นไตรลกั ษณ์ 47 22. ผู้ไมเ่ ข้าไปหา ยอ่ มหลุดพ้น 51 23. มนุษย์เป็นอนั มาก ได้ยดึ ถอื เอาทพี่ ึง่ ผดิ ๆ 52 24. จงเจริญสมาธิ จักรู้อริยสจั ตามเป็นจรงิ 53 25. ทรงมหี ลักเกณฑ์การฝกึ ตามล�ำ ดับ (อยา่ งย่อ) 59 26. ทรงเป็นพีเ่ ลยี้ งให้แกส่ าวกช่ัวระยะจ�ำ เป็น 61 27. ทรงฆ่าผู้ท่ไี ม่รับการฝึก 65 28. ตถาคตเป็นเพยี งผูบ้ อกทางเท่านั้น 68 29. ทอ่ นไมท้ ่ลี อยออกไปไดถ้ งึ ทะเล 72 30. กระดองของบรรพชิต 75 31. ผมู้ หี ลักเสาเข่อื น 79 32. วหิ ารธรรมทที่ รงอยมู่ ากทส่ี ุดก่อนตรัสรู้ 85 33. วิหารธรรมทท่ี รงอยมู่ ากตลอดพรรษา 87 และทรงสรรเสรญิ มาก 34. ผไู้ มป่ ระมาทในความตายแทจ้ รงิ
35. ทางรอดส�ำ หรบั ภกิ ษุไข้ 89 36. เมื่อ “เธอ” ไม่มี ! 91 37. ความดบั ทุกขม์ ี เพราะความดับแหง่ นนั ทิ 92 38. อาการดับแหง่ ตณั หาในนามแหง่ นันทิ 93 39. ผ้แู บกของหนัก 95 40. ดบั ตัณหา คือปลงภาระหนักลงได้ 97 41. ต้องท่องเทย่ี วมาแลว้ เพราะไม่รอู้ รยิ สัจสี่ 99 42. ท่ีสดุ แหง่ การทอ่ งเท่ยี วของพระองค์ 100 43. “สิง่ นัน้ ” หาพบในกายน้ี 102 44. ทรงมีความชราทางกายภาพเหมอื นคนทั่วไป 103 45. ทรงประกาศธรรมเน่อื งด้วยการปลงอายุสังขาร 105 46. ผู้ใดเห็นธรรม ผู้นน้ั เห็นเรา 107 47. ถงุ ธรรม 109 48. การปรินิพพานในปัจจุบนั 111 49. ต้ังหนา้ ทำ�กแ็ ล้วกนั 113 50. ทรงเปน็ ผเู้ อ็นดเู กอ้ื กลู แก่สรรพสตั ว์ทั้งปวง 115 51. อานิสงสแ์ หง่ การฟงั ธรรมเนอื งๆ 119
หมายเหตผุ ูร้ วบรวม เน้อื หาของหนังสอื เลม่ น้ี บางส่วนไดป้ รับสำ�นวนต่าง จากฉบับหลวง โดยเทียบเคียงจากทุกสำ�นัก (ฉบับสยามรัฐ, ฉบับหลวง, ฉบับมหามงกุฏฯ, ฉบับมหาจุฬาฯ, ฉบับเฉลมิ พระเกยี รติ, ฉบบั สมาคมบาลปี กรณ์แห่งประเทศองั กฤษ) เพือ่ ใหส้ อดรับกบั บาลี และความเชอ่ื มโยงของพทุ ธวจนใหม้ ากที่สุด
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถูกปดิ : ตามรอยธรรม เน้ือแท้ที่ไม่อันตรธาน 01 -บาลี ทกุ . อํ. ๒๐/๙๒/๒๙๒. ภกิ ษุทัง้ หลาย ! พวกภกิ ษุบริษัทในกรณีนี้ สุตตนั ตะเหลา่ ใด ทีก่ วแี ตง่ ขน้ึ ใหม่ เปน็ คำ�รอ้ ยกรองประเภทกาพยก์ ลอน มอี กั ษรสละสลวย มีพยัญชนะอันวจิ ิตร เปน็ เรอื่ งนอกแนว เป็นค�ำ กลา่ วของสาวก เมื่อมผี ้นู �ำ สุตตนั ตะเหล่านนั้ มากล่าวอยู่ เธอจักไมฟ่ ังด้วยดี ไม่เงีย่ หฟู งั ไมต่ ั้งจติ เพือ่ จะรทู้ ่วั ถึง และจกั ไม่สำ�คัญว่าเป็นสิ่งทตี่ นควรศกึ ษาเลา่ เรียน. ส่วนสุตตันตะเหลา่ ใดทเ่ี ปน็ คำ�ของตถาคต เป็นขอ้ ความลกึ มีความหมายซงึ้ เปน็ ช้ันโลกตุ ตระวา่ เฉพาะเรือ่ งสุญญตา เมอื่ มีผู้นำ�สุตตันตะเหลา่ น้ันมากลา่ วอยู่ เธอยอ่ มฟงั ดว้ ยดี ยอ่ มเงย่ี หฟู งั ยอ่ มตง้ั จติ เพอ่ื จะรทู้ ว่ั ถงึ และยอ่ มส�ำ คญั วา่ เปน็ สง่ิ ทต่ี นควรศกึ ษาเลา่ เรยี น. 1
พทุ ธวจน - หมวดธรรม จึงพากันเล่าเรียน ไต่ถาม ทวนถามแก่กันและกันอยู่ว่า ขอ้ นี้เป็นอยา่ งไร ? มีความหมายกน่ี ัย ?” ดังนี้. ดว้ ยการท�ำ ดังนี้ เธอยอ่ มเปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ ไวไ้ ด ้ ธรรมท่ยี ังไม่ปรากฏ เธอก็จะท�ำ ใหป้ รากฏได้ ความสงสยั ในธรรมหลายประการทน่ี า่ สงสัย เธอก็บรรเทาลงได.้ ภิกษุทัง้ หลาย ! ภิกษบุ รษิ ทั เหลา่ น้ี เราเรยี กวา่ บริษัทที่มีการลลุ ว่ งไปได้ ด้วยการสอบถามแกก่ ันและกันเอาเอง หาใช่ดว้ ยการชแ้ี จงโดยกระจ่าง ของบุคคลภายนอกเหล่าอื่นไม่ (ปฏิปจุ ฺฉาวนิ ีตา ปริสา โน อุกฺกาจติ วินตี า) จัดเปน็ บริษัทท่ีเลิศ แล. 2
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมทถี่ ูกปิด : ตามรอยธรรม ผูช้ ข้ี มุ ทรพั ย์ ! 02 -บาลี อปุ ริ. ม. ๑๔/๒๔๕/๓๕๖., -บาลี ธ. ข.ุ ๒๕/๒๕/๑๖. อานนท ์ ! เราไม่พยายามทำ�กะพวกเธอ อยา่ งทะนุถนอม เหมอื นพวกชา่ งหมอ้ ทำ�แก่หม้อ ท่ียังเปียก ยงั ดิบอยู่ อานนท์ ! เราจักขนาบแลว้ ขนาบอกี ไมม่ หี ยุด อานนท์ ! เราจักชโี้ ทษแล้ว ชโ้ี ทษอีก ไมม่ ีหยุด ผใู้ ดมีมรรคผลเป็นแก่นสาร ผนู้ ้ันจกั ทนอยไู่ ด้. คนเรา ควรมองผมู้ ปี ญั ญาใดๆ ทค่ี อยชโ้ี ทษ คอยกลา่ ว คำ�ขนาบอยู่เสมอไป วา่ คนนั้นแหละ คอื ผชู้ ี้ขมุ ทรพั ย์ ควรคบบณั ฑิตท่ีเป็นเช่นน้ัน เม่อื คบหากับบณั ฑติ ชนิดนน้ั อยู่ ย่อมมแี ต่ดีท่าเดียว ไมม่ ีเลวเลย. 3
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมท่ีถกู ปดิ : ตามรอยธรรม ทรงแสดงเรือ่ งท่ีเปน็ ไปได้ยาก 03 เก่ยี วกบั พระองคเ์ อง -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๖๘/๑๗๔๔. ภิกษุทั้งหลาย ! สมมตวิ า่ มหาปฐพอี นั ใหญห่ ลวง นม้ี นี ำ�้ ทว่ มถงึ เปน็ อนั เดยี วกนั ทงั้ หมด บรุ ษุ คนหนงึ่ ทงิ้ แอก (ไม้ไผ่ ?) ซึ่งมีรูเจาะได้เพียงรูเดียว ลงไปในน�้ำน้ัน ลมตะวันออกพัดใหล้ อยไปทางทศิ ตะวนั ตก ลมตะวนั ตก พดั ใหล้ อยไปทางทศิ ตะวนั ออก ลมทศิ เหนอื พดั ใหล้ อยไป ทางทศิ ใต้ ลมทิศใตพ้ ดั ใหล้ อยไปทางทิศเหนือ อย่ดู ังน.ี้ ในนำ้� นนั้ มเี ตา่ ตวั หนง่ึ ตาบอด ลว่ งไปรอ้ ยๆ ปี มนั จะผดุ ขนึ้ มาครงั้ หนง่ึ ๆ. ภิกษทุ ัง้ หลาย ! เธอทง้ั หลาย จะส�ำคญั ความขอ้ นวี้ า่ อยา่ งไร จะเปน็ ไปไดไ้ หมทเ่ี ตา่ ตาบอด รอ้ ยปี จงึ จะผดุ ขน้ึ มาสกั ครง้ั หนง่ึ จะพงึ ยน่ื คอ เขา้ ไปในรู ซงึ่ มอี ยู่ เพยี งรเู ดยี วในแอกนน้ั ? “ขอ้ นย้ี ากทจ่ี ะเป็นไปได้ พระเจ้าขา้ ! ท่เี ต่าตาบอดน้นั รอ้ ยปผี ุดข้ึนเพียงคร้ังเดยี ว จะพึงย่ืนคอเขา้ ไปในรู ซ่งึ มีอยู่เพียง รเู ดียวในแอกนั้น”. 5
พุทธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ยากทจี่ ะเปน็ ไปได้ฉนั เดยี วกนั ทีใ่ ครๆ จะพึงได้ความเป็นมนุษย์ ยากท่ีจะเป็นไปไดฉ้ ันเดยี วกัน ทต่ี ถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ จะเกดิ ขน้ึ ในโลก ยากทจี่ ะเปน็ ไปไดฉ้ นั เดยี วกัน ทธ่ี รรมวนิ ยั อนั ตถาคตประกาศแลว้ จะรงุ่ เรอื งไปทว่ั โลก. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! แตว่ า่ บดั นค้ี วามเปน็ มนษุ ยก์ ไ็ ดแ้ ลว้ ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ กบ็ งั เกดิ ขน้ึ ในโลกแลว้ และ ธรรมวนิ ยั อนั ตถาคตประกาศแลว้ กร็ งุ่ เรอื งไปทว่ั โลกแลว้ . ภิกษุทง้ั หลาย ! เพราะเหตุน้ันในกรณีนี้ พวกเธอพงึ กระทำ�โยคกรรมเพือ่ ให้รูว้ า่ “น้ี ทุกข์ นี้ เหตุให้เกดิ ทุกข์ น้ี ความดบั แห่งทกุ ข์ น้ี หนทางให้ถึงความดบั แห่งทกุ ข์” ดังนีเ้ ถดิ . 6
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ ูกปิด : ตามรอยธรรม พระพทุ ธเจา้ ทง้ั ในอดตี อนาคต 04 และในปจั จบุ นั ลว้ นแตต่ รสั รอู้ รยิ สจั ส่ี -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๓/๑๗๐๔. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ องคใ์ ดๆ ไดต้ รสั รตู้ ามเปน็ จรงิ ไปแลว้ ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอดตี ทา่ นทงั้ หลายเหลา่ น้ัน ได้ตรัสรตู้ ามเปน็ จริง ซ่งึ ความจริง อนั ประเสริฐสอ่ี ย่าง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธเจา้ องคใ์ ดๆ จกั ไดต้ รสั รตู้ ามเปน็ จรงิ ตอ่ ในกาลยดื ยาวนานฝา่ ยอนาคต ทา่ นทง้ั หลายเหลา่ นน้ั กจ็ กั ไดต้ รสั รตู้ ามเปน็ จรงิ ซง่ึ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สีอ่ ย่าง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! แมพ้ ระอรหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ผตู้ รสั รู้ ตามเป็นจรงิ อยู่ ในกาลเป็นปจั จบุ นั น้ี ก็ไดต้ รัสรู้อยู่ซ่งึ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สอ่ี ยา่ ง. 7
พุทธวจน - หมวดธรรม ความจรงิ อนั ประเสริฐสี่อย่างน้ัน เหลา่ ไหนเล่า ? สี่อย่างคือ ความจรงิ อันประเสริฐคอื ทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสริฐคือ เหตใุ หเ้ กดิ ทุกข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข์ และความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข.์ ภิกษทุ งั้ หลาย ! เพราะเหตุนน้ั ในกรณนี ้ี พวกเธอพงึ ท�ำ ความเพยี ร เพอ่ื ใหร้ ตู้ ามเปน็ จรงิ วา่ “น ้ี เป็นทุกข์ น ้ี เปน็ เหตุใหเ้ กดิ ทกุ ข์ น ี้ เป็นความดบั ไม่เหลอื ของทกุ ข์ น ้ี เปน็ ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข”์ ดงั นเี้ ถดิ . 8
พุทธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ตามรอยธรรม กพ“อเ็รพระหรพานัุทะตธไสดอมั้ตงคมรัส์าทรสร้อูมั งรพพยิ ุทรสะธจั นะส”า่ี มวา่ 05 -บาลี มหาวาร. ส.ํ ๑๙/๕๔๓/๑๗๐๓. ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐส่อี ย่าง เหลา่ น้ี สอ่ี ย่างเหลา่ ไหนเลา่ ? สอี่ ยา่ งคอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ และความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไม่เหลือของทุกข์ นี้แล ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สอ่ี ย่าง. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! เพราะไดต้ รสั รตู้ ามเปน็ จรงิ ซง่ึ ความจริงอันประเสริฐสี่อย่างเหล่านี้ ตถาคต จึงมีนาม อันบัณฑิตกล่าวว่า “อรหันตสัมมาสัมพุทธะ”. 9
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุทง้ั หลาย ! เพราะเหตนุ ั้นในกรณนี ี้ พวกเธอพึงท�ำ ความเพยี รเพอ่ื ใหร้ ู้ตามเป็นจรงิ ว่า “นเ้ี ป็นทกุ ข์ นี้เปน็ เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข์ นเี้ ป็นความดับไม่เหลอื ของทุกข์ และนี้เป็นทางดำ�เนินให้ถึงความดับไม่เหลือของทุกข์” ดังนี้เถดิ . 10
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมที่ถกู ปดิ : ตามรอยธรรม จงสงเคราะหผ์ อู้ น่ื ดว้ ยการใหร้ อู้ รยิ สจั 06 -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๔๔/๑๗๐๖. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! พวกเธอเอน็ ดใู คร และใครถอื วา่ เธอเปน็ ผทู้ เ่ี ขาควรเชอ่ื ฟงั เขาจะเป็นมติ รกต็ าม อ�ำ มาตย์ กต็ าม ญาติหรอื สายโลหติ ก็ตาม ชนเหล่าน้นั อนั เธอพึงชักชวนใหเ้ ข้าไปตัง้ ม่นั ในความจรงิ อันประเสริฐสี่ประการ ดว้ ยปัญญาอนั รู้เฉพาะตามทเ่ี ป็นจรงิ . ความจริงอนั ประเสรฐิ สีป่ ระการอะไรเล่า ? สปี่ ระการคอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทกุ ข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตุให้เกิดแหง่ ทุกข์ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดับไมเ่ หลอื แห่งทุกข์ และความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไม่เหลอื แหง่ ทกุ ข์. 11
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในเร่ืองนี้ เธอพึงประกอบโยคกรรมอนั เปน็ เครอื่ งกระทำ�ใหร้ วู้ า่ “ทุกข ์ เปน็ อยา่ งนี้ เหตุใหเ้ กดิ ข้ึนแห่งทกุ ข ์ เปน็ อย่างนี้ ความดับไม่เหลือแหง่ ทกุ ข ์ เป็นอยา่ งน้ี ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข ์ เปน็ อยา่ งน้ี” ดงั น้ี. 12
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปิด : ตามรอยธรรม อรยิ สัจส่โี ดยสังเขป 07 (ทรงแสดงดว้ ยความยดึ ในขนั ธ์หา้ ) -บาลี มหาวาร. สํ. ๑๙/๕๓๔-๕/๑๖๗๘-๑๖๘๓. ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! ความจริงอันประเสรฐิ มีสอ่ี ยา่ ง เหล่านี้ ส่ีอย่างเหล่าไหนเล่า ? ส่ีอย่างคือ ความจริง อันประเสริฐคือทุกข์ ความจริงอันประเสริฐคือเหตุให้ เกิดทุกข์ ความจริงอันประเสริฐคือความดับไม่เหลือ ของทุกข์ และความจริงอันประเสริฐคือทางด�ำเนินให้ถึง ความดบั ไม่เหลอื ของทกุ ข.์ ภิกษุท้ังหลาย ! ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทกุ ข์ เป็นอยา่ งไรเลา่ ? คือ ขนั ธอ์ นั เปน็ ทต่ี ง้ั แหง่ ความยดึ มน่ั ถอื มน่ั หา้ อยา่ ง. ห้าอยา่ งน้นั อะไรเล่า ? คอื รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวญิ ญาณ. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! อนั น้เี รากลา่ ววา่ ความจรงิ อนั ประเสริฐคือทุกข์. 13
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐคือเหตุ ใหเ้ กดิ ทกุ ข์ เป็นอยา่ งไรเล่า ? คอื ตณั หาอนั ใดน้ี ทเ่ี ปน็ เครอ่ื งน�ำ ใหม้ กี ารเกดิ อกี อนั ประกอบดว้ ยความก�ำ หนดั เพราะอ�ำ นาจแหง่ ความเพลนิ มกั ท�ำ ใหเ้ พลนิ อยา่ งยง่ิ ในอารมณน์ น้ั ๆ ไดแ้ ก่ ตัณหาในกาม (กามตัณหา) ตณั หาในความมีความเปน็ (ภวตัณหา) ตัณหาในความไม่มีไมเ่ ป็น (วภิ วตณั หา). ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! อนั นเ้ี รากลา่ ววา่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื เหตใุ หเ้ กดิ ทกุ ข.์ ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลือของทกุ ข์ เปน็ อย่างไรเล่า ? คอื ความดบั สนทิ เพราะความจางคลายดบั ไปโดย ไม่เหลอื ของตณั หานน้ั ความสละลงเสยี ความสลดั ทิ้งไป ความปล่อยวาง ความไมอ่ าลยั ถึงซึ่งตัณหานน้ั เอง อนั ใด. ภิกษทุ งั้ หลาย ! อนั นเ้ี รากลา่ ววา่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข.์ 14
เปดิ ธรรมที่ถกู ปดิ : ตามรอยธรรม ภิกษุท้ังหลาย ! ความจริงอันประเสริฐคือทาง ด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข์ เปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คอื หนทางอนั ประเสรฐิ ประกอบด้วยองคแ์ ปด นัน่ เอง ไดแ้ กส่ ิ่งเหล่านีค้ ือ ความเหน็ ชอบ ความด�ำ ริชอบ การพูดจาชอบ การงานชอบ การเลีย้ งชพี ชอบ ความเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษุทงั้ หลาย ! อนั นเ้ี รากลา่ ววา่ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ คอื ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข์. ภกิ ษุทงั้ หลาย ! เหลา่ นแ้ี ล คอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ สี่อย่าง. ภิกษุทง้ั หลาย ! เพราะเหตนุ น้ั ในกรณนี ้ีพวกเธอ พงึ ท�ำ ความเพียร เพื่อให้รู้ตามเป็นจริงว่า “น้เี ปน็ ทุกข์ นี้เป็นเหตุให้เกิดทุกข์ น้ีเป็นความดับไม่เหลือของทุกข์ นเ้ี ปน็ ทางด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื ของทกุ ข”์ ดงั นเ้ี ถดิ . 15
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี ูกปดิ : ตามรอยธรรม การรู้อรยิ สัจส่ี ท�ำใหม้ ีตาสมบรู ณ์ 08 -บาลี ตกิ . อ.ํ ๒๐/๑๖๒/๔๖๘, ๑๔๗/๔๕๙. ภกิ ษุท้ังหลาย ! บุคคล ๓ จำ�พวกนีม้ ีอยู่ หาได้ อยู่ในโลก. สามจ�ำ พวกอยา่ งไรเล่า ? สามจ�ำ พวกคอื คนตาบอด (อนฺโธ) คนมตี าข้างเดียว (เอกจกฺขุ) คนมตี าสองขา้ ง (ทวฺ ิจกขฺ ุ). ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! คนตาบอดเป็นอย่างไรเลา่ ? คือคนบางคนในโลกน้ี ไม่มีตาทีเ่ ปน็ เหตใุ ห้ได้โภคทรพั ยท์ ีย่ ังไมไ่ ด้ หรอื ท�ำ โภคทรพั ยท์ ีไ่ ด้แลว้ ให้ทวมี ากขนึ้ น้ีอยา่ งหนึ่ง และไม่มตี าทเ่ี ป็นเหตใุ ห้รู้ธรรมทเ่ี ปน็ กศุ ลและอกุศล - ธรรมมโี ทษและไมม่ โี ทษ - ธรรมเลวและธรรมประณตี - ธรรมฝ่ายดำ�และธรรมฝ่ายขาว นอี้ ีกอย่างหนึง่ . ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! นแ้ี ล คนตาบอด (ทง้ั สองขา้ ง). 16
เปิดธรรมทถี่ กู ปดิ : ตามรอยธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! คนมตี าขา้ งเดยี วเปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คือคนบางคนในโลกนี้ มตี าที่เปน็ เหตุให้ไดโ้ ภคทรัพย์ทยี่ ังไมไ่ ด้ หรอื ทำ�โภคทรัพย์ทีไ่ ด้แล้วให้ทวีมากข้นึ นอี้ ย่างหน่ึง แตไ่ มม่ ีตาทเี่ ปน็ เหตุใหร้ ู้ธรรมท่เี ป็นกุศลและอกุศล - ธรรมมโี ทษและไม่มโี ทษ - ธรรมเลวและธรรมประณตี - ธรรมฝ่ายดำ�และธรรมฝ่ายขาว นีอ้ ีกอยา่ งหน่ึง. ภิกษุท้ังหลาย ! นแ้ี ล คนมตี าข้างเดียว. ภิกษุท้ังหลาย ! คนมตี าสองขา้ งเปน็ อยา่ งไรเลา่ ? คือคนบางคนในโลกน้ี มตี าทเ่ี ป็นเหตใุ หไ้ ด้โภคทรัพย์ท่ียังไม่ได้ หรอื ทำ�โภคทรพั ยท์ ไี่ ดแ้ ล้วให้ทวีมากขน้ึ นอี้ ย่างหนึ่ง และมตี าทเี่ ปน็ เหตใุ หร้ ธู้ รรมทเี่ ปน็ กุศลและอกศุ ล - ธรรมมีโทษและไมม่ ีโทษ - ธรรมเลวและธรรมประณีต - ธรรมฝ่ายดำ�และธรรมฝ่ายขาว นอี้ กี อย่างหนึ่ง. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! น้ีแล คนมตี าสองข้าง. 17
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ...ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ภิกษุมีตาสมบูรณ์ (จกฺขุมา) เป็นอย่างไรเลา่ ? คอื ภกิ ษใุ นกรณนี ้ี ยอ่ มรชู้ ดั ตามความเปน็ จรงิ วา่ “นี้ทุกข์ นี้เหตุให้เกิดแห่งทุกข์ นี้ความดับไม่เหลือ แหง่ ทกุ ข ์ นท้ี างด�ำ เนนิ ใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข”์ ดังนี.้ ภิกษุทั้งหลาย ! น้ีแล ภิกษมุ ีตาสมบรู ณ.์ 18
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถี่ กู ปิด : ตามรอยธรรม การสนทนากบั พระอานนท์ 09 เรอ่ื งกัลยาณมติ ร -บาลี สคา. ส.ํ ๑๕/๑๒๗/๓๘๒. มหาราชะ ! คร้งั หนงึ่ ตถาคตพักอยทู่ ่นี ิคมแหง่ พวกศากยะ ชื่อวา่ นครกะ ในแคว้นสกั กะ. มหาราชะ ! ครง้ั นน้ั แล ภกิ ษอุ านนทไ์ ดเ้ ขา้ ไปหาตถาคตถงึ ทอ่ี ยู่ อภวิ าท แล้วนงั่ ลง ณ ทคี่ วร. มหาราชะ ! ภกิ ษุอานนท์ไดก้ ล่าว ค�ำ นก้ี ะตถาคตวา่ “ขา้ แตพ่ ระองคผ์ เู้ จรญิ ! ความมมี ติ รดี ความมสี หายดี ความ มเี พอ่ื นผแู้ วดลอ้ มดี นเ้ี ปน็ กง่ึ หนง่ึ ของพรหมจรรยพ์ ระเจา้ ขา้ !” ดังน้ี. มหาราชะ ! เมอ่ื ภกิ ษอุ านนทไ์ ดก้ ลา่ วอยา่ งนแ้ี ลว้ ตถาคตได้กล่าวกะเธออย่างนว้ี า่ “อานนท ์! เธออย่ากล่าวอย่างน้ันเลย อานนท์ ! ขอ้ นเ้ี ปน็ พรหมจรรยท์ งั้ หมดทง้ั สน้ิ ทเี ดยี ว คอื ความมมี ติ ร ดี ความมสี หายดี ความมเี พอ่ื นผแู้ วดลอ้ มด.ี 19
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท ์ ! พรหมจรรย์ทั้งสิ้นนนั้ เปน็ ส่งิ ที่ภกิ ษุ ผู้มมี ติ รดีพงึ หวังได้. เมอ่ื เปน็ ผมู้ มี ติ รดี มสี หายดี มเี พอ่ื นผแู้ วดลอ้ มดี เธอนน้ั จกั ท�ำ อรยิ มรรคมีองคแ์ ปดใหเ้ จริญได้ จกั กระท�ำ ให้มากซ่ึงอริยมรรคมีองค์แปดได้ ดงั น้.ี 20
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถกู ปิด : ตามรอยธรรม กลั ยาณมติ รของพระองค์เอง 10 -บาลี สคา. สํ. ๑๕/๑๒๗/๓๘๓. อานนท์ ! ภิกษุผู้ชื่อว่า มีมิตรดี มีสหายดี มเี พอื่ นดี ย่อมเจริญ ท�ำให้มากซ่งึ อรยิ มรรคประกอบด้วย องคแ์ ปด โดยอาการอย่างไรเลา่ ? อานนท ์ ! ภิกษุนี้ ยอ่ มเจริญ ท�ำ ใหม้ ากซึ่ง สมั มาทิฏฐ ิ สัมมาสังกปั ปะ สมั มาวาจา สมั มากมั มันตะ สัมมาอาชวี ะ สมั มาวายามะ สัมมาสต ิ สมั มาสมาธิ อนั อาศยั วเิ วก อาศยั วริ าคะ อาศยั นโิ รธ อนั นอ้ มไป เพ่ือการสลัดลง. อานนท์ ! อยา่ งนแ้ี ลชอ่ื วา่ ภกิ ษผุ มู้ มี ติ รดี มสี หายดี มเี พอ่ื นดี ย่อมเจรญิ ท�ำ ให้มากซ่งึ อริยมรรคประกอบดว้ ย องคแ์ ปด. อานนท ์ ! ขอ้ นน้ั เธอพงึ ทราบดว้ ยปรยิ ายอนั นเี้ ถดิ วา่ พรหมจรรยน์ ท้ี ง้ั หมดนนั้ เทยี ว ไดแ้ ก่ ความเปน็ ผมู้ มี ติ ร ดี มสี หายดี มีเพอื่ นดี ดงั น้ี. 21
พทุ ธวจน - หมวดธรรม อานนท ์ ! จรงิ ทเี ดยี ว สตั วท์ งั้ หลายผมู้ คี วามเกดิ เปน็ ธรรมดา ไดอ้ าศยั กลั ยาณมติ รของเราแล้ว ยอ่ ม หลดุ พน้ จากการเกดิ ... ผมู้ ีความแกช่ รา ความเจ็บปว่ ย ความตาย ความโศก ความครำ�่ ครวญ ความทุกขก์ าย ความทกุ ขใ์ จ และความคบั แคน้ ใจเปน็ ธรรมดา... ครนั้ ไดอ้ าศยั กัลยาณมิตรของเราแล้ว ย่อมหลุดพ้นจากความแก่ชรา ความเจ็บป่วย ความตาย ความโศก ความครำ่� ครวญ ความทกุ ขก์ าย ความทกุ ขใ์ จ และความคบั แคน้ ใจ. อานนท ์! ขอ้ นน้ั เธอพงึ ทราบดว้ ยปรยิ ายอนั นเี้ ถดิ คือวา่ พรหมจรรย์นท้ี ้ังหมดนั้นเทียว ไดแ้ ก่ ความเป็นผ้มู ี มติ รดี มสี หายด ี มเี พ่อื นด ี ดังน้.ี 22
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ถี กู ปิด : ตามรอยธรรม ขยายความแหง่ อรยิ มรรคมอี งคแ์ ปด 11 -บาลี มหา. ที. ๑๐/๓๔๘/๒๙๙. ภิกษุทั้งหลาย ! ก็อริยสัจคือหนทางเป็นเครื่อง ให้ถึงความดับไม่เหลือแห่งทุกข์น้ัน เป็นอย่างไรเล่า ? คือหนทางอนั ประกอบดว้ ยองคแ์ ปดอนั ประเสริฐ นี้เอง องค์แปดคือ ความเหน็ ชอบ ความดำ�ริชอบ การพูดจาชอบ การงานชอบ การเล้ยี งชีพชอบ ความเพยี รชอบ ความระลกึ ชอบ ความตง้ั ใจมน่ั ชอบ. ภิกษทุ ง้ั หลาย ! ความเหน็ ชอบเป็นอย่างไร ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความรใู้ นทกุ ข์ ความรใู้ นเหตใุ ห้ เกดิ ทกุ ข์ ความรใู้ นความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ ความรใู้ น หนทางเปน็ เครอ่ื งใหถ้ งึ ความดบั ไมเ่ หลอื แหง่ ทกุ ข์ อนั ใด นี้เราเรียกวา่ สัมมาทฏิ ฐ.ิ 23
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ภิกษทุ ั้งหลาย ! ความดำ�รชิ อบเป็นอยา่ งไร ? ภิกษุท้งั หลาย ! ความดำ�ริในการออกจากกาม ความด�ำ รใิ นการไมพ่ ยาบาท ความด�ำ รใิ นการไมเ่ บยี ดเบยี น นเ้ี ราเรยี กวา่ สัมมาสงั กัปปะ. ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การพดู จาชอบเปน็ อยา่ งไรเลา่ ? ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! การเวน้ จากการพดู เทจ็ การเวน้ จากการพูดยุให้แตกกัน การเว้นจากการพูดหยาบ การเวน้ จากการพูดเพอ้ เจ้อ น้เี ราเรยี กวา่ สมั มาวาจา. ภิกษทุ ั้งหลาย ! การงานชอบเป็นอยา่ งไร ? ภิกษุทงั้ หลาย ! การเวน้ จากการฆา่ สตั ว์ การเวน้ จากการถอื เอาสง่ิ ของทเ่ี จา้ ของไมไ่ ดใ้ ห้ การเวน้ จากการ ประพฤตผิ ดิ ในกามทง้ั หลาย นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มากมั มนั ตะ. 24
เปิดธรรมทีถ่ กู ปิด : ตามรอยธรรม ภกิ ษุท้ังหลาย ! การเลย้ี งชพี ชอบเปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษทุ ้งั หลาย ! อรยิ สาวกน้ีละมจิ ฉาชพี เสยี ส�ำ เรจ็ ความเปน็ อยดู่ ว้ ยสมั มาชพี นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาอาชวี ะ. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ความเพยี รชอบเปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษุทง้ั หลาย ! ภกิ ษนุ ้ียอ่ มปลกู ความพอใจยอ่ ม พยายาม ยอ่ มปรารภความเพยี ร ยอ่ มประคองจิต ย่อม ตงั้ จติ ไว้ เพอื่ ความไมบ่ งั เกดิ ขนึ้ แหง่ อกศุ ลธรรมทงั้ หลาย อนั เปน็ บาป ทย่ี งั ไมไ่ ดบ้ งั เกดิ ขนึ้ ยอ่ มปลกู ความพอใจ ยอ่ มพยายาม ย่อมปรารภความเพยี ร ย่อมประคองจิต ยอ่ มต้ังจติ ไว้ เพือ่ การละเสยี ซงึ่ อกุศลธรรมทงั้ หลายอนั เปน็ บาป ที่บงั เกิดข้ึนแลว้ ย่อมปลูกความพอใจ ย่อม พยายาม ยอ่ มปรารภความเพยี ร ยอ่ มประคองจิต ยอ่ ม ตง้ั จติ ไว้ เพอ่ื การบงั เกดิ ขน้ึ แหง่ กศุ ลธรรมทง้ั หลายทย่ี งั ไมไ่ ด้บังเกิด ยอ่ มปลกู ความพอใจ ย่อมพยายาม ย่อม ปรารภความเพียร ยอ่ มประคองจิต ยอ่ มตั้งจติ ไว้ เพ่อื ความย่ังยืน ความไม่เลอะเลือน ความงอกงามย่ิงข้ึน 25
พทุ ธวจน - หมวดธรรม ความไพบลู ย์ ความเจรญิ ความเตม็ รอบแหง่ กศุ ลธรรม ทงั้ หลายทบ่ี งั เกดิ ขนึ้ แลว้ นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาวายามะ. ภกิ ษทุ ัง้ หลาย ! ความระลกึ ชอบเปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษุทงั้ หลาย ! ภกิ ษุน้ี เป็นผ้มู ปี กตพิ จิ ารณา เห็นกายในกายอยู่ มคี วามเพยี รเปน็ เครอ่ื งเผากเิ ลส มี ความรสู้ กึ ตวั ทว่ั พรอ้ ม มสี ติ น�ำความพอใจและความไม่ พอใจในโลกออกเสยี ได้ เปน็ ผูม้ ีปกตพิ จิ ารณาเหน็ เวทนา ในเวทนาท้ังหลายอยู่ มีความเพียรเป็นเคร่ืองเผากิเลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ทวั่ พร้อม มีสติ น�ำความพอใจและความ ไมพ่ อใจในโลกออกเสียได้ เปน็ ผ้มู ีปกติพจิ ารณาเหน็ จติ ในจติ อยู่ มคี วามเพยี รเปน็ เครอ่ื งเผากเิ ลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม มสี ติ น�ำความพอใจและความไมพ่ อใจในโลก ออกเสยี ได้ เปน็ ผมู้ ปี กตพิ จิ ารณาเห็นธรรมในธรรมทงั้ หลายอยู่ มคี วามเพยี รเปน็ เครอ่ื งเผากเิ ลส มคี วามรสู้ กึ ตวั ทวั่ พรอ้ ม มสี ติ น�ำความพอใจและความไมพ่ อใจในโลกออก เสยี ได้ นเ้ี ราเรยี กวา่ สมั มาสต.ิ 26
เปดิ ธรรมท่ีถูกปิด : ตามรอยธรรม ภกิ ษทุ ง้ั หลาย ! ความตง้ั ใจมน่ั ชอบเปน็ อยา่ งไร ? ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! ภกิ ษนุ ี้ เพราะสงดั จากกามทงั้ หลาย เพราะสงดั จากอกศุ ลธรรมทง้ั หลาย ยอ่ มเขา้ ถงึ ฌานทห่ี นงึ่ อนั มีวิตกวจิ าร มีปีตแิ ละสุข อนั เกดิ แต่วิเวก แลว้ แลอยู่ เพราะวติ กวจิ ารร�ำงบั ลง เธอเขา้ ถงึ ฌานทสี่ อง อนั เปน็ เครื่อง ผอ่ งใสแหง่ ใจในภายใน ใหส้ มาธเิ ปน็ ธรรมอนั เอกผดุ ขน้ึ ไม่มีวิตกไม่มีวิจาร มีแต่ปีติและสุข อันเกิดแต่สมาธิ แลว้ แลอยู่ เพราะปตี จิ างหายไป เธอเปน็ ผเู้ พง่ เฉยอยไู่ ด้ มสี ติ มีความรู้สึกตัวทั่วพร้อมและได้เสวยสุขด้วยนามกาย ยอ่ มเขา้ ถงึ ฌานทสี่ าม อนั เปน็ ฌานทพ่ี ระอรยิ เจา้ ทง้ั หลาย กล่าวสรรเสริญผู้ได้บรรลุว่า “เป็นผู้เฉยอยู่ได้ มีสติ มี การอยเู่ ปน็ สขุ ” แลว้ แลอยู่ เพราะละสขุ และทกุ ขเ์ สยี ไดแ้ ละ เพราะความดบั หายไปแหง่ โสมนสั และโทมนสั ในกาลกอ่ น เธอย่อมเข้าถึงฌานท่ีสี่ อันไม่ทุกข์และไม่สุข มีแต่สติ อันบริสุทธ์ิ เพราะอุเบกขา แล้วแลอยู่ นี้เราเรียกว่า สัมมาสมาธิ. ภกิ ษทุ งั้ หลาย ! นเ้ี ราเรยี กวา่ อรยิ สจั คอื หนทาง เป็นเคร่อื งให้ถงึ ความดบั ไมเ่ หลือแห่งทุกข.์ 27
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมท่ีถกู ปดิ : ตามรอยธรรม โลกจะไมว่ ่างจากพระอรหันต์ 12 -บาลี มหา. ท.ี ๑๐/๑๗๕/๑๓๘. สภุ ทั ทะ ! ในธรรมวนิ ยั ใด ไมม่ อี รยิ มรรคมอี งคแ์ ปด สมณะทห่ี น่ึง (พระโสดาบัน) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยน้ัน แมส้ มณะทส่ี อง (พระสกทาคาม)ี กห็ าไมไ่ ด้ แมส้ มณะทส่ี าม (พระอนาคาม)ี กห็ าไมไ่ ด้ แม้สมณะทส่ี ่ี (พระอรหันต)์ กห็ าไมไ่ ดใ้ นธรรมวนิ ยั นน้ั . สภุ ัททะ ! ในธรรมวนิ ยั นแ้ี ล มอี รยิ มรรคมีองค์แปด สมณะท่หี น่งึ (พระโสดาบนั ) ก็หาได้ในธรรมวนิ ยั นี้ แมส้ มณะทส่ี อง (พระสกทาคาม)ี ก็หาได้ แม้สมณะที่สาม (พระอนาคามี) ก็หาได้ แมส้ มณะทีส่ ่ี (พระอรหันต์) ก็หาได้ในธรรมวินยั นี้. สภุ ทั ทะ ! ถ้าภิกษุท้ังหลายเหล่าน้ี จะพึงอยู่โดยชอบไซร้ โลกก็จะไมว่ ่างจากพระอรหนั ตท์ ง้ั หลาย แล. 29
พุทธวจน - หมวดธรรม เปดิ ธรรมที่ถูกปิด : ตามรอยธรรม รภคะิกวหาษวมุผ่าเู้ปงหสัมญมั อื ญมนาาแวสลิมมั ะุตพคตุทวิาธมะแกตบั กต่าง 13 -บาลี ขนฺธ. ส.ํ ๑๗/๘๑/๑๒๕. ภิกษุท้ังหลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ หลดุ พน้ แลว้ จากรปู เพราะความเบอ่ื หนา่ ย ความคลาย กำ�หนัด ความดับ และความไม่ยึดมั่น จึงได้นามว่า “สัมมาสมั พทุ ธะ”. ภิกษทุ ้ังหลาย ! แมภ้ กิ ษผุ ปู้ ญั ญาวมิ ตุ ติ กห็ ลดุ พน้ แลว้ จากรปู เพราะความเบอ่ื หนา่ ย ความคลายก�ำ หนดั ความดบั และความไมย่ ดึ มน่ั จงึ ไดน้ ามวา่ “ปญั ญาวมิ ตุ ต”ิ . (ในกรณีแหง่ เวทนา สัญญา สงั ขาร และวิญญาณ กไ็ ด้ตรสั ไว้ มขี ้อความแสดงหลักเกณฑอ์ ยา่ งเดียวกนั กบั ในกรณี แหง่ รปู ทกี่ ลา่ วแล้ว). ภิกษุทั้งหลาย ! เมื่อเป็นผู้หลุดพ้นแล้วจากรูป เวทนา สญั ญา สงั ขาร วญิ ญาณ ดว้ ยกนั ทง้ั สองพวกแลว้ อะไรเปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ งกนั อะไรเปน็ ความมงุ่ หมาย ทแ่ี ตกตา่ งกนั อะไรเปน็ เครอ่ื งกระท�ำ ใหแ้ ตกตา่ งกนั ระหว่าง ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ กบั ภกิ ษผุ ปู้ ญั ญาวมิ ตุ ต ิ ? 30
เปดิ ธรรมทีถ่ กู ปิด : ตามรอยธรรม ภกิ ษุท้ังหลาย ! ตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ ได้ท�ำมรรคทย่ี ังไม่เกิด ให้เกิดขึน้ ได้ท�ำมรรคท่ียังไม่มี ใครรู้ ให้มีคนรู้ ได้ท�ำมรรคท่ียังไม่มีใครกล่าว ให้เป็น มรรคที่กล่าวกันแล้ว ตถาคตเป็นมัคคัญญู (รู้มรรค) เปน็ มคั ควทิ ู (รแู้ จง้ มรรค) เปน็ มคั คโกวโิ ท (ฉลาดในมรรค) ภิกษุทั้งหลาย ! ส่วนสาวกท้ังหลายในกาลนี้ เปน็ มคั คานคุ า (ผเู้ ดนิ ตามมรรค) เปน็ ผตู้ ามมาในภายหลงั . ภกิ ษทุ ั้งหลาย ! นแี้ ล เปน็ ความผดิ แผกแตกตา่ ง กนั เป็นความมุ่งหมายที่แตกต่างกันเป็นเครื่องกระทำ�ให้ แตกตา่ งกนั ระหวา่ งตถาคตผอู้ รหนั ตสมั มาสมั พทุ ธะ กบั ภกิ ษผุ ปู้ ญั ญาวมิ ตุ ต.ิ 31
พทุ ธวจน - หมวดธรรม เปิดธรรมทถ่ี ูกปดิ : ตามรอยธรรม ไมไ่ ด้ทรงประพฤติพรหมจรรย์ 14 เพื่อใหเ้ ขานับถือ -บาลี จตุกกฺ . อ.ํ ๒๑/๓๓/๒๕. ภิกษุท้ังหลาย ! พรหมจรรยน์ เ้ี ราประพฤติ มใิ ช่ เพอ่ื หลอกลวงคนใหน้ บั ถอื มใิ ชเ่ พอ่ื เรยี กคนมาเปน็ บรวิ าร มิใช่เพื่ออานิสงส์เป็นลาภสักการะ และเสียงสรรเสริญ มใิ ชเ่ พอ่ื อานสิ งสจ์ ะไดเ้ ปน็ เจา้ ลทั ธิ หรอื เพอ่ื คา้ นลทั ธอิ น่ื ใด ให้ล้มลงไป และมิใช่เพื่อให้มหาชนเข้าใจว่า เราได้เป็น ผู้วิเศษอยา่ งนน้ั อย่างน้ี กห็ ามิได.้ ภิกษทุ งั้ หลาย ! ทแ่ี ท้ พรหมจรรยน์ ้ีเราประพฤติ เพื่อสำ�รวม เพื่อละ เพื่อคลายกำ�หนัด เพื่อดับสนิท ซึ่งทุกข์ แล. 32
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176