ค�ำ น�ำ ทิศทางการจัดการศึกษาโลกสู่เป้าหมายการศึกษา ปี 2030 เป็นการจัดการศึกษาที่มีคุณภาพถือเป็น เป้าหมายส�ำคัญของการพัฒนาที่ย่ังยืนของโลกท่ีผู้น�ำ 193 ประเทศสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ร่วม กนั ลงมตริ บั ทป่ี ระชมุ สมชั ชาใหญอ่ งคก์ ารสหประชาชาติ สมยั ที่ 70 เดือนกนั ยายน 2558 ซ่ึงทศิ ทางใหมข่ องการ จดั การศกึ ษาคอื การเนน้ การศกึ ษาทมี่ คี ณุ ภาพและเรยี น รตู้ ลอดชวี ติ จากเดมิ ทเี่ นน้ สรา้ งโอกาสทางการศกึ ษาใน โรงเรียน จึงมีการปรับเปลี่ยนแนวคิดโดยพยายามเข้า ถงึ เด็กทุกกลุ่มทด่ี อ้ ยโอกาส ปญั หาความเทา่ เทียมของ หญงิ และชายในการเขา้ ถงึ การศึกษา และต้องเป็นการ ศึกษาที่มีคุณภาพโดยเชื่อมโยงกับความต้องการของ ตลาดแรงงานจึงต้องท�ำงานร่วมกับภาคเอกชน เพื่อ รวบรวมขอ้ มลู ถงึ ทกั ษะการทำ� งานทภ่ี าคเอกชนตอ้ งการ รวมถึงกลุ่มผู้ใหญ่ที่มีปัญหาการอ่านออกเขียนได้และ การขาดทักษะใหม่ๆ ท่ีตลาดต้องการให้กลับเข้ามา ศึกษาต่อเพื่อให้เกิดการทักษะเพ่ือการประกอบอาชีพ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะทักษะท่ีจ�ำเป็นในการท�ำงาน ในอนาคต ทงั้ ทกั ษะการสอ่ื สาร การแสดงออก จึงต้อง ดงึ ภาคเอกชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการกำ� หนดเปา้ หมาย และนโยบายด้านการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันถือได้ว่าเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มีสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเกิดข้ึนมากมาย อีกท้ังในปัจจุบันเป็นโลกท่ีมีข้อมูล มากมาย ดังนั้นการรับข้อมูลข่าวสารตลอดจนการสืบค้นแสวงหาความรู้ เกิดข้ึนเพียงปลายนิ้วสัมผัส แนวทางการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 หรือการ เรียนรู้ในศตวรรษใหม่เป็นการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงจากศตวรรษท่ี 19 และ ศตวรรษท่ี 20 อย่างมากมาย ทั้งวิธีการเรียนรู้และวิธีคิด ซึ่งแนวทางการ ศกึ ษาไทยในการเรยี นรใู้ นศตวรรษใหมส่ รุปดงั นี้ 1. เน้ือหาวิชา วธิ ีการสอน จะต้องเน้นไปที่ผู้เรียนโดยเฉพาะให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ย่ิงถ้า เป็นผลงานทใ่ี ช้ไดจ้ ริงกจ็ ะเป็นประโยชน์ตอ่ สงั คมอกี ดว้ ย 2. ทกั ษะชวี ติ ใน ศตวรรษท่ี 21 โลกเข้าสู่ยุคเศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ที่เน้นการสรา้ งมูลค่าเพิ่มและ ความแปลกใหมใ่ หก้ บั ผลติ ภณั ฑ์ ดงั นนั้ การพฒั นาทกั ษะชวี ติ เพอ่ื ใหส้ ามารถ ท�ำงานร่วมกับผู้อ่ืนได้จึงเป็นส่ิงจ�ำเป็น เพื่อผสมผสานอัตลักษณ์และความ สร้างสรรคข์ องตัวเราและผู้อืน่ เขา้ ด้วยกนั 3. ทกั ษะและความรกั ในการเรยี นรู้ เพ่ือเป็นการพัฒนาทักษะที่จะหาความรู้ ไม่ว่าจะเป็นการสอบถามผู้รู้ การ คน้ หาจากอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื การระดมสมองจากกลมุ่ คนทห่ี ลากหลาย เพอ่ื จะได้ เช่ือมโยงและต่อยอดความร้ทู ีม่ าจากหลายๆ สาขากลายเปน็ ผลงานใหม่ท่มี ี คณุ ค่าสงู เป็นทีต่ ้องการของทุกคน 4. ทกั ษะด้านสารสนเทศ ผเู้ รยี นรุ่นใหม่ ลว้ นแตม่ ที กั ษะดา้ นสารสนเทศตดิ ตวั มาทกุ คน แตต่ อ้ งมกี ารฝกึ ฝนพฒั นาการ นำ� มาใชใ้ ห้เกิดประโยชนใ์ นการศกึ ษาหาความรู้ ทกั ษะทั้ง 4 ด้าน เป็นสิง่ ท่ี ชว่ ยเพม่ิ มลู คา่ ใหก้ บั คนไทยทกุ คน อกี ทงั้ ผเู้ รยี นจะเกดิ การเรยี นรไู้ ดน้ น้ั ผสู้ อน ตอ้ งเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดม้ ปี ระสบการณก์ ารเรยี นรดู้ ว้ ยตวั ของเขาเอง ซงึ่ เปน็ เฉพาะบุคคลไม่สามารถทำ� แทนกนั ได้ เปน็ กระบวนการทางสตปิ ญั ญาทต่ี อ้ ง มกี ารใชก้ ระบวนการคิด สรา้ งความเขา้ ใจ ผูส้ อนควรใชก้ ารกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี น ไดใ้ ช้กระบวนการคิดทำ� ความเข้าใจส่งิ ตา่ งๆ โดยใหผ้ เู้ รียนลงมอื ปฏบิ ัติหน้า งานแตย่ งั ไมร่ บั ผดิ ชอบทงั้ หมด ครจู ะเปน็ พเ่ี ลยี้ งสงั เกตการณแ์ ละใหค้ ำ� แนะนำ� อยใู่ กล้ชิด เนน้ ใหผ้ เู้ รียนลงมอื ท�ำและแกป้ ัญหาไดด้ ้วยตนเอง
สารบัญ ลกั ษณะส�ำ คญั ของกระบวนการ จัดการเรยี นรู้แบบ STEM Education ความรู้เบ้ืองต้น STEM Education การบรู ณาการ สะเตม็ ศึกษา STEM Integration
การวัดและประเมนิ ผล การเรียนรู้ บทสรปุ ตวั อยา่ งกิจกรรม เสริมสร้าง กระบวนการจดั การเรียนร้แู บบ STEM Education
ความรู้ เบอ้ื งต้น STEM 01Education STEM Education (Science Technology Engineering and Mathematics Education) เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ มี่ กี ารบรู ณาการ4 ศาสตร์ ประกอบดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อแก้ไขปัญหาที่พบเห็นในชีวิตจริง เพื่อเสริมสร้างประสบการณ์ ทักษะต่างๆ ของชีวิต เช่น ทักษะการวางแผนและการท�ำงาน รว่ มกนั ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ ทกั ษะการสอ่ื สาร ทกั ษะการนำ� เสนอ เปน็ ต้น เปน็ การเตรียมพรอ้ มให้ผ้เู รียนได้มกี ารปฏบิ ตั ิงานที่ต้องใช้องค์ความร้ดู ้านตา่ งๆ และ กระบวนการตา่ งๆ ของ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ STEMEducation เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ไ่ี มเ่ นน้ เพยี งการทอ่ งจำ� ทฤษฎหี รอื กฏทาง วทิ ยาศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ แตเ่ ปน็ การสรา้ งความเขา้ ใจทฤษฎหี รอื กฏเหลา่ นนั้ ผา่ นกจิ กรรม หรอื การปฏบิ ัติให้เหน็ จริงหรือโครงงานท่มี ีการบูรณาการวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี คณิตศาสตร์ ผนวกกับแนวคิดการออกแบบเชิงวศิ วกรรมศาสตร์ โดยผูเ้ รียนไดท้ �ำกจิ กรรมเพื่อพัฒนาความรู้ ความเขา้ ใจ รวมท้งั ฝกึ ทกั ษะทง้ั 4 ศาสตร์เกีย่ วกบั ทกั ษะการคดิ ต้ังคำ� ถาม แกป้ ัญหา และ การหาขอ้ มลู และวิเคราะห์ข้อคน้ พบใหม่ๆ การออกแบบช้ินงาน พรอ้ มท้งั สามารถนำ� ไปใช้แก้ ปัญหาหรือบรู ณาการทเ่ี ก่ียวข้องกบั ชวี ติ ประจ�ำวันหรือชีวติ จรงิ ได้ STEM Education มไี ดห้ ลาย รูปแบบ ซง่ึ มีขน้ั ตอนท่สี ำ� คญั ๆ เหมือนกันดังน้ี
1. การเข้าใจและระบุปญั หา (Identify a Chalenge) เปน็ ข้นั ตอน 7 ที่กลุ่มผู้เรียนต้องท�ำความเข้าใจกับส่ิงท่ีเป็นปัญหาในชีวิตประจ�ำวันหรือ ชวี ิตจรงิ และจำ� เป็นตอ้ งหาวิธีการต่างๆ หรอื สร้างสง่ิ ประดษิ ฐ์เพ่อื แกไ้ ข ปัญหาดังกลา่ ว โดยมกี ารแบ่งหนา้ ทข่ี องกลุม่ ผเู้ รียนและระดมสมองกัน 2. การส�ำรวจค้นหาแนวคดิ (Explore Ideas) ทเี่ ก่ียวขอ้ ง เป็นขน้ั ตอน ทก่ี ลมุ่ ผเู้ รยี นตอ้ งชว่ ยกนั คน้ หา บนั ทกึ ขอ้ มลู และรวบรวมขอ้ มลู ของแนวคดิ ต่างๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับการแกไ้ ขปัญหา ชว่ ยกันประเมนิ ด้านตา่ งๆ เชน่ ความเปน็ ไปไดท้ จ่ี ะดำ� เนนิ การ ขอ้ ดี ขอ้ ดอ้ ย ความคมุ้ คา่ ความเหมาะสม เป็นตน้ เพ่อื เลอื กแนวคดิ หรือวิธกี ารทดี่ ที ่ีสดุ 3. การวางแผนและพฒั นา (Plan and Develop) ทเ่ี กยี่ วข้อง กลุ่ม ผู้เรียนต้องชว่ ยกันก�ำหนดขน้ั ตอนยอ่ ยๆ ในแนวคิดหรอื วธิ กี ารท่ไี ดเ้ ลือก มาจากขอ้ 2 รวมท้ังกำ� หนดเปา้ หมายหรอื ระยะเวลาในการดำ� เนินการให้ ชัดเจน หากมีทฤษฎีทเ่ี กีย่ วขอ้ งท่ใี ช้ในการคำ� นวณหรอื วเิ คราะหใ์ หแ้ สดง วธิ กี ารคำ� นวณหรอื การหาไวด้ ว้ ย เพอ่ื จะใชใ้ นการตรวจสอบ รวมทงั้ มกี าร รา่ งแบบหรอื ออกแบบสง่ิ ประดษิ ฐน์ นั้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย อาจจะมกี ารออกมานำ� เสนอแนวคดิ ใหก้ ลมุ่ ผเู้ รยี นไดท้ ราบ รวมทงั้ ตอบขอ้ ซกั ถามขอ้ สงสยั หรอื อาจจะไดร้ บั ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ จากนนั้ กลมุ่ ผเู้ รยี นนำ� ขอ้ มลู ทไ่ี ดม้ าจาก การเสนอแนวคดิ มาพจิ ารณา แลว้ ชว่ ยกนั พฒั นาตน้ แบบสงิ่ ประดษิ ฐ์ เพอ่ื จะใช้ทดสอบแนวคดิ ในการแกไ้ ขปญั หาต่อไป 4. การทดสอบและการประเมนิ ผล (Test and Evaluate) เปน็ ขน้ั ตอน ทดสอบและการใชง้ านจรงิ ของสงิ่ ประดษิ ฐ์ เพอ่ื ใหม้ นั่ ใจวา่ สามารถทดสอบ ได้ตามจ�ำนวนครั้งท่ีต้องการ ผลท่ีได้จากการทดสอบน�ำมาวิเคราะห์ถึง ประสิทธิภาพ อาจน�ำไปปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการ แก้ไขปัญหามากข้นึ 5. การน�ำเสนอผล (Present the Solution) เป็นข้ันตอนหลังจาก ปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพตามที่ต้องการแล้ว กลุ่มผู้เรียน ต้องน�ำเสนอผล โดยช่วยกันออกแบบในวิธีการน�ำเสนอข้อมูลที่น่าสนใจ และเข้าใจไดง้ า่ ย กระบวนการท้ังหมดไม่จ�ำเป็นต้องเกิดข้ึนเป็นล�ำดับเสมอไป การ ทดสอบและการประเมนิ ผลสามารถทำ� ไดใ้ นชว่ งระหวา่ งการวางแผนและ พฒั นาไดเ้ ช่นกัน หากผลทดสอบที่ไดไ้ มอ่ ยใู่ นเกณฑท์ ี่ยอมรบั ไดไ้ ม่วา่ จะ เป็นเรื่องประสทิ ธิภาพของอปุ กรณห์ รอื ความคมุ้ ทนุ กต็ าม กอ็ าจจ�ำเปน็ ที่ ตอ้ งยอ้ นกลับไปส�ำรวจคน้ หาแนวคิดอืน่ ข้นึ มาใหม่ได้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ STEM Education ในศตวรรษที่ 21
02
ลกั ษณะส�ำ คญั ของกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบ STEM Education กระบวนการจัดการเรยี นร้แู บบ STEM Education มจี ดุ ประสงคเ์ พ่ือส่งเสริมให้ผ้เู รยี นรกั และเห็นคณุ ค่าของ การเรยี นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ และเหน็ ว่า 4 ศาสตรน์ เ้ี ปน็ เร่อื งใกลต้ ัวท่ี สามารถนำ� มาใช้ไดท้ ุกวนั มลี กั ษณะสำ� คญั 5 ประการดงั น้ี 1. เป็นการสอนทเี่ น้นการบรู ณาการ 2. ช่วยให้ผู้เรียนได้สรา้ งความเชอ่ื มโยงระหวา่ งทงั้ 4 ศาสตรก์ บั ชวี ิตประจ�ำวนั และด้านอาชีพ 3. เน้นการพฒั นาทักษะในศตวรรษท่ี 21 4. ทา้ ทายความคดิ ของผเู้ รียน 5. เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้แสดงความคดิ เหน็ และความเขา้ ใจทสี่ อดคล้องกับเน้ือหาทงั้ 4 ศาสตร์ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 9 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
10 วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ คณติ ศาสตร์ (Science) (Technology) (Engineering) (Mathematics) ตั้งค�ำถาม (เพอ่ื ตระหนกั ถึงบทบาท นยิ ามปญั หา (เพ่อื ท�ำความเข้าใจและ เขา้ ใจธรรมชาต)ิ ของเทคโนโลยตี ่อ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ) พยายามแก้ปญั หา พัฒนาและใช้โมเดล สังคม ออกแบบและลงมอื เรยี นรู้วิธกี ารใชง้ าน พัฒนาและใช้โมเดล ใช้คณติ ศาสตร์ในการ ท�ำการค้นควา้ วจิ ัย เทคโนโลยีใหมๆ่ สรา้ งโมเดล ทดลอง เข้าใจบทบาท วเิ คราะห์ขอ้ มูล ของเทคโนโลยี ออกแบบและลงมอื ใช้เครื่องมอื ทเี่ หมาะสม ใชค้ ณติ ศาสตรช์ ว่ ย ในการพฒั นา ท�ำการค้นควา้ วจิ ยั ในการแก้ปัญหา ในการค�ำนวณ วทิ ยาศาสตรแ์ ละ ทดลอง สร้างค�ำอธิบาย เทคโนโลยี วเิ คราะห์ข้อมูล ให้ความส�ำคญั การ ตัดสนิ ใจเลอื กใช้ ใช้คณติ ศาสตรช์ ว่ ย ความแมน่ ย�ำ ใช้หลกั ฐานในการ เทคโนโลยี โดย ในการค�ำนวณ ใช้ตวั เลขในการใหค้ วาม ยืนยันแนวคิด พิจารณาถึงผลกระ หมายหรือเหตุผล ทบต่อสงั คมและส่งิ ออกแบบวิธีแก้ปัญหา พยายามหาและใช้ ประเมนิ และสอื่ สาร แวดล้อม โครงการในการแก้ แนวคดิ ปญั หา ใช้หลักฐานในการ สรา้ งข้อโต้แยง้ และ ยืนยันแนวคิด สามารถวิพากษ์การให้ เหตุผลของผอู้ ่ืน กระบวนการจัดการเรียน ู้ร ประเมนิ และส่อื สาร มองหาและน�ำเสนอ แนวคดิ ระเบยี บวิธใี นการ STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 เหตผุ ลซ้�ำๆ ท่ีมา: สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย,ี 2014 http://www.STEMedthailand.org/?knowSTEM
จากตารางจะเห็นได้ว่าแนวปฏิบัติ (practice) ทางวิทยาศาสตร์มี กระบวนการส่วนใหญเ่ หมอื นกบั แนวปฏบิ ตั ิทางวศิ วกรรมศาสตร์ กลา่ วคือ ทง้ั สองศาสตรม์ กี ารพฒั นาและใชโ้ มเดลในการดำ� เนนิ งาน มกี ารออกแบบและลงมอื ค้นคว้าวิจัยเพื่อรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว ทั้งวิทยาศาสตร์ และวศิ วกรรมศาสตรต์ อ้ งการความรทู้ างคณติ ศาสตรใ์ นการคำ� นวณ นอกจากน้ี ทั้งนักวิทยาศาสตร์และวิศวกรมีการใช้หลักฐานในการยืนยันแนวคิดซึ่งอาจเป็น คำ� ตอบของขอ้ สงสยั เกย่ี วกบั ธรรมชาตหิ รอื ปญั หา และสดุ ทา้ ยตอ้ งมกี ารประเมนิ และส่ือสารถึงแนวคิดดังกล่าวด้วย อย่างไรก็ตาม แนวปฏิบัติทั้งสองมีความแตกต่างกันอยู่ 2 ประการ คือ ประการแรกในขณะที่วิทยาศาสตร์พยายามตั้งค�ำถามเพ่ือเรียนรู้และท�ำความ เข้าใจธรรมชาติน้ัน แต่ทางวิศวกรรมศาสตร์พยายามนิยามปัญหาซ่ึงเกิดจาก ความไมพ่ อใจและตอ้ งการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของมนษุ ย์ และประการทส่ี องผล ของการทำ� งานทางวทิ ยาศาสตรเ์ ปน็ การสรา้ งคำ� อธบิ ายเพอ่ื ตอบขอ้ สงสยั เกยี่ วกบั ธรรมชาติ ในขณะทผ่ี ลของการทำ� งานทางวศิ วกรรมศาสตรเ์ ปน็ วธิ กี ารแกป้ ญั หา เพอื่ พฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ของมนษุ ย์ และวธิ กี ารดงั กลา่ วจะนำ� มาซง่ึ ผลผลติ ทเ่ี ปน็ นวัตกรรมหรอื เทคโนโลยใี หม่ 11
03 12 STEMEducation เปน็ กระบวนการจดั การเรยี นรทู้ ม่ี ี การบรู ณาการ4 ศาสตร์ สามารถแบง่ ไดเ้ ปน็ 4 ระดบั ไดแ้ ก่ การบูรณาการ การบรู ณาการภายในวชิ า(Disciplinary) การบรู ณาการ สะเต็มศึกษา แบบพหุวิทยาการ (Multidisciplinary Integration) การบูรณาการแบบสหวิทยาการ (Interdisciplinary STEM Integration) และ การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา Integration (Transdisciplinary Integration) มลี ักษณะท่ีส�ำคัญใน แตล่ ะระดบั ดังน้ี 1. การบูรณาการภายในวิชา (Disciplinary) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เรียนเน้ือหาและฝึก ทกั ษะของแตล่ ะวชิ าของSTEMEducation แยกกนั การ จัดการเรียนรู้แบบน้ีคือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ ทเ่ี ป็น อยทู่ ว่ั ไปทผี่ สู้ อนแตล่ ะวชิ าตา่ งจดั การเรยี นรใู้ หแ้ กผ่ เู้ รยี น ตามรายวชิ าของตนเอง 2.การบรู ณาการแบบพหวุ ทิ ยากร(Multidisciplinary Integration) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้เรียนเน้ือหาและฝึกทักษะของวิชาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ แยกกนั โดยมหี วั ขอ้ หลกั (theme) ทผี่ สู้ อนทกุ วชิ ากำ� หนดรว่ มกนั และมกี ารอา้ งองิ ถงึ ความเชอื่ มโยงระหวา่ งวชิ านน้ั ๆ การ จัดการเรียนรู้แบบน้ีช่วยให้ผู้เรียนเห็นความเช่ือมโยง ของเนอื้ หาในวชิ าตา่ งๆ กับส่ิงทอ่ี ยรู่ อบตัว 3. การบรู ณาการแบบสหวทิ ยาการ (Interdisciplinary Integration) เป็นการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้เรียน เนื้อหาและฝึกทักษะอย่างน้อย 2 วิชาร่วมกันโดย กิจกรรมมีการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของทุกวิชาเพื่อ ให้ผู้เรียนเห็นความสอดคล้องกัน ในการจัดการเรียน รู้แบบนี้ ผู้สอนในวิชาที่เก่ียวข้องต้องท�ำงานร่วมกัน โดยพิจารณาเน้ือหาหรือตัวชี้วัดที่ตรงกันและออกแบบ กิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาของตนเองโดยให้เชื่อม โยงกบั วชิ าอนื่ ผ่านเนื้อหาหรือตัวชี้วดั น้ัน
4. การบูรณาการแบบข้ามสาขาวิชา (Transdisciplinary Integration) เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ช่วยผู้เรียนเช่ือมโยงความรู้และทักษะท่ีเรียนรู้จาก วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตรก์ บั ชวี ิตจรงิ โดยผู้ เรียนได้ประยุกต์ความรู้และทักษะเหล่านั้นในการแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในชุมชน หรอื สงั คม และสรา้ งประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องตวั เอง ผสู้ อนจดั กจิ กรรมการเรยี น รตู้ ามความสนใจหรอื ปญั หาของผเู้ รยี น โดยผสู้ อนอาจกำ� หนดกรอบหรอื หวั ขอ้ หลกั (theme) ของปัญหากว้างๆ ให้ผู้เรียนและให้ผู้เรียนระบุปัญหาท่ีเฉพาะเจาะจง และวิธีการแก้ปัญหาเอง ท้ังน้ีในการก�ำหนดกรอบของปัญหาให้ผู้เรียนศึกษานั้น ผสู้ อนตอ้ งคำ� นงึ ถงึ ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง3 ปจั จยั กบั การเรยี นรขู้ องผเู้ รยี น ประกอบดว้ ย 1. ปญั หาหรอื คำ� ถามทีน่ กั เรียนสนใจ 2. ตัวชวี้ ดั ในวชิ าตา่ งๆ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง 3. ความร้เู ดมิ ของนกั เรยี น การจัดการเรียนรู้แบบ Problem-based learning หรือ Project-based learning เป็นกลยุทธใ์ นการจัดการเรียนรู้ (Instructional Strategies) ทีม่ ีแนวทาง ใกลเ้ คยี งกับแนวทางบรู ณาการแบบข้ามสาขาวชิ า กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 13 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
กระบวนการจัดการเรียน ู้ร 14 STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 หลักสำ� คัญของการจัด STEM Education 1. การวางแผนพิจารณารว่ มกันหลายๆ วชิ า เก่ียวกับหวั ข้อหรือเน้อื หาท่มี ีความซ�้ำซอ้ นกัน 2. เมอื่ ไดห้ วั ขอ้ หรอื เนอื้ หาทมี่ คี วามซำ้� ซอ้ นกนั แลว้ ซงึ่ ไมต่ อ้ งใชว้ ธิ เี ดมิ ทตี่ า่ งคนตา่ งสอนกนั มารว่ มกนั ระดม สมอง คดิ กจิ กรรม STEM Education ทตี่ อบหวั ขอ้ ดังกล่าวท่ีหลากหลาย โดยมี 4 ศาสตร์ มาใชใ้ นการด�ำเนิน การกิจกรรม STEM Education 3. ถา้ หากเป็นรายวิชาทีม่ ีหัวข้อหรอื เนื้อหาท่มี คี วามซำ�้ ซ้อนกนั ไม่มาก ก็สามารถจดั กจิ กรรมเพยี งคร้ังหรอื สองคร้งั ซง่ึ ทำ� ใหส้ อดคลอ้ งหลายๆ วิชา 4. ถ้าหากเป็นรายวิชาที่มีหัวข้อหรือเน้ือหาท่ีมีความซ้�ำซ้อนกันมาก ก็สามารถจัดเป็น Problem based learning หรือโครงงานพิเศษร่วมกันท่ีมี 4 ศาสตร์มาบูรณาการกัน แล้วจัดตารางเวลาน�ำมารายงานหรือ น�ำเสนอตามความเหมาะสม ก็จะลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารูไ้ ด้
15
04 การวัดและ ประเมินผล การเรียนรู้
18 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้เป็นกระบวนการ ควบคู่กับการจัดการเรียนการสอนเป็นกระบวนการ ที่จะได้ข้อมูลสารสนเทศ (Information) ที่แสดง ถึงพัฒนาการความก้าวหน้าและความส�ำเร็จของ ผู้เรียน รวมท้ังได้ข้อมูลท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการ ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้ตาม ศักยภาพ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education มุ่งพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ความคิด ทักษะ และกระบวนการ การประเมนิ พฒั นาการของผู้ เรยี น จงึ ตอ้ งประเมนิ ใหค้ รอบคลมุ ทกุ ดา้ นและไดข้ อ้ มลู อย่างเพียงพอ ท่ีจะประเมนิ พัฒนาการความกา้ วหน้า ของผเู้ รียนและความสำ� เรจ็ ของผเู้ รียน จึงต้องใชว้ ธิ กี าร วดั และประเมินผลหลากหลายวิธแี ละต่อเน่ือง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามกระบวน การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามกระบวนการ การจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education เน้นการวัด จัดการเรยี นรู้แบบ STEM Education ผสู้ อนควรใชก้ าร และประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ที่ผู้เรียนได้ ประเมินหลายคร้ังคือ การประเมินก่อนเรียน ผู้สอน แสดงออกในขณะท�ำกจิ กรรมเพื่อการเรยี นรู้ ซงึ่ สะท้อน สามารถท�ำได้โดยใช้ค�ำถามเกี่ยวกับกิจกรรมท่ีจะให้ ถงึ ความรู้ ความคดิ ทกั ษะ กระบวนการ รวมถึงความ ผู้เรียนปฏิบัติมีความรู้ ความเข้าใจมากน้อยเพียงใด สามารถทีแ่ ท้จริงของผู้เรยี น ข้อมลู ทีไ่ ด้จากการวัดและ การประเมินระหว่างเรียน ผู้สอนสามารถท�ำได้โดย ประเมินผลการเรียนรู้นี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนและ การใช้ค�ำถาม การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน ผสู้ อน ทจี่ ะไดท้ ราบพฒั นาการของการเรยี นรแู้ ละความ การประเมนิ ตนเองและการประเมนิ จากเพอ่ื นๆ และการ ส�ำเร็จว่าอยใู่ นระดบั ใด ผเู้ รียนมีจุดเด่นใดบ้างที่ควรได้ บนั ทกึ ขอ้ มลู งานทท่ี ำ� เสรจ็ ตามเปา้ หมายทก่ี ำ� หนด สว่ น รับการสง่ เสรมิ ได้พัฒนาศกั ยภาพเตม็ ท่ี และมจี ุดออ่ น การประเมนิ หลงั เรยี น ผู้สอนสามารถประเมนิ โครงงาน ใดทค่ี วรไดร้ ับการแก้ไข รวมทัง้ ผ้สู อนจะไดข้ อ้ มูลท่ีเป็น ท่ผี เู้ รยี นไดล้ งมือปฏบิ ตั ิ แนวทางในการปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ STEM Education ใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้นตอ่ ไป กระบวนการจดั การเรียนรู้ 19 STEM Education ในศตวรรษท่ี 21
20 ผลทจี่ ะไดจ้ ากการประเมนิ สภาพจรงิ ทส่ี ะทอ้ นถงึ ความสามารถทแี่ ทจ้ รงิ ของผเู้ รยี น ไดม้ าจากวธิ กี ารและแหลง่ ขอ้ มลู ต่างๆ ดงั นี้ 1. การสังเกตการแสดงออกรายบคุ คล รายกลุม่ 2. การรายงาน ช้นิ งาน ผลงาน 3. การบนั ทกึ ของผ้เู รยี น 4. การประชมุ หารือร่วมกันระหวา่ งผเู้ รยี นกับผสู้ อน 5. การวดั และประเมินผลด้านความสามารถ 6. การวดั และประเมนิ ผลโดยใชแ้ ฟ้มสะสมผลงาน 7. การทดสอบ การประเมินสภาพจริงใช้ข้อสอบแบบข้อเขียนน้อยมาก แต่ให้ความส�ำคัญการแสดงออกขณะท�ำกิจกรรม งานหรือแนวทางกิจกรรมมหี ลายแนวทางสู่ความส�ำเรจ็ สว่ นใหญ่ก�ำหนดแนวการใหค้ ะแนนโดยใช้การประเมินองิ Rubric มี 2 แบบคอื 1. การประเมินภาพรวม (Holistic Score) เราอาจใหเ้ ป็นระดบั คะแนนตามน้�ำหนักแตล่ ะกจิ กรรม ตวั อย่างเช่น ระดบั คะแนน 1 ภาพรวม ไม่เขา้ ใจปัญหาการออกแบบ 2 เขา้ ใจปญั หาการออกแบบ แต่ใชเ้ วลานานตอ้ งแนะนำ� 3 เข้าใจปัญหาการออกแบบ เทคนคิ วธิ ไี ม่ถกู ต้อง งานประสบผลส�ำเรจ็ บางสว่ น เสนอรายงานเป็นล�ำดับ 4 เขา้ ใจปัญหาการออกแบบ เทคนิควธิ ีถูกตอ้ ง งานประสบผลสำ� เรจ็ กระบวนการจัดการเรียน ู้ร เสนอรายงานเป็นลำ� ดับดี 5 เข้าใจปญั หาการออกแบบ เทคนิควธิ ถี ูกตอ้ ง งานประสบผลส�ำเร็จ STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 เสนอรายงานเป็น ลำ� ดับดี มคี วามคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ หมายเหตุ ระดับคะแนนสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของกจิ กรรมที่ท�ำ 2. การประเมนิ แยกองค์ประกอบ (Analytic Score) การประเมินแยกองค์ประกอบมีการวิเคราะห์ว่า ผลงานจะประเมินอะไรบ้าง ผู้เรียนมีความสามารถ ระดับใด ตวั อย่างเชน่
การออกแบบการทดลอง ระดบั คะแนน 1 ความคดิ สร้างสรรค์ ใช้แนวคิดจากแหลง่ เรียนรตู้ ่างๆ แตไ่ มม่ ีการอา้ งองิ 2 ใชแ้ นวคิดจากแหลง่ เรียนรู้ต่างๆ มกี ารอ้างอิง แตไ่ มม่ ีการปรับปรงุ หรอื พัฒนาข้นึ จากต้นแบบ 3 ใช้แนวคิดจากแหลง่ เรยี นรตู้ ่างๆ มกี ารอา้ งองิ 4 มกี ารปรับปรุงหรอื พัฒนาเล็กน้อยขึน้ จากตน้ แบบ ใชแ้ นวคิดจากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ มีการอา้ งอิง มีการปรับปรงุ หรือพฒั นามากขึ้นจากต้นแบบ ระดบั คะแนน การด�ำเนินการทดลอง 1 การด�ำเนนิ การทดลอง การด�ำเนนิ การสว่ นใหญไ่ ม่ถกู ต้อง ขอ้ มูลไม่ครบ 2 การด�ำเนินการสว่ นใหญถ่ ูกต้อง ข้อมูลครบ แตไ่ ม่มีการทำ� ซ้�ำ 3 การดำ� เนินการ ส่วนใหญ่ถูกต้อง ข้อมลู ครบ มกี ารท�ำซ้ำ� 4 การด�ำเนนิ การสว่ นใหญ่ถกู ต้อง ข้อมูลครบและละเอยี ด มกี ารท�ำซำ�้ การน�ำเสนอ ระดบั คะแนน 1 การน�ำเสนอ การน�ำเสนอขอ้ มูลถูกต้อง วิเคราะห์ไมค่ รบ สรุปผลไมถ่ กู ตอ้ ง 2 การน�ำเสนอขอ้ มูลถกู ต้อง วิเคราะหค์ รบ สรุปผลถูกต้อง 3 การน�ำเสนอขอ้ มูลถกู ตอ้ งวิเคราะหค์ รบ สรุปผลถูกต้อง น�ำเหตุผลและความรมู้ าอา้ งอิงประกอบ 4 การน�ำเสนอขอ้ มูลถูกต้องวเิ คราะห์ครบ สรปุ ผลถูกตอ้ ง นำ� เหตุผล และความรู้มาอา้ งองิ ประกอบ แสดงความคิดสรา้ งสรรค์ ในการน�ำเสนอ 21 หมายเหตุ ระดับคะแนนสามารถปรบั ได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมทท่ี �ำ
กระบวนการจัดการเรียน ู้ร 22 การประเมนิ ความสามารถเป็นประเมินการแสดงออกโดยตรงจากการท�ำงานตามสถานการณ์ที่ STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 กำ� หนดใหท้ ใี่ กลเ้ คยี งกบั สภาพจรงิ โดยประเมนิ จากกระบวนการทำ� งาน กระบวนการคดิ ระดบั สงู และ ผลงานทไี่ ดล้ กั ษณะสำ� คญั คอื มวี ตั ถปุ ระสงคข์ องงาน วธิ กี ารทำ� งาน ผลสำ� เรจ็ ของงาน มคี ำ� สง่ั ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน มเี กณฑใ์ หค้ ะแนนชดั เจน ลกั ษณะทสี่ ำ� คญั ของการประเมนิ ความสามารถมดี งั ตอ่ ไปน้ี 1. งานที่มอบหมายประเมินการเนน้ ผ้เู รียนใช้ความสามารถหลายดา้ นในการปฏบิ ัติงาน การแสดงออก กระบวนการท�ำงาน กระบวนการคิด คณุ ภาพงานมากกวา่ ผลส�ำเรจ็ ของงาน 2. การทดสอบโดยใชข้ อ้ เขยี น ยงั มคี วามจำ� เปน็ เนอื่ งจากใชค้ วามรคู้ วามสามารถความ เขา้ ใจในหลักการต่างๆ โดยลดบทบาทการวัดพฤติกรรมดา้ นความรู้ ความจ�ำ ม่งุ เน้นประเมนิ ด้าน ความเขา้ ใจ การน�ำไปใช้และทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ และกระบวนการคิดระดับสงู ใช้ การสรา้ งสถานการณ์จำ� ลองทีส่ ัมพันธ์ชีวติ จรงิ แลว้ ให้ผเู้ รยี นตอบ จากกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ STEM Education จะสร้างคุณลักษณะ 4 C ท่ี สอดคลอ้ งกบั การพัฒนาในศตวรรษท่ี 21 ประกอบดว้ ย 1. ทักษะความคิดสร้างสรรค์ (Creativity Skil) 2. ทักษะการคิดวเิ คราะห์ (Critical Thinking Skil) 3. ทกั ษะการวางแผนและการท�ำงานร่วมกัน (Colaboration Skil) 4. ทกั ษะการส่ือสารและการน�ำเสนอ (Communication Skil)
การประเมนิ ความสามารถของผู้เรียนท่จี ะเกดิ คุณลกั ษณะ 4 C มีดงั นี้ ทกั ษะความคดิ สรา้ งสรรค์ ระดับคะแนน 1 ความคิดสรา้ งสรรค์ ใชแ้ นวคดิ จากแหลง่ เรยี นรู้ต่างๆ แตไ่ ม่มีการอา้ งอิง 2 ใช้แนวคดิ จากแหลง่ เรยี นรู้ตา่ งๆ มกี ารอ้างอิง แตไ่ ม่มีการปรบั ปรุงหรอื พัฒนาขึ้นจากต้นแบบ 3 ใช้แนวคดิ จากแหล่งเรยี นรู้ตา่ งๆ มีการอ้างอิง 4 มีการปรบั ปรงุ หรือพัฒนาเลก็ นอ้ ยข้นึ จากต้นแบบ ใชแ้ นวคิดจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ มกี ารอา้ งอิง มกี ารปรับปรุงหรอื พัฒนามากขน้ึ จากต้นแบบ 5 ใช้แนวคดิ จากแหล่งเรยี นรตู้ า่ งๆ มีการอา้ งองิ ใชก้ ารจนิ ตนาการ และแนวคดิ แปลกใหมใ่ นการปรับปรุงหรือพัฒนามากขึ้นจากต้นแบบ หมายเหตุ ระดับคะแนนสามารถปรบั ไดต้ ามความเหมาะสมของกจิ กรรมท่ีทำ� ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ระดบั คะแนน 1 มรี ่องรอยการบันทึกการวเิ คราะห์ประเมินประสทิ ธิภาพเล็กน้อย 23 ไม่มีการเปรียบเทยี บขอ้ ดีและข้อจ�ำกดั ของแนวคิดและชนิ้ งานนัน้ ๆ 2 มรี ่องรอยการบันทกึ การวิเคราะห์ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพ ไม่มกี ารเปรยี บเทียบข้อดีและขอ้ จ�ำกัดของแนวคดิ และชิน้ งานน้นั ๆ 3 มีการวิเคราะหป์ ระเมนิ ประสทิ ธิภาพ แต่ไม่น�ำผลประเมนิ มาใช้ มกี ารเปรียบเทยี บข้อดีและขอ้ จำ� กดั ของแนวคิดและชิ้นงานนั้นๆ 4 มกี ารวิเคราะห์ประเมนิ ประสทิ ธิภาพ นำ� ผลประเมินมาใช้ มกี ารเปรยี บเทยี บข้อดีและข้อจ�ำกดั ของแนวคดิ และชนิ้ งานนั้นๆ 5 ใชแ้ นวคิดจากแหลง่ เรยี นรู้ต่างๆ มกี ารอ้างอิง ใชก้ ารจนิ ตนาการและ แนวคดิ แปลกใหม่ในการปรบั ปรุงหรอื พฒั นามากขึน้ จากต้นแบบ หมายเหตุ ระดบั คะแนนสามารถปรบั ได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมที่ท�ำ
24 ทักษะการวางแผนและการท�ำงานรว่ มกัน ระดบั คะแนน 1 การวางแผนและการทำ� งานร่วมกนั ลงมือปฏบิ ตั ิโดยไม่มกี ารวางแผนและระดมความคดิ ไมแ่ บง่ หนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบ บางคนไมม่ สี ว่ นร่วมทำ� งาน 2 ไม่มกี ารวางแผนการทำ� งาน มีการระดมความคิดและแบง่ หน้าที่ ความรบั ผดิ ชอบ บางคนไม่มีส่วนร่วมพัฒนาชิ้นงาน 3 ไม่มกี ารวางแผนการท�ำงาน มกี ารระดมความคดิ และแบ่งหน้าที่ ความรับผดิ ชอบ ทุกคนมีส่วนร่วมพฒั นาชิน้ งาน 4 มีการวางแผนการทำ� งาน มกี ารระดมความคิดและแบง่ หน้าที่ ความรับผิดชอบ ทุกคนมีสว่ นร่วมพัฒนาชนิ้ งาน 5 มีการวางแผนการท�ำงาน มีการระดมความคดิ และแบง่ หน้าท่ี ความรับผิดชอบ มีขอ้ สรุปรว่ มกัน ทุกคนมีสว่ นรว่ มพัฒนาชน้ิ งาน หมายเหตุ ระดับคะแนนสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของกจิ กรรมทท่ี ำ� ทักษะการสอ่ื สารด้านบรรยาย ระดับคะแนน การส่ือสารด้านบรรยาย 1 บรรยายถงึ ขอ้ มูล หลกั การ ผลการทดสอบ กราฟ ฯลฯ และอธิบาย ให้เหตผุ ลประกอบ ไม่ชดั เจน ผ้ฟู ังไม่สามารถตดิ ตามเข้าใจได้ 2 บรรยายถงึ ขอ้ มลู หลกั การ ผลการทดสอบ กราฟ ฯลฯ และอธบิ าย ใหเ้ หตผุ ลประกอบ ไมช่ ดั เจน ผฟู้ งั สามารถตดิ ตามเขา้ ใจไดบ้ า้ ง ใชค้ วามเรว็ พดู ชา้ หรอื เรว็ เกนิ ไป ใชค้ ำ� ควบกลำ�้ ไมถ่ กู ตอ้ ง 3 บรรยายถงึ ขอ้ มลู หลกั การ ผลการทดสอบ กราฟ ฯลฯ และอธบิ าย ใหเ้ หตผุ ลประกอบ ไมช่ ดั เจน ผฟู้ งั สามารถตดิ ตามเขา้ ใจไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ ใชค้ วามเรว็ พดู ชา้ หรอื เรว็ เกนิ ไป ใชค้ ำ� ควบกลำ�้ ไมถ่ กู ตอ้ ง 4 บรรยายถงึ ขอ้ มลู หลกั การ ผลการทดสอบ กราฟ ฯลฯ และอธบิ าย ใหเ้ หตผุ ลประกอบ ไมช่ ดั เจน ผฟู้ งั สามารถตดิ ตามเขา้ ใจไดง้ า่ ยทงั้ หมด ใชค้ วามเรว็ การทพ่ี อดี ไมช่ า้ หรอื เรว็ เกนิ ไป ใชค้ ำ� ควบกลำ้� ไมถ่ กู ตอ้ ง 5 บรรยายถงึ ขอ้ มลู หลกั การ ผลการทดสอบ กราฟ ฯลฯ และอธบิ าย ใหเ้ หตผุ ลประกอบ ไมช่ ดั เจน ผฟู้ งั สามารถตดิ ตามเขา้ ใจไดง้ า่ ยทง้ั หมด ใชค้ วามเรว็ การทพี่ อดี ไมช่ า้ หรอื เรว็ เกนิ ไป ใชค้ ำ� ควบกลำ�้ ถกู ตอ้ ง หมายเหตุ ระดบั คะแนนสามารถปรับได้ตามความเหมาะสมของกจิ กรรมทที่ ำ�
ทกั ษะการส่อื สารด้านเนอ้ื หา ระดับคะแนน 1 การส่อื สารดา้ นเน้อื หา มเี นือ้ หาไมค่ รบทกุ หวั ขอ้ ท่ีจำ� เปน็ ในการน�ำเสนอ ภาพ คลิปหรอื ข้อความ ท่นี �ำมาใช้ไม่มกี ารอ้างองิ แหลง่ ทีม่ า 2 มีเน้อื หาครบทกุ หัวขอ้ ทจี่ �ำเปน็ ในการน�ำเสนอ มกี ารเรียงล�ำดับเนอ้ื หาทส่ี บั สนภาพ คลปิ หรอื ขอ้ ความทนี่ ำ� มาใช้ไม่มีการอ้างอิงแหลง่ ท่ีมาท้ังหมด ผ้ฟู งั ไมส่ ามารถตดิ ตามเข้าใจได้ 3 มเี นือ้ หาครบทกุ หวั ข้อที่จ�ำเป็นในการนำ� เสนอ มีการเรียงลำ� ดับเนื้อหาท่สี ับสนภาพ คลิปหรือขอ้ ความท่นี �ำมาใชม้ กี ารอ้างองิ บางแหล่งทีม่ า ผู้ฟังสามารถติดตามเข้าใจได้บา้ ง 4 มเี นือ้ หาครบทกุ หวั ข้อทจี่ �ำเปน็ ในการน�ำเสนอ มีการเรียงล�ำดับเนื้อหาทสี่ บั สนภาพ คลิปหรือขอ้ ความที่น�ำมาใช้มกี ารอ้างอิงบางแหลง่ ท่มี า ผฟู้ งั สามารถติดตามเข้าใจได้สว่ นใหญ่ 5 มีเนือ้ หาครบทกุ หัวขอ้ ทจี่ �ำเป็นในการนำ� เสนอ มกี ารเรยี งลำ� ดับเนื้อหาทีส่ บั สนภาพ คลิปหรอื ขอ้ ความ ทน่ี �ำมาใช้มีการอา้ งองิ แหล่งทีม่ าถูกต้องท้ังหมด ผ้ฟู ังสามารถติดตามเข้าใจไดท้ ัง้ หมด หมายเหตุ ระดบั คะแนนสามารถปรบั ได้ตามความเหมาะสมของกจิ กรรมท่ที ำ� กระบวนการจัดการเรยี นรู้ 25 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
26 นอกจากน้ันผสู้ อนสามารถประเมนิ คุณลกั ษณะอน่ื ๆ เพ่มิ เตมิ ไดด้ งั น้ี ประสทิ ธิภาพของอุปกรณ์ทดลอง ระดับคะแนน ประสิทธภิ าพของอุปกรณท์ ดลอง 1 มีการออกแบบวธิ กี ารทดสอบประสิทธภิ าพของผลงานนอ้ ย 2 มีการออกแบบวธิ กี ารทดสอบประสิทธิภาพของผลงาน และด�ำเนนิ การทดสอบ แตไ่ ม่มีการวเิ คราะห์ผล 3 มีการออกแบบวิธีการทดสอบประสทิ ธภิ าพของผลงาน และดำ� เนนิ การทดสอบ มีการวิเคราะห์ผล ไม่ได้น�ำผลมาพัฒนาชิ้นงาน 4 มีการออกแบบวิธกี ารทดสอบประสิทธภิ าพของผลงาน และดำ� เนินการทดสอบ มกี ารวเิ คราะหผ์ ล มีการนำ� ผลมาพฒั นาช้ินงาน 5 ภายใตเ้ วลาเท่ากนั เปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพทไ่ี ด้ เรยี งตามลำ� ดับ หมายเหตุ ระดบั คะแนนสามารถปรบั ได้ตามความเหมาะสมของกิจกรรมทท่ี ำ� ระดบั คะแนน ความสำ� เร็จของงาน 1 ความสำ� เรจ็ ของงาน สามารถท�ำงานไดส้ �ำเรจ็ เพียงเลก็ นอ้ ยเทา่ น้นั 2 สามารถท�ำงานไดส้ ำ� เรจ็ แต่ไมเ่ ปน็ ตามเงือ่ นไขทงั้ หมด แตใ่ ช้เวลาเกนิ กวา่ ทีก่ ำ� หนด 3 สามารถทำ� งานไดส้ �ำเรจ็ แต่ไมเ่ ปน็ ตามเงอ่ื นไขทั้งหมด แตใ่ ช้เวลาเกนิ ท่ีก�ำหนด 4 สามารถท�ำงานไดส้ ำ� เรจ็ และเปน็ ตามเงอ่ื นไขทง้ั หมด แต่ใช้เวลาเกินท่กี ำ� หนด 5 สามารถทำ� งานได้สำ� เรจ็ และเปน็ ตามเง่ือนไขทง้ั หมด โดยใชเ้ วลาตามท่กี ำ� หนด
การใชห้ ลัก STEM 4 ศาสตร์ ระดบั คะแนน การใชห้ ลัก STEM 4 ศาสตร์ 1 มีรอ่ งรอยการบันทึกขอ้ ความของการใช้หลกั STEM 4 ศาสตร์เลก็ นอ้ ย 2 มีรอ่ งรอยการบันทกึ ข้อความของการใชห้ ลกั STEM 4 ศาสตร์ แตเ่ ป็นการใช้ประเดน็ ทไ่ี ม่ส�ำคญั กบั การพฒั นาชิ้นงาน 3 มีการใช้หลกั STEM 4 ศาสตร์ ใชป้ ระเดน็ ทีส่ ำ� คัญกับการพฒั นาชน้ิ งาน แต่มีความเข้าใจทีค่ ลาดเคล่อื น 4 มีการใช้หลกั STEM 4 ศาสตร์ ใชป้ ระเด็นทสี่ �ำคัญกบั การพฒั นาช้นิ งาน และมีความเข้าใจ แตย่ ังขาดการพจิ ารณาในรายละเอยี ด 5 มกี ารใชห้ ลกั STEM 4 ศาสตร์ ใช้ประเด็นที่ส�ำคัญกบั การพัฒนาชิน้ งาน และมคี วามเขา้ ใจ พรอ้ มมกี ารพิจารณาในรายละเอยี ด กระบวนการจดั การเรียนรู้ 27 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
28 ผู้เรียนสามารถประเมินตนเอง (Self – Assesment) จะเป็นข้อมูลให้ผู้สอนน�ำไปพิจารณาในการ ปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมด้านต่างๆ ของผเู้ รยี น ดงั ตวั อยา่ งดังน้ี การใหค้ วามรว่ มมือ ระดบั คะแนน การใหค้ วามรว่ มมอื 1 ฉนั ท�ำงานร่วมกับสมาชกิ คนอื่นๆ ไดไ้ ม่ดี และไมไ่ ดท้ �ำงานใน 2 สว่ นใดๆ ของโครงการ ฉันท�ำงานร่วมกบั สมาชิกคนอื่นๆ ได้ดีเป็นบางเวลา และสมาชิกในกลุม่ คนอน่ื 3 ท�ำงานเกือบทัง้ หมด 4 ฉนั ท�ำงานรว่ มกบั สมาชกิ คนอืน่ ๆ ได้ดีสว่ นใหญ่ แต่ไมไ่ ด้แบง่ รบั งานมากเท่ากบั สมาชกิ ในกล่มุ คนอน่ื ๆ ฉันท�ำงานรว่ มกบั สมาชิกคนอื่นๆ ได้ดี และไดแ้ บง่ รับหนา้ ที่รับผดิ ชอบเท่ากบั สมาชกิ ในกลุ่มคนอน่ื ๆ กระบวนการจัดการเรียน ู้ร ระดบั คะแนน การมสี ่วนรว่ ม 1 STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 2 การมีส่วนร่วม ฉนั มสี ว่ นร่วมในการท�ำงานนอ้ ย และในเวลาส่วนใหญ่ ฉันไม่ใสใ่ จกบั งาน 3 ฉนั มสี ว่ นรว่ มในการทำ� งาน แตพ่ บวา่ ฉนั เสยี เวลากบั การทำ� งานทไ่ี มเ่ กดิ ประโยชน์ และ 4 ฉนั พบว่าฉนั มปี ัญหากบั การใหค้ วามสนใจกับงาน ฉันมีส่วนร่วมในการท�ำงานเปน็ สว่ นใหญ่ และใหค้ วามสนใจกบั การท�ำงานบอ่ ยครงั้ ฉนั มสี ว่ นรว่ มอยา่ งเตม็ ที่ และใหค้ วามสนใจกบั การทำ� งานในชว่ งเวลาการทำ� งานตลอด
การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อนื่ ระดับคะแนน การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อน่ื 1 ฉันมกั ไมใ่ ส่ใจรับฟังข้อเสนอ และข้อคดิ เห็นของสมาชกิ ในกลมุ่ 2 เพราะฉันมแี นวคดิ ของตนเองที่ตอ้ งการนำ� เสนอให้ผูอ้ ืน่ รบั ฟงั ฉนั มักไม่ใสใ่ จรบั ฟงั ข้อเสนอ และขอ้ คิดเห็นของสมาชกิ บางกลุ่ม 3 แต่ฉันกระตอื รือร้นท่นี ำ� แนวคดิ ของตนเองแทรกข้นึ มาระหว่างน�ำเสนอของผอู้ ่นื 4 ฉนั รบั ฟังขอ้ เสนอและขอ้ คิดเห็นของสมาชิกในกล่มุ เปน็ ส่วนใหญ่และใส่ใจกบั เนื้อหา ทนี่ ำ� เสนอ ฉนั เสนอหรือสะท้อนแนวคิดเชิงบวกและสรา้ งสรรค์เป็นส่วนใหญ่ ระดบั คะแนน การแสดงความคดิ เห็นและสะท้อนความร้คู วามเขา้ ใจ 1 การแสดงความคดิ เห็นและสะทอ้ นความรูค้ วามเข้าใจ 2 ฉันไม่เคยแสดงหรอื สะทอ้ นความคิดเหน็ ของฉนั ใหส้ มาชกิ คนอนื่ ได้รบั ฟัง ฉนั แสดงหรือสะทอ้ นความคิดเห็นก็ตอ่ เมอ่ื มีสมาชกิ ในกลุ่มบอกให้ฉนั ท�ำ 3 4 ฉนั แสดงหรือสะท้อนแนวคดิ เชิงบวกและสร้างสรรค์บอ่ ยครงั้ ฉนั เสนอหรอื สะท้อนแนวคิดเชงิ บวกและสร้างสรรค์เป็นส่วนใหญ่ 29
30 ตัวอย่างกจิ กรรม เสริมสรา้ งกระบวนการจดั การเรียนรู้แบบ STEM Education “การสรา้ งเข่ือนและการสง่ จา่ ยน้�ำ” การสรา้ งเขอ่ื นและการสง่ จา่ ยนำ�้ กำ� หนดใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ หรอื ทมี มที รพั ยส์ นิ ในการลงทนุ นำ� มาสรา้ งเขอื่ นและการ สง่ จา่ ยน�้ำจ�ำนวน 10,000 บาท ซ่งึ สามารถเลือกซ้อื วสั ดอุ ปุ กรณท์ ี่นำ� มาสรา้ งเข่อื นและการสง่ จา่ ยน�้ำ เงอ่ื นไข 1. ส่งผา่ นน�ำ้ จากจดุ หนึง่ ไปยังอกี จดุ หนงึ่ โดยต้องมีระยะทางอย่างน้อย 60 เซนติเมตร 2. ต้องผ่านสง่ิ กีดขวางหรือภเู ขาไมน่ ้อยกวา่ 1 สงิ่ กีดขวาง 3. การส่งจา่ ยน�้ำตอ้ งสง่ จา่ ยนำ�้ จำ� นวน 600 มลิ ลิลติ รไปยังปลายทางในเวลาท่เี รว็ ท่สี ดุ และตอ้ งไมร่ ัว่ ในการสง่ จ่ายน�้ำ วธิ ดี �ำเนนิ การ 1. กลุ่มหรือทีมมีแบ่งหน้าท่ีในการด�ำเนินการ มีการระดมความความคิด ช่วยกันค้นหาข้อมูล หรือแนวคิดท่ีมาด�ำเนินการ สามารถค้นหาได้จาก Internet หรือแหล่งข้อมูลอ่ืนๆ ได้ตามต้องการ ช่วยกันออกแบบแนวคิด หรือค�ำนวณวิธีต่างๆ ในกระดาษที่ให้ไว้ ภายใต้เง่ือนไขเวลาที่ก�ำหนดไว้ ประกอบด้วย 1.1 ชอ่ื กลุ่มหรือทมี และ ชือ่ -สกลุ สมาชิกกลมุ่ หรือทมี ทกุ คน 1.2 รูปหรือภาพหรือภาพร่างการออกแบบของกลุ่มหรือทีม พร้อมเขียนแนวคิดหลักๆ ของขน้ั ตอนยอ่ ยๆ ในการดำ� เนินการ พร้อมทงั้ บอกระยะเวลาทใ่ี ช้ในการสง่ จ่ายน้�ำด้วย 1.3 รายชื่ออุปกรณ์ต่างๆ พร้อมกับเงินที่ใช้ในแต่ละอุปกรณ์และยอดเงินที่ใช้ท้ังหมด เพอ่ื นำ� มาประดิษฐห์ รือสร้างเขื่อน หากพนื้ ที่เขยี นไมพ่ อไว้ดา้ นหลังของกระดาษท่ใี ห้ไวไ้ ด้ 1.4 วิธกี ารคำ� นวณตา่ งๆ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง (ถา้ มี) 2. กลุ่มหรือทีมทั้งหมดออกมาน�ำเสนอแนวคิดหรือวิธีการต่างๆ ท่ีได้จากการออกแบบ ประมาณ 5-10 นาที หรือตามเง่อื นไขเวลาท่ีก�ำหนดไว้ 3. กลุ่มหรอื ทมี ซื้ออุปกรณต์ ่างๆ ตามทีไ่ ดค้ ดิ ไวแ้ ลว้ ตามเงื่อนไขเวลาที่ก�ำหนดไว้ กลุม่ หรือทมี ช่วย กันประกอบหรอื ประดิษฐเ์ ข่ือนตามแบบท่กี ำ� หนดไว้เพอ่ื ใหเ้ ขื่อนสามารถสง่ จา่ ยน้�ำไดต้ ามเง่อื นไข และ มคี วามคมุ้ คา่ ด้านตา่ งๆ 4. มกี ารทดสอบหรือประเมนิ ผลจากการประดิษฐ์ 5. กลมุ่ หรอื ทมี นำ� เสนอผลวเิ คราะหจ์ ากการทดสอบหรอื ประเมนิ ผล เพอื่ จะไดป้ รบั ปรงุ ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทด่ี ียิ่งขึ้นต่อไป
อุปกรณท์ ่ีใช้ ราคา(บาท) จ�ำนวน(ช้ิน) อุปกรณ์ 200 1 100 1 ไม้ขนาด 4 นิ้ว 200 1 ไมข้ นาด 3 นิ้ว 100 1 หลอดดูด ยาว 32 ซม. 50 1 หลอดดดู ยาว 20 ซม. 50 1 หลอดดดู ยาว 15 ซม. 50 1 เทยี นไข 500 1 ไฟแช็ค 300 1 ดินน้ำ� มนั 500 1 ดนิ น�ำ้ มนั ใช้แล้ว (Reuse) 500 1 สก็อตเทป 500 1 ขวดน้�ำ 100 1 แกว้ นำ�้ 50 1 ดนิ สอ 10 1 เชือก หนังยาง(วง) เงื่อนไขคะแนนเพิ่มเติม หากกลมุ่ หรอื ทีมชว่ ยกันสร้างอปุ กรณแ์ ล้วสามารถสง่ น�ำ้ เปน็ แบบอตั โนมตั ิ จะไดค้ ะแนน X 2 หรอื ได้คะแนน เพมิ่ ขึน้ เป็น 2 เทา่ หากกลมุ่ หรอื ทมี ชว่ ยกนั สรา้ งอปุ กรณแ์ ลว้ สามารถบอกระยะเวลาในการไหลของนำ�้ ไดถ้ กู ตอ้ ง จากการทดสอบ โดยมีระยะชว่ งเวลาของความคลาดเคลอ่ื นได้ไมเ่ กิน ± 5 วนิ าที จะไดค้ ะแนน X2 หรอื ได้คะแนนเพม่ิ ขี้นเป็น 2 เท่า หากกลมุ่ หรอื ทมี ชว่ ยกนั สรา้ งอปุ กรณแ์ ลว้ สามารถเขยี นหรอื แสดงวธิ ขี องการคำ� นวณระยะเวลาในการไหลของ น้ำ� จะได้คะแนน X 4 หรือไดค้ ะแนนเพม่ิ ขึน้ เปน็ 4 เทา่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 31 STEM Education ในศตวรรษท่ี 21
32 กตาัวรอวยัด่าแงละประเมินผลการเรยี นรตู้ ามกระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบ STEM Education การประเมนิ สภาพจรงิ การประเมินความสามารถ และการประเมินตนเอง ช่อื กล่มุ ………………………………………………………………………………………… ช่อื -สกุลสมาชิกในกลุ่ม 1. ………………………,,,,,……………….. 2………………,,,,,,…………………………. 3. ………………………,,,,,……………….. 4………………,,,,,,…………………………. 5. ………………………,,,,,……………….. 6………………,,,,,,…………………………. 7. ………………………,,,,,……………….. 8………………,,,,,,…………………………. 1. การประเมินสภาพจรงิ (การประเมนิ แยกองคป์ ระกอบและภาพรวม) รายการประเมินสภาพจรงิ ระดับคะแนนทไี่ ด ้ หมายเหตุ 12 345 1. การออกแบบการทดลอง 2. การดำ� เนินการทดลอง 3. การน�ำเสนอ 4. ภาพรวม รวม รวมทั้งหมด 2. การประเมนิ ความสามารถ 4 C และคุณลกั ษณะอ่ืนๆ รายการประเมินสภาพจริง ระดบั คะแนนท่ีได ้ หมายเหตุ 12 345 กระบวนการจัดการเรียน ู้ร 1. ทกั ษะความคิดสรา้ งสรรค์ 2. ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21 3. ทักษะการวางแผนและ การท�ำงานรว่ มกัน 4. ทักษะการสอื่ สารด้านเนื้อหา 5. ทกั ษะการสอื่ สารด้านบรรยาย 6. ประสทิ ธภิ าพของอุปกรณ์ทดลอง 7. ความสำ� เรจ็ ของงาน 8. การใช้หลกั STEM 4 ศาสตร์ รวม รวมทัง้ หมด วนั ลงเดช่อือื ผนู้ปปรีะเทมีป่นิ ระเม…ิน(……………………………………………………………………………………………………………………………………………………...)..
การประเมินตนเอง ชอ่ื กลุ่ม………………………………………………………………………………………… ชอ่ื -สกลุ ……………………………………………………………………………………….. รายการประเมนิ สภาพจรงิ ระดับคะแนนที่ได ้ หมายเหตุ 12 34 1. การใหค้ วามร่วมมอื 2. การมสี ่วนรว่ ม 3. การรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผู้อืน่ 4. การแสดงความคดิ เห็นและ สะทอ้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ รวม รวมทั้งหมด ลงช่อิ ผปู้ ระเมิน …………………………………………………….. (………………………………………………….) วนั เดอื น ปี ที่ประเมิน ……………………………………………….. 33
34
ภาพ กจิ กรรม กระบวนการจัดการเรียนรู้ 35 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
36 บทสรุป
เน้ือหาของหนังสือ เล่มน้ีได้มุ่งเน้นจุดประกาย การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาเป็นกิจกรรม ความคิดให้กับผู้สนใจ ครู อาจารย์ และผู้สอน ท่ีออกแบบมาเพ่ือเติมเต็มการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ทุกท่าน ได้เห็นตัวอย่างรูปแบบของการจัดการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีให้มีความสมบูรณ์มาก แบบสะเตม็ ศกึ ษาทไ่ี ดบ้ รู ณาการความรใู้ นศาสตรต์ า่ งๆ ย่ิงข้ึน โดยการบูรณาการท้ัง 4 วิชา ผา่ นกระบวนการ 4 สาขาวชิ า คือ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม การออกแบบวิศวกรรมศาสตร์ (Engineering Design และ คณิตศาสตร์ ซ่งึ ในเนอื้ หาไดแ้ สดงถงึ กระบวนการ Process) เพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้และสร้างทักษะ จัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผล และตัวอย่างการจัด โดยเน้นการสร้างองค์ความรู้เพ่ือใช้ในการแก้ปัญหา กิจกรรม STEM ทท่ี �ำให้ผู้สนใจไดเ้ หน็ ภาพของส่งเสรมิ เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงที่เน้นความสนุก กระบวนการเรียนรู้แบบ STEM ให้แก่ผเู้ รยี นเพอื่ ทักษะ และท้าทาย ซึ่งสะเต็มศึกษาไม่ได้มุ่งเน้นเพียงเน้ือหา การคิด วิเคราะห์ และสร้างนวัตกรรม ท่ีใช้ความรู้ สาระ ทักษะ และกระบวนการที่จ�ำเปน็ ในการท�ำความ ในวชิ าวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และ เข้าใจและแสวงหาองค์ความรู้เท่าน้นั แต่ สะเต็มศึกษา วิศวกรรม และท�ำให้เข้าใจสาระและกระบวนการทาง ไดใ้ หค้ วามสำ� คญั กบั กระบวนการในการนำ� ความรเู้ หลา่ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์มากข้ึน ท�ำให้ผู้เรียน นี้มาใช้ประกอบการคิด ค้นหา และคัดเลือกวิธีการที่ เกิดการถ่ายโอนการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถเช่ือมโยง เหมาะสมทส่ี ดุ ในการแกป้ ญั หาทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การดำ� เนนิ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความคดิ รวบยอดในศาสตรต์ า่ งๆ ชีวติ ในท้องถน่ิ และการท�ำงานอกี ด้วย ท�ำใหเ้ กดิ การเรียนรทู้ ม่ี ีความหมายตอ่ ผเู้ รยี น กระบวนการจดั การเรียนรู้ 37 STEM Education ในศตวรรษที่ 21
38 เอกสารอ้างองิ การเปรียบเทียบแนวคิดและทักษะด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ สะเตม็ ศกึ ษา ประเทศไทย สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี2014 [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ทีม่ า http://www.STEMedthailand.org/ ?knowSTEM การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี [ระบบออนไลน์] แหล่งท่มี า http://physics.ipst.ac.th/?page_id=2481 แผนแมบ่ ทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย พ.ศ. 2555-2574. (2554) กระทรวงอตุ สาหกรรม. [ระบบออนไลน์] แหล่งที่มา http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/industry_plan/National_ Industrial_Development_Master_Plan.pdf วิจารณ์ พานชิ . (2555). วถิ ีสร้างการเรียนรเู้ พอ่ื ศษิ ยใ์ นศตวรรษที่ 21. กรงุ เทพฯ : มลู นธิ สิ ดศร-ี สฤษดิ์วงศ์. สุพรรณี ชาญประเสรฐิ . (มกราคม – กุมภาพนั ธ์ 2558). การออกแบบการจดั การเรยี นร้ตู ามแนวทางสะเต็ม ศกึ ษากบั การพัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21. นิตยสาร สสวท., 43,หน้า 14 – 17 [ระบบออนไลน์] แหล่งท่ีมา http://physics.ipst.ac.th/wp-content/uploads/sites/2/2015/06/IPSTMag_STEM_ and_21stCenturySkil s.pdf กระบวนการจัดการเรียน ู้ร STEM Education ในศตวรรษ ี่ท 21
ผู้เขียน ช่ือ – นามสกลุ : วสิ ูตร อาสนวิจติ ร ตำ� แหนง่ ปจั จบุ นั : อาจารยป์ ระจำ� วทิ ยาลัยเทคโนโลยีและสหวิทยาการ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ปรญิ ญาโท วศ.ม. (วศิ วกรรมไฟฟา้ -ไฟฟ้าก�ำลงั ) การศึกษา : มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่ [email protected] อเี มลล์ : ช่ือ – นามสกุล: รองศาสตราจารย์ธีระศกั ด์ิ อุรจั นานนท์ ตำ� แหน่งปจั จบุ ัน: สาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา การศึกษา : ปรญิ ญาเอก ศษ.ด. (หลกั สูตรและการสอน) มหาวิทยาลยั เชยี งใหม ่ ช่อื – นามสกุล: ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์สุวชิ ช์ ธนะศานวรคุณ ต�ำแหนง่ ปจั จุบัน: สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ปริญญาโท วศ.ด. (ฟสิ ิกส)์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ [email protected] การศึกษา : อีเมลล์ : ช่ือ – นามสกุล: ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์จตั ตุฤทธิ์ ทองปรอน ต�ำแหน่งปัจจบุ ัน: สาขาวชิ าวิศวกรรมไฟฟา้ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา การศึกษา : ปริญญาเอก วศ.ต (เทคโนโลยีพลงั งาน) สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ ธนบรุ ี อีเมลล์ : [email protected] ชอื่ – นามสกุล: ฉตั รชัย เลาวกุล ตำ� แหนง่ ปัจจุบัน: อาจารย์ประจำ� สาขาวชิ าครศุ าสตร์อุตสาหกรรม และเทคโนโลยีวศิ กรรมโยธา คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา ปรญิ ญาโท ศกึ ษาศาสตร์มหาบัณฑติ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่ การศึกษา : 39
40 กระบวนการจัดการเรยี นรู้ STEM Education ในศตวรรษที่ 21 ISBN: 978-974-625-899-9 (E-book) ISBN: 978-974-625-898-2 ทป่ี รึกษา รองศาสตราจารยศ์ ีลศริ ิ สง่าจิตร ดร.สุรพล ใจวงศษ์ า ผูเ้ ขยี น วิสูตร อาสนวจิ ิตร รศ.ดร. ธรี ะศกั ดิ์ อุรจั นานนท์ ผศ.ดร. จตั ตุฤทธิ์ ทองปรอน ฉตั รชัย เลาวกุล ผศ.ดร. สุวิชช์ ธนะศาสนวรคุณ กองบรรณาธิการ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์เกรียงไกร ธารพรศร ี ผชู้ ่วยศาสตราจารยน์ ทีชัย ผัสดี นายวสิ ุทธิ ์ บัวเจริญ ดร.สรุ ีวรรณ ราชสม นายพิษณุ พรมพราย นายนรศิ กำ� แพงแก้ว วา่ ท่ี ร.ต.รัชตพ์ งษ์ หอชัยรัตน์ นางสาวทิน ออ่ นนวล นายวษิ ณลุ กั ษณ์ ค�ำยอง นางสาวสุธาสนิ ี ผ้อู ยู่สขุ นายจกั รรนิ ทร ์ ชื่นสมบัติ นายเจษฎา สภุ าพรเหมินทร์ นางสาวรัตนาภรณ ์ สารภี นางสาวหน่ึงฤทยั แสงใส ว่าที่ ร.ต.เกรยี งไกร ศรปี ระเสริฐ นางสาวเสาวลกั ษณ์ จันทร์พรหม นางสาวอารีรตั น์ พมิ พ์นวน นางสาววราภรณ์ ต้นใส นายวีรวิทย์ ณ วรรณมา จัดท�ำโดย สถาบนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ู่ชุมชน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา 98 หมู่ 8 ตำ� บลปา่ ปอ้ ง อำ� เภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชยี งใหม่ 50220 พิมพ์คร้งั ที่ 1 ปี 2563 บริษทั สยามพมิ พน์ านา จ�ำกดั 108 ซอยพงษส์ ุวรรณ ต�ำบลศรภี มู ิ อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั เชยี งใหม่ 50200 โทร. 0-5321-6962
Search
Read the Text Version
- 1 - 44
Pages: