Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย

ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย

Description: ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย

Search

Read the Text Version

ระยะส้ัน การอบรมต่างๆ ได้แก่ การอบรมส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง การอบรมส�ำหรับผู้บริหารอาวุโส โปรแกรมพิเศษด้านเจ้าหน้าท่ีรับรอง ฮาลาล (Islamic Affairs Officers: JAKIM) การพัฒนาภาวะผู้น�ำ ภาษาองั กฤษ ภาษาญป่ี นุ่ เป็นต้น การอบรมและการพัฒนาเป็นกระบวนการหนึ่งในการเพิ่มผลผลิต ต่อหัว และเป็นการสื่อสารเป้าหมายองค์การให้พนักงาน และมาเลเซีย ได้ใช้การอบรมเป็นหนึ่งในกิจกรรมหลักที่จะน�ำพาประเทศให้บรรลุ วิสัยทัศน์ พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) การวางแผนและการสร้างโปรแกรมอบรม การวางแผนและการสร้างโปรแกรมการอบรมส�ำหรับบุคลากร ในภาครฐั มขี น้ั ตอนการด�ำเนนิ งานดงั น้ี 1. จดั ตง้ั ทศิ ทางด้านกลยุทธ์ 2. เพิ่มความสามารถขององค์การ 3. จัดการบุคลากรใหม้ ีคณุ ภาพ 4. พัฒนาแรงงานใหม้ คี วามสามารถ 5. จัดการผลการปฏิบัตงิ าน 6. รางวลั 7. สร้างองค์การให้เป็นองค์การที่มีวัฒนธรรมผลการปฏิบัติงาน ยอดเยยี่ ม นอกจากน้ี หน่วยงานข้าราชการพลเรือน (Public Services Department: PSD) ได้มีการจัดโครงสร้างพ้ืนฐานเพ่ือเข้าสู่มาตรฐาน 150

ระดับโลก เช่น มีการประสานกับสถาบันการศึกษากว่า 60 แห่ง เพื่อจัดโปรแกรมการอบรมท่ีเหมาะสมในการพัฒนาแรงงานและ ความเป็นมอื อาชพี ไดแ้ ก่ สถาบนั การบรหิ ารรฐั กจิ แห่งชาติ (National Institute of Public Administration: INTAN), (Institute Latihan Kehakiman dan Perundangan: ILKAP), (Institute Diplomasidan Hubungan Luar Negeri: IDHL), (Institute Kefahaman Islam Malaysia: IKIM) และอน่ื ๆ โดย INTAN จะเปน็ สถาบนั ทมี่ บี ทบาทส�ำคญั ในการอบรมข้ันพ้ืนฐานส�ำหรบั ขา้ ราชการ การอบรมเพอื่ การพฒั นาในการเลอื่ นต�ำแหนง่ (Career Promotion) การอบรมเพื่อการพัฒนาในการเลื่อนต�ำแหน่งเป็นวิธีการเตรียม ความพรอ้ มใหแ้ กข่ า้ ราชการในระดบั ตา่ งๆ เพอ่ื ใหข้ า้ ราชการมที กั ษะและ ความสามารถพร้อมท่ีจะเลื่อนขึ้นไปสู่ต�ำแหน่งที่สูงขึ้น ซึ่งสามารถสรุป แนวทางการพฒั นาได้ดงั นี้ 1. การอบรมส�ำหรับผู้บริหารระดับสูง มีการส่งผู้บริหารระดับสูง ไปศึกษาต่อด้านการบริหารจัดการ ที่ Harvard Business School, Harvard University, Templeton College และ Oxford 2. การประชมุ สัมมนา โดยมงุ่ จะพฒั นาความร้ดู า้ นการจดั การ 3. การอบรมส�ำหรบั การเลือ่ นข้ึนสู่ต�ำแหน่งทสี่ �ำคญั 4. โปรแกรมการอบรมดา้ นอตุ สาหกรรมและเทคนิค 5. โปรแกรมหลังจบการศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอกทั้งใน และตา่ งประเทศ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 151

6. โปรแกรมการบริหารจัดการส�ำหรบั ผบู้ รหิ าร การมงุ่ ส่ผู ลลพั ธเ์ พ่ือเพ่มิ ผลการปฏิบัติงาน ในส่วนของการประเมินต่างๆ ที่หน่วยงานข้าราชการพลเรือน (Public Service Department: PSD) ก�ำหนดแก่ข้าราชการมาเลเซยี มีดังน้ี 1. การก�ำหนดตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicator - KPIs) ส�ำหรับข้าราชการระดับสูง เพื่อเป็นการวัดผล การปฏิบัติงานหลังจากท่ีได้ผ่านการอบรม นอกจากน้ี ยังได้ก�ำหนด KPIs ส�ำหรบั หวั หนา้ แผนกในการใหค้ วามส�ำคญั ในการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ขา้ ราชการ 2. การประเมินขีดความสามารถ เพ่ือที่จะได้มั่นใจว่าผู้เข้ารับ การอบรมสามารถน�ำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาความสามารถ โดยรัฐบาล ได้เริ่มประเมินขีดความสามารถตั้งแต่วันท่ี 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2545 โดยมจี ดุ ประสงค์ ดังน้ี w เพอ่ื กระต้นุ การพฒั นาตัวเอง w เพื่อกระตุ้นการใชค้ วามรู้ ทกั ษะ และความคดิ สร้างสรรค์ w เพอื่ สรา้ งการท�ำงานเปน็ ทีม w เพ่อื สรา้ งองคก์ ารแหง่ การเรียนรู้ w เพอื่ ผสมผสานการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยผ์ า่ นขดี ความสามารถ w เพอื่ ใช้ในการปรับเงินเดอื น และการเลื่อนต�ำแหนง่ w เพื่อสรา้ งภาครฐั ให้มผี ลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี เี ยี่ยม 152

การประเมนิ ขดี ความสามารถซงึ่ มที ง้ั การประเมนิ ขดี ความสามารถทวั่ ไป และขีดความสามารถในงาน จะมีกิจกรรมการประเมินที่แตกต่างกัน เช่น การประเมินขีดความสามารถท่ัวไปจะมีการสอบข้อเขียนและ การมอบหมายงาน การประเมินความสามารถในงานจะมีการสอบ ข้อเขียน การบริหารงาน และบุคลิกภาพ ผลการประเมินจะแบ่งเป็น เกรด A = ยอดเย่ียม (Excellence) B = ดี (Good) C = น่าพอใจ (Satisfaction) D = ปานกลาง (Fair) และแบ่งเป็นระดับดังนี้ ระดบั 4 = ผา่ น และมีขดี ความสามารถในระดบั ยอดเยยี่ ม 3 = ผา่ น และมขี ดี ความสามารถในระดับสงู 2 = ผา่ น แตม่ เี งอ่ื นไข 1 = ไมผ่ า่ น การที่จะเล่ือนต�ำแหน่งได้นั้นผลการประเมินต้องอยู่ในระดับ 3 ขึ้นไป หากต�่ำกว่าน้ันการเล่ือนต�ำแหน่งอาจต้องมีเง่ือนไขอื่น เช่น หากผล การประเมินเท่ากัน ผู้ที่อาวุโสอาจมีโอกาสได้เล่ือนต�ำแหน่ง กรรมการ ท่ีท�ำหน้าท่ีในการเล่ือนต�ำแหน่งข้าราชการ ได้แก่ ผู้อ�ำนวยการ กรมบริการสาธารณะ เลขาธิการกรมคลังและหัวหน้าส�ำนักเลขาธิการ คณะรัฐมนตรี ในเดอื นกรกฎาคม ปี พ.ศ. 2554 ไดม้ ีการเปลย่ี นจากการประเมิน ขดี ความสามารถเปน็ การประเมนิ แบบ 360 องศา [24]เนอ่ื งจากพบจดุ ออ่ น ของการประเมินขีดความสามารถ เช่น การต้ังข้อสงสัยในผู้ที่ผ่าน การประเมนิ เชน่ มขี า้ ราชการบางกลมุ่ ทไี่ มผ่ า่ นการประเมนิ แตเ่ ปน็ ผทู้ มี่ ี ประสทิ ธภิ าพ และยงั ไดร้ บั รางวลั ยอดเยย่ี มดา้ นการบรกิ าร แตไ่ มส่ ามารถ เล่อื นต�ำแหนง่ ได้เพราะไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ การประเมินอาจไมไ่ ด้ เชื่อมโยงกับงานที่ท�ำ นอกจากน้ีการประเมินขีดความสามารถ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 153

จะท�ำการประเมินปีละ 2 ครั้ง ซ่ึงเกิดความยุ่งยากและการรอผล การประเมินขดี ความสามารถใช้เวลานาน เปน็ ต้น 6.3 หน่วยงานท่รี ับผดิ ชอบด้านการพัฒนาขา้ ราชการ การพัฒนาข้าราชการภาครัฐเกี่ยวข้องกับหลายกระทรวง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรมนุษย์ (The Ministry of Human Resource: MOHR) หน่วยงานข้าราชการพลเรอื น (Public Service Department: PSD) ภายใตก้ ารก�ำกบั โดยส�ำนกั นายกรฐั มนตรี (The Prime Minister’s Office) กระทรวงศกึ ษาธิการ (The Ministry of Educations: MOE) กระทรวงศึกษาธิการช้ันสูง (The Ministry of Higher Education: MOHE) กระทรวงการพัฒนาส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (The Ministry of Rural and Regional Development: MRRD) กระทรวงเยาวชน และการกฬี า (The Ministry of Youth and Sports: MOYS) กระทรวง การคา้ และอตุ สาหกรรม (The Ministry of Trade and Industry: MITI) และกรมสถติ ิ (Department of Statistics (DOS) ดงั ภาพท่ี 8 โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแลทรัพยากรบุคคลในส่วนของภาครัฐ จะรบั ผิดชอบโดยหนว่ ยงานข้าราชการพลเรือนเปน็ หลกั หนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (PSD) มวี สิ ยั ทศั น์ คอื การเปน็ องคก์ าร ยอดเยย่ี มในดา้ นการวางแผน การพฒั นา และการจดั การทรพั ยากรมนษุ ย์ ส่วนเป้าหมายหลักของ PSD คือ การพัฒนา การอบรมข้าราชการ 154

เพอ่ื สนองนโยบายของรฐั บาลไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและบรรลเุ ปา้ หมาย นอกจากนี้ PSD ยังรบั ผิดชอบในการโยกย้าย สบั เปล่ยี นบุคลากรภาครฐั การบรหิ ารเงนิ บ�ำนาญและสวสั ดกิ ารหลังเกษยี ณ [41] คณะกรรมการดา้ นการพฒั นาการวางแผน (Narional Developmcnt Planning Committee) การวางนโยบาย (Policy Making) หนว่ ยวางแผนดา้ นเศรษฐกจิ (Economic Planning Unit) การวางแผน การประสานงาน และ ติดตามผล (Planning, Coordinating, & Monitoring) หนว่ ยงานจัดหาบคุ ลากร หน่วยงาน สนบั สนนุ หน่วยงานวางแผนบุคลากร หนว่ ยงานวางแผนบุคลากร (HR Providers) (Suppcrting agencies) ส�ำหรับภาครฐั บาล ส�ำหรบั ภาคเอกชน MOE MITI (HR Planning for MOHE DOS (HR Planning for public privatesector) MOHR sector) MRRD กระทรวงทรัพยากรมนุษย์ MOYS กรมบรกิ ารสาธารณะ (Ministry of Human (Public Serviee Department: PSD) Resource) บุคลากรท่ีตอ้ งการ (HR requiremcnt at agency lcvel) หน่วยงานของรัฐ (Public sector agencies) ภาพที่ 8 หนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการพฒั นาขา้ ราชการภาครฐั ที่มา: Ghazali, 2011 quoted in Ismail and Osman-Gani, 2011: 43 ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 155

ส�ำหรบั หนา้ ทห่ี ลกั ของหนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (Public Services Department: PSD) ทเี่ ก่ยี วกบั การพัฒนาขา้ ราชการภาครัฐ ไดแ้ ก่ 1. นโยบายการสรรหา การแตง่ ตัง้ การเลอ่ื นต�ำแหน่ง กฎระเบยี บ และการเลิกจา้ ง 2. จดั ระบบโครงสร้างและอัตราก�ำลงั ในทุกส่วนของภาครฐั 3. นโยบายการจ่ายค่าตอบแทน และส่ิงอ�ำนวยความสะดวก แก่บุคลากรในภาครฐั 4. เจรจาต่อรองกับผเู้ สยี หายทเ่ี รยี กรอ้ งตอ่ ภาครฐั 5. จดั การอบรมส�ำหรบั บุคลากรในภาครฐั 6. การจัดการด้านกฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ตลอดจน เงินบ�ำนาญและสวัสดกิ ารหลงั เกษยี ณ 156

7 กฎหมายส�ำ คญั ที่ควรรู้ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 157

7.1 กฎระเบียบข้าราชการ คณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื นมาเลเซีย หรอื Public Services Commission (PSC) ได้ถูกก่อตัง้ ขึ้นเมอ่ื วันท่ี 31 สงิ หาคม พ.ศ. 2500 ซงึ่ เปน็ วนั เดยี วกบั วนั ชาตขิ องมาเลเซยี ทไ่ี ดป้ ระกาศเอกราชจากประเทศ องั กฤษอยา่ งเป็นทางการ ส�ำหรับรัฐธรรมนูญของประเทศมาเลเซียในปัจจุบัน แบ่งออกเป็น 15 ตอน รวมท้ังส้ิน 181 มาตราดังนี้ [48] ตอน 1 รัฐต่างๆ ศาสนา และกฎหมายสหพนั ธรฐั ตอน 2 เสรีภาพขน้ั พ้ืนฐาน ตอน 3 สัญชาติ ตอน 4 สหพันธรฐั ตอน 5 รฐั ต่างๆ ตอน 6 ความสมั พันธ์ระหวา่ งสหพนั ธรัฐกับรฐั ตา่ งๆ ตอน 7 งบประมาณ ตอน 8 การเลือกตงั้ ตอน 9 ศาล ตอน 10 ขา้ ราชการพลเรือน ตอน 11 อ�ำนาจของผ้ปู กครองสงู สุด ตอน 12 บททว่ั ไป ตอน 14 สถานภาพของเจ้าผู้ครองรัฐ ตอน 15 การรักษาอ�ำนาจอธิปไตย 158

จากรัฐธรรมนูญข้างต้น กฎระเบียบข้าราชการได้ถูกบัญญัติไว้ ในตอนท่ี 10 ของรฐั ธรรมนูญมาเลเซยี โดยมีวตั ถปุ ระสงคก์ ารบังคบั ใช้ ตามมาตราที่ 132 ดังนี้ [48] 1. วตั ถปุ ระสงคข์ องรัฐธรรมนญู ในหมวดขา้ ราชพลเรือน เพอื่ (ก) บังคับทางการทหาร (ข) บริการพิจารณาคดตี ามกฎหมาย (ค) ข้าราชการพลเรอื นท่ัวไปของสหพนั ธรฐั (ง) ขอ้ บังคับต�ำรวจ (จ) บรกิ ารทางรถไฟ (ช) ข้าราชการพลเรือนตามมาตรา 133 (ซ) ขา้ ราชการพลเรือ่ นในแตล่ ะรัฐ และ (ฎ) บริการด้านการศกึ ษา 2. ข้อยกเว้นท่ีระบุไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ คุณสมบัติ ในการแตง่ ตงั้ และเงอื่ นไขในการใหบ้ รกิ ารประชาชนของขา้ ราชการพลเรอื น นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในวรรค (ซ) ของข้อ (1) ซ่ึงจะถูกควบคุม โดยกฎหมายของรฐั บาลกลางและภายใตบ้ ทบญั ญตั ขิ องกฎหมายดงั กลา่ ว โดย สมเด็จพระราชาธิบดี (Yang di-Pertuan Agong) และคุณสมบตั ิ ในการแต่งตั้งและข้อก�ำหนดในการให้บริการประชาชนของข้าราชการ พลเรอื นรฐั ใดๆ จะถกู ควบคมุ โดยกฎหมายแหง่ รฐั และภายใตบ้ ทบญั ญตั ิ ของกฎหมายดังกลา่ ว โดยผวู้ า่ การรฐั (Yang di-Pertua Negeri) (2ก) ข้อยกเว้นที่ระบุไว้ชัดเจนในรัฐธรรมนูญส�ำหรับบุคคล ท่ีเป็นสมาชิกของข้าราชการที่ให้บริการประชาชน ที่กล่าวถึง ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 159

ในวรรค (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) (ช) และ (ฎ) ของข้อ (1) จะอยู่ภายใต้ การดูแลของสมเด็จราชาธิบดี (Yang di-Pertuan Agong) ยกเว้น ข้าราชการพลเรือนในแตล่ ะรัฐตามวรรค (ซ) ของข้อ (1) จะอยภู่ ายใต้ การดแู ลของผ้วู ่าการรัฐ (Yang di-Pertua Negeri) 3. ข้าราชการพลเรอื นจะไม่สังกดั ในส่วนประกอบดงั ต่อไปน้ี (ก) ส�ำนกั งานบรหิ ารในสหพนั ธรัฐหรอื รัฐ หรือ (ข) ส�ำนักนายกรัฐมนตรี ผู้รักษาการแทนประธานาธิบดี สมาชกิ ของสภาผแู้ ทนราษฎร และสภานติ บิ ญั ญตแิ หง่ รฐั หรอื (ค) ศาลฎกี า หรอื (ง) ส�ำนักงานสมาชิกคณะกรรมการ หรือคณะกรรมการ ท่ีจดั ตง้ั ขึน้ ตามรฐั ธรรมนญู หรือ (จ) การทูต 4. การอ้างอิงในส่วนนี้ จะยกเว้นไว้ในมาตรา 136 และ 147 ใหแ้ กบ่ คุ คลทเี่ ปน็ ขา้ ราชการพลเรอื นหรอื ทกุ คนทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของขา้ ราชการ พลเรือนที่ไมค่ วรน�ำไปเกย่ี วขอ้ ง (ก) พนักงานในสภาผู้แทนราษฎรหรอื สมาชกิ ของรฐั สภา (ข) อัยการสูงสุด (ค) สมาชิกท่ีเป็นพนักงานส่วนบุคคลของสมเด็จราชาธิบดี (Yang di-Pertuan Agong) และผู้ว่าการรัฐ (Yang di Pertua Negeri) (ง) ในกรณขี องมะละกาและปนี งั ถกู จดั ท�ำโดยกฎหมายของรฐั ส�ำหรับการแต่งตงั้ ต�ำแหนง่ 160

(จ) ประธานกรมการศาสนา (ช) เลขานกุ ารกรมการศาสนา (ซ) ดะโตะ๊ ในศาสนาอสิ ลาม (ฎ) ผตู้ ัดสนิ ความ (กาดี เบซาร)์ หรือ (ฏ) ผูต้ ดั สินความ (กาด)ี คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย (PSC) ได้ถูกก่อต้ังข้ึน ตามมาตรา 144 (1) ของรฐั ธรรมนญู สหพนธรฐั มาเลเซยี ภายใตบ้ ทบญั ญตั ิ ของกฎหมายและบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญนี้ ได้ก�ำหนดหน้าที่ ของคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย (PSC) ในการแต่งต้ัง การยืนยัน การสร้างข้อก�ำหนดบทลงโทษทางวินัย การเล่ือนต�ำแหน่ง เงนิ บ�ำนาญเกษยี ณอายุ การโอนย้ายของสมาชิกขา้ ราชการพลเรอื น ส�ำหรบั บทบาทและหนา้ ทหี่ ลกั ของคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น มาเลเซีย (PSC) ภายใต้มาตรา 144 (1) ประกอบด้วย 6 หน้าท่ีหลัก ดงั นี้ [47] 7.1.1 การบรรจุ แต่งต้งั และการสรรหา (Appointment and Recruitment) คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย (PSC) มีหน้าท่ี ในการจัดการบุคลากรทั้งประจ�ำและช่ัวคราว หรือสัญญาจ้าง ในส่วนข้าราชการพลเรือน รวมท้ังอ�ำนาจหน้าที่ในการยุติการจ้าง ของบุคลากรในส่วนข้าราชการพลเรือนให้เป็นไปตามค�ำสั่ง นอกจากนี้ ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 161

คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนยังมีอ�ำนาจเช่นเดียวกับกระทรวง และหน่วยงานสหพนั ธรฐั ในด้านนโยบายการรับสมัครข้าราชการพลเรือนของมาเลเซีย คือ การดึงดูดและรักษาบุคลากรที่มีความสามารถสูงในภาครัฐ นโยบาย และขั้นตอนการรับสมัครท่ีระบุไว้ในค�ำส่ังท่ัวไป (การนัดหมายและ การเลื่อนข้ัน) แห่งปี พ.ศ. 2516 ส�ำหรับลักษณะเด่นของนโยบาย การรับสมัคร ไมว่ า่ จะเปน็ การจา้ งแบบถาวรหรอื ช่ัวคราวจะตอ้ งมาจาก พลเมืองของประเทศมาเลเซีย และมีคุณสมบัติเป็นไปตามโครงการ รบั สมคั ร ซึ่งมีข้อก�ำหนดของกระบวนการคดั เลอื ก ดงั นี้ [41] 1. การเรมิ่ ตน้ คัดเลอื ก (Initial Screening) เป็นกระบวนการแรกท่ีมีความส�ำคัญมากในการคัดเลือกผู้สมัคร ผ่านช่องทางการสมัครแบบออนไลน์ ทั้งนี้ผู้สมัครจะถูกคัดกรอง ตามความเหมาะสมของคุณสมบตั ิ 2. การสอบ (Examination) การคัดกรองผู้สมัครขั้นตอนต่อมาเป็นการทดสอบที่ประกอบด้วย ความรทู้ ว่ั ไป ทกั ษะการแกป้ ญั หาและทกั ษะดา้ นภาษาดว้ ยแบบทดสอบ บคุ ลกิ ภาพและขอ้ สอบวัดความถนดั 3. การประเมินสมรรถนะ (Competency Assessment) ผสู้ มคั รทผ่ี า่ นการสอบแลว้ จะถกู ประเมนิ สมรรถนะ ซงึ่ สมรรถนะหลกั จะถูกประเมินจากความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และทัศนคติ (Attitude) 4. การสัมภาษณ์ (Interview) 162

การประเมนิ ดว้ ยการสมั ภาษณจ์ ะเปน็ เครอ่ื งมอื สดุ ทา้ ยของการประเมนิ ศักยภาพโดยรวมของผู้สมัคร และเพ่ือตรวจสอบศักยภาพโดยรวม ของผู้สมัครในด้านความรู้ ทักษะ และบุคลิกภาพ การสัมภาษณ์ จะท�ำให้ตัดสนิ ได้ว่าผ้สู มัครเหมาะสมกับงานน้หี รอื ไม่ 7.1.2 การยนื ยนั การใหบ้ รกิ าร (Confirmation of Service) คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย (PSC) มีอ�ำนาจในการ ตรวจสอบบุคลากรในสว่ นของข้าราชการพลเรอื น ในการขยายช่วงเวลา การทดลองหรือยุติการให้บริการ เน่ืองจากความล้มเหลวที่จะได้รับ ของการให้บริการ ซ่ึงจะได้รับอ�ำนาจจากกระทรวงและหน่วยงาน รฐั บาลกลาง เช่นเดยี วกับการบริหารจดั การของรัฐบาลแห่งรัฐ 7.1.3 การหารือเรอื่ งรปู แบบของบ�ำ เหนจ็ บ�ำ นาญ และค่าตอบแทน (Conferment into Pension Status and Remuneration) ข้าราชการมาเลเซียทุกประเภทจะมีวันเกษียณอายุตามวันเกิด เม่ืออายุครบ 55 ปี หากมีความจ�ำเป็นจะต้องให้ข้าราชการผู้น้ัน ปฏิบัติงานต่อ อาจจ้างผู้นั้นด�ำรงต�ำแหน่งต่อไป โดยท�ำสัญญาจ้าง เปน็ รายปี แตไ่ ม่เกนิ อายุ 60 ปี และหน่วยงานขา้ ราชการพลเรือน (PSD) เปน็ หนว่ ยงานทท่ี �ำหนา้ ทคี่ วบคมุ การเกษยี ณอายขุ องขา้ ราชการมาเลเซยี ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 163

และมีระบบฐานข้อมูลข้าราชการในการบริหารทรัพยากรบุคคล อย่างมีประสิทธิภาพ จึงไม่ประสบปัญหาเร่ืองการวางแผนก�ำลังคน การสรรหา และการบรรจุแต่งตั้งข้าราชการแทนผู้ท่ีเกษียณอายุ ราชการ [9] ส�ำหรับประเภทการเกษียณอายุข้าราชการประเทศมาเลเซีย มรี ะเบยี บ ดังนี้ 1. การเกษียณอายุราชการแบบปกติ ข้าราชการทั้งหญิงและชาย จะเกษยี ณอายรุ าชการในวนั เกดิ ทมี่ อี ายคุ รบ 56 ปี การเกษยี ณอายรุ าชการ แบบทางเลอื ก หนว่ ยงานขา้ ราชการพลเรอื น (PSD) ก�ำหนดใหข้ า้ ราชการ มาเลเซยี สามารถเลอื กเกษยี ณอายุ แบบทางเลอื กไดน้ นั้ ตอ้ งมอี ายตุ งั้ แต่ 40 ปีข้ึนไป โดยสามารถเลือกที่จะเข้าร่วมโครงการบ้านแบ่งเช่าหรือ พนักงานกองทุนส�ำรองเลี้ยงชีพโครงการ 2. การเกษยี ณอายรุ าชการแบบไมส่ ามารถปฏบิ ตั งิ านได้ อาจตอ้ งยตุ ิ การท�ำงานหากมีเหตุหรือกรณีต่างๆ เช่น มีความผิดปกติทางร่างกาย หรือจติ ใจ ในสว่ นของการแตง่ ตงั้ ขา้ ราชการเพอ่ื ด�ำรงต�ำแหนง่ ทม่ี กี ารเกษยี ณอายุ มีระเบียบดงั น้ี 1. ข้าราชการท่ีเกษียณอายุตามวันเกิดมิได้มีจ�ำนวนมากนัก ท�ำให้ สามารถควบคมุ การแตง่ ตง้ั ขา้ ราชการสตู่ �ำแหนง่ ทวี่ า่ งลงได้ โดยประเทศ มาเลเซยี มีระบบการแต่งตั้งขา้ ราชการส่ตู �ำแหน่งท่ีวา่ งลง 2 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบเปดิ เป็นการย้ายข้าราชการจากหน่วยงานหน่ึงไปอีก หนว่ ยงานหนึง่ 164

ระบบปิด เป็นระบบท่ีใช้กับงานด้านบริการ ดังนั้นการย้ายระบบ กระทรวงจึงเป็นไปได้ยาก จ�ำเป็นต้องมีการวางแผนก�ำลังคนท่ีดี และ สามารถรองรบั ต�ำแหนง่ ท่วี ่างลงได้ 2. การย้ายข้าราชการนั้นจ�ำเป็นต้องมีระบบฐานข้อมูลท่ีดีและ มปี ระสทิ ธภิ าพสามารถแสดงใหเ้ หน็ ลว่ งหนา้ วา่ ในวนั หนง่ึ จะมขี า้ ราชการ ท่ีจะเกษียณอายุจ�ำนวนเท่าใด และมีใครท่ีควรจะได้รับการแต่งตั้ง เขา้ สูต่ �ำแหน่งท่วี ่างลงได้ 3. ผลตอบแทนการเกษียณอายุท่ีจ่ายให้แก่บุคลากรภาครัฐ ได้แก่ 1) บ�ำเหน็จ 2) เงินบ�ำนาญรายเดือนตลอดชีวิต 3) การได้รับรางวัล เงินสดแทนการปล่อยให้สะสม เงินจ่ายเหล่าน้ีจะมอบให้แก่พนักงาน เมื่อออกจากบ�ำนาญ ส�ำหรับผู้ท่ีเกษียณตัวเลือกเพียงบ�ำเหน็จและ เงนิ รางวลั แทนการออกสะสมจะไดร้ บั เงนิ เมอ่ื ออกจากงานเมอ่ื บรรลอุ ายุ 45 ส�ำหรบั หญิง และ 55 ส�ำหรบั ชาย ผ้ดู �ำรงต�ำแหน่งใหม่ในการบริการ สาธารณะในวันท่ีหรือหลังวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2534 จะได้รับเงิน บ�ำนาญเมอื่ อายุ 55 ปี และเมอื่ มกี ารเสยี ชวี ติ องผรู้ บั บ�ำนาญ เงนิ บ�ำนาญ ท่ียังเหลืออยู่จะอุปการะ แม่ม่ายหรือพ่อม่ายที่มีสิทธิ และเด็กที่มีสิทธิ ถกู ตอ้ งตามข้อก�ำหนด ในส่วนค่าตอบแทนของข้าราชการ ประกอบด้วย เงินเดือนคงท่ี และมีการช�ำระเงินท่ีแปรสภาพได้หลายรูปแบบ เช่น ท่ีอยู่อาศัย และ คา่ ตอบแทนฉกุ เฉนิ ข้าราชการยงั มีสทิ ธปิ ระโยชน์ต่างๆ เชน่ การรักษา ทางการแพทย์ โรงพยาบาล และสวสั ดิการในกรณีฉกุ เฉิน เช่น ไฟไหม้ และสถานีต�ำรวจ วัตถุประสงค์ของการจ่ายค่าตอบแทนดังกล่าว ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 165

เพ่ือให้มั่นใจว่าสมาชิกของบริการสาธารณะได้รับค่าจ้างท่ีเป็นธรรม และเหมาะสมเปน็ คา่ ตอบแทนในการปฏิบัตหิ นา้ ที่ 7.1.4 การเลอ่ื นตำ�แหนง่ (Promotion) ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานถูกน�ำมาใช้ในการก�ำหนด ความก้าวหน้า เงนิ เดอื นประจ�ำปี และการเลือ่ นขน้ั ระบบนี้จะแนะน�ำ การประเมินผลอย่างเป็นระบบมากข้ึน และมีความน่าเชื่อถือเพราะมี องค์ประกอบน้อย ระบบนี้จะให้น้�ำหนักมากขึ้นในแง่มุมที่แตกต่างกัน ส�ำหรบั กลมุ่ บรกิ ารทแ่ี ตกตา่ งกนั ดา้ นตา่ งๆ ทใ่ี ชใ้ นการประเมนิ มีดงั นี้ (ก) ผลงานตามความรู้ คุณภาพการท�ำงาน ความตรงต่อเวลา ความสามารถในการจัดการ และการตดั สินใจ (ข) คา่ นิยมท่ีดี เชน่ ความซอ่ื สัตย์ และความน่าเชื่อถือ (ค) ศักยภาพในการเป็นผนู้ �ำ และ (ง) เปา้ หมายประจ�ำปตี ามทต่ี กลงกนั โดยทงั้ สองฝา่ ยทมี่ กี ารประเมนิ และรายงานเจ้าหน้าท่ีภายใต้ระบบค่าตอบแทนใหม่ หรือ New Remuneration Systems - NRS) ผู้อาวุโสในข้าราชการพลเรือน จะไมไ่ ดร้ บั การใหค้ วามส�ำคญั สงู สดุ กระบวนการคดั เลอื กส�ำหรบั เจา้ หนา้ ที่ ที่จะได้รบั การเลือ่ นขั้น รวมถึงการประเมนิ คุณภาพ เชน่ ความเปน็ ผนู้ �ำ นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ท่ีนอกเหนือไปจากคุณสมบัติเดิม มปี ระสบการณ์ การฝกึ อบรม การประเมนิ ผล การรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน ทห่ี ลกั สตู รการจดั การบงั คบั ด�ำเนนิ การในสถาบนั การบรหิ ารรฐั กจิ แหง่ ชาติ 166

หรือ National Institute of Public Administration - INTAN) และ การสมั ภาษณ์ การเลอื่ นขน้ั จากทหี่ นง่ึ ไปยงั อกี ขน้ั จะขน้ึ อยกู่ บั ความพรอ้ ม ของต�ำแหน่งงานว่าง แต่อย่างไรก็ตาม ส�ำหรับนักวิจัย คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั และผเู้ ชยี่ วชาญทางการแพทยแ์ ละทนั ตกรรม การด�ำเนนิ งาน ของการเลอ่ื นขน้ั จะด�ำเนนิ การตามขน้ั ตอนทรี่ ะบไุ วใ้ นโครงการทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ในการให้บริการ คือ 1. การพิจารณาของคณะทมี่ ตี ัวแทนจากกรมบรกิ ารประชาชน 2. การใชร้ ะบบการประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตามทรี่ ะบไุ ว้ขา้ งต้น 7.1.5 การโอนยา้ ย (Transfer) คณะกรรมการข้าราชการพลเรือนมาเลเซีย (PSC) มีอ�ำนาจ ในการโอนย้ายเจ้าหน้าท่ีประจ�ำในสังกัดข้าราชการพลเรือนไปยัง หนว่ ยงานหรอื โครงการอน่ื ๆ ทอ่ี ยใู่ นระดบั เดยี วกนั นอกจากนย้ี งั มอี �ำนาจ ในการโอนเจ้าหน้าที่ประจ�ำไปด�ำรงต�ำแหน่งแทนพนักงานช่ัวคราวหรือ สัญญาจา้ งไดเ้ ชน่ กัน 7.1.6 การควบคุมระเบยี บวินยั (Exercise Disciplinary Control) การด�ำเนินการทางวินัยเป็นมาตรฐาน และการสร้างให้ข้าราชการ มแี นวทางประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั โดยไดก้ �ำหนดโทษ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 167

ทางวินัยไว้ 3 สถาน คือ 1) การตักเตือน 2) การไม่ข้ึนเงินเดือน 3) การไล่ออกการด�ำเนินการลงโทษทางวินัยจะข้ึนอยู่กับความร้ายแรง ของการกระท�ำนั้นๆ ซึ่งการด�ำเนินการทางวินัย 3 สถาน มีนัยถึง ความเดด็ ขาดของการบังคบั ใชก้ ฎหมาย 7.2 กฎหมายแรงงาน พระราชบัญญัติการคุ้มครองสิทธิประโยชน์คนงาน พ.ศ. 2495 (Workman’s Compensation Act 1952) ระบุว่า แรงงานต่างชาติ ได้รบั ความคมุ้ ครองภายใตพ้ ระราชบญั ญตั ฯิ นี้เชน่ เดยี วกบั ชาวมาเลเซีย โดยประเทศมาเลเซียจะก�ำหนดให้นายจ้างท�ำประกันให้กับแรงงาน โดยมคี า่ เบยี้ ประกนั 86 รงิ กติ ตอ่ ปี ซงึ่ จะไดร้ บั ผลประโยชนจ์ ากเงนิ ประกนั และการจา่ ยเงินทดแทนในลกั ษณะต่างๆ ดงั นี้ [17] 1. กรณีเสียชีวิต (รวมถึงการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุนอกเวลาท�ำงาน แตไ่ มร่ วมการเสยี ชวี ติ ตามธรรมชาติ การฆา่ ตวั ตาย และการตายเนอ่ื งจาก เสพยาเสพติด) ได้รับค่าทดแทนไม่เกิน 18,000 ริงกิต หรือ 60 เท่า ของเงินเดอื น แลว้ แต่จ�ำนวนใดจะตำ่� กวา่   2. กรณบี าดเจบ็ w พิการทุพพลภาพจนไม่สามารถท�ำงานได้ หรือเป็นอัมพาต ไดร้ ับคา่ ทดแทนไม่เกนิ 23,000 รงิ กิต 168

w พกิ ารบางส่วนคดิ เปน็ สัดสว่ นตามสภาพความพกิ าร ไดร้ บั เงิน ทดแทนสูงสุดไมเ่ กนิ 20,000 ริงกิต w ทุพพลภาพชั่วคราว ได้รับเงินช่วยเหลือเดือนละ 183 ริงกิต หรือ 1 ใน 3 ของค่าจา้ งรายเดือน แล้วแตจ่ �ำนวนใดจะตำ่� กวา่ w คา่ รกั ษาพยาบาล ในวงเงนิ ไมเ่ กนิ 520 รงิ กติ ตอ่ ครง้ั (คา่ รกั ษา พยาบาล คา่ ผ่าตดั ค่าเอก็ ซเรย์ คา่ ฉายรงั สี และอืน่ ๆ) 3. การสง่ คนงานกลบั ประเทศภูมิล�ำเนา w กรณีเสียชีวิตหรือทุพพลภาพถาวร จะได้รับสิทธิประโยชน์ 48,000 รงิ กติ 4. สิทธปิ ระโยชน์จากการประสบอุบตั ิเหตุนอกเวลาท�ำงาน w กรณีถึงแก่ชีวิตและทุพพลภาพถาวร ได้รับเงินค่าชดเชย 20,000 รงิ กิต การพิจารณาสิทธิประโยชน์ตามพระราชบัญญัติการคุ้มครอง สิทธิประโยชน์คนงาน พ.ศ. 2495 ส�ำนักงานแรงงานประจ�ำรัฐ จะเป็นผู้พิจารณาตามค�ำวินิจฉัยของแพทย์ และตรวจสอบกับแรงงาน ประกอบการพิจารณา และใช้เวลาพิจารณาประมาณ 1 เดือน โดยท่ีส�ำนักงานแรงงานประจ�ำรัฐส่ังให้บริษัทประกันจ่ายเงินทดแทน ใหแ้ กแ่ รงงานทไ่ี ดร้ บั บาดเจบ็ โดยตรง แตใ่ นกรณนี ายจา้ งไมไ่ ดท้ �ำประกนั ให้แรงงาน ส�ำนักงานแรงงานประเทศมาเลเซียจะบังคับให้นายจ้าง เปน็ ผ้จู ่ายเงินค่าทดแทนนัน้ ๆ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 169

7.2.1 บทลงโทษแรงงานท่ไี ม่มีใบอนญุ าตท�ำ งาน การเข้าไปท�ำงานในประเทศมาเลเซียทุกอาชีพและทุกประเภท จะต้องได้รับอนุญาตท�ำงาน (Work Permit) โดยจะประทับตรา การอนญุ าตท�ำงานในหนงั สอื เดนิ ทาง ซง่ึ หากถกู ตรวจพบวา่ เขา้ มาท�ำงาน โดยไม่มีใบอนุญาตท�ำงานจะถูกจับกุมและด�ำเนินคดีในข้อหาใช้วีซ่า หรือเข้าเมืองผิดประเภท มีโทษจ�ำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับตามระยะเวลา ของโทษ คือ 6 เดือน - 1 ปี ปรบั 2,100 ริงกิต มากกว่า 2 - 6 ปี ปรบั 3,000 รงิ กิต (สงู สุด) หรอื ทงั้ จ�ำท้งั ปรบั [17] 7.2.2 วันหยดุ ตามพระราชบัญญตั ิแรงงาน พ.ร.บ. แรงงานก�ำหนดให้ใน 7 วนั คนงานสามารถมีวันหยุดได้ 1 วัน สว่ นวันหยดุ ท่สี องถอื ว่าเป็นวนั หยุดภายใต้ พ.ร.บ. แรงงานปี พ.ศ. 2498 มาตรา 59 (1) พ.ร.บ. แรงงาน มาตรา 60 (D) ปี พ.ศ. 2498 ได้ก�ำหนดใหม้ ีวนั หยดุ 10 วนั โดยไดร้ บั เงนิ คา่ จา้ ง 4 วนั ก�ำหนดโดย พ.ร.บ. และอกี 6 วนั ทเี่ หลอื ก�ำหนดโดยนายจ้าง วนั หยดุ ดงั กล่าวน้ี คือ 1. วนั ชาติ 2. วนั เกิดพระราชาธิบดี 3. วันเกิดสุลต่านหรือผู้ว่าการรัฐที่แรงงานท�ำงานเต็มเวลาหรือ เวลาสว่ นใหญ่ในรฐั น้นั ๆ 170

4. วันสหพันธรัฐส�ำหรับแรงงานเต็มเวลาหรือเวลาส่วนใหญ่ ในดนิ แดนสหพันธรัฐ (กัวลาลัมเปอร์ ปตุ ราจายา ลาบวน) 5. วนั แรงงาน 6. หากวนั หยดุ วนั หนงึ่ วนั ใดใน 10 วนั นเ้ี ปน็ วนั หยดุ ปกติ จะตอ้ งถอื วนั ถดั มาเปน็ วนั หยดุ ทไี่ ดร้ บั คา่ จา้ ง และถา้ วนั หยดุ ทไี่ ดร้ บั คา่ จา้ ง ตรงกับวันหยุดประจ�ำปีและวันหยุดลาป่วย นายจ้างจะต้องให้ วันหยุดอื่นเพอ่ื ทดแทนวนั หยดุ (Cuti Umum) แก่แรงงาน 7. วันหยุดประจ�ำปีตามมาตรา 60 (E) พ.ร.บ. แรงงาน แรงงาน สามารถหยุดประจ�ำปีทุกๆ 12 เดือนของการปฏิบัติงาน ตดิ ต่อกนั โดย w ลาหยุด 8 วนั ในกรณเี วลาปฏิบตั งิ านนอ้ ยกว่า 2 ปี w ลาหยุด 12 วัน ในกรณเี วลาปฏิบัติงานระหวา่ ง 2 - 5 ปี w ลาหยดุ 16 วัน ในกรณเี วลาปฏิบัติงานมากกวา่ 5 ปี แรงงานต้องใช้เวลาวันหยุดดังกล่าว เมื่อครบเวลา 12 เดือน ของการปฏิบัตงิ าน ในกรณแี รงงานไม่ใชว้ นั ดังกลา่ วเปน็ วนั หยุดแรงงาน จะสูญเวลาของวนั หยดุ ดังกล่าว แต่จากการแก้ไขกฎหมายปี พ.ศ. 2532 แรงงานที่ได้รับค่าทดแทนในกรณีแรงงานยินยอมท�ำงานในวันดังกล่าว โดยการรอ้ งขอของนายจา้ ง ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 171

7.2.3 เวลางาน แรงงานไมส่ ามารถท�ำงานไดเ้ กนิ กวา่ 5 ชวั่ โมงตดิ ตอ่ กนั โดยไมห่ ยดุ พกั ไม่น้อยกว่า 30 นาที (ส�ำหรับผู้ท�ำงาน 8 ชั่วโมง เวลาพักไม่น้อยกว่า 45 นาที) นอกจากนี้นายจ้างสามารถเพิ่มเวลาท�ำงานเป็น 12 ชั่วโมง แตไ่ ม่เกิน 48 ชัว่ โมงตอ่ สปั ดาห์ 7.2.4 การท�ำ งานลว่ งเวลา นายจา้ งไมอ่ นญุ าตใหแ้ รงงานท�ำงานมากกวา่ 64 ชว่ั โมงในหนง่ึ เดอื น ค่าจา้ งในวนั ธรรมดาตอ้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 1.5 เทา่ ตอ่ คา่ จา้ งในวนั หยุด 7.2.5 ลาป่วย ตาม พ.ร.บ. แรงงาน มาตรา 60 F (1) แรงงานท่ีมีสิทธิลาป่วย ในกรณีได้รับการตรวจจาก 1. ทนั ตแพทย์ 2. แพทยท์ ่ีนายจา้ งจดทะเบยี นไว้ หรอื 3. ในกรณีไม่อาจพบแพทย์ที่นายจ้างจดทะเบียนไว้ ด้วยเหตุจาก เวลาและระยะทาง แรงงานสามารถพบแพทย์ใดๆ ก็ได้ ค่าใช้จ่าย จากการรกั ษาหรอื การตรวจนายจา้ งจะเปน็ ผรู้ บั ผดิ ชอบ ใน 1 ปี แรงงาน มสี ิทธ์ิลาปว่ ย 12 - 20 วนั โดยได้รบั คา่ จา้ งตามเงื่อนไขของระยะเวลา การปฏบิ ตั ิงาน 172

7.2.6 การจา่ ยค่าแรง ใน พ.ร.บ. แรงงาน มีค�ำว่าอัตราค่าจา้ ง ซ่งึ หมายถงึ คา่ จา้ งท่นี ายจา้ ง ต้องจา่ ยแก่แรงงานในวนั ตอ่ ไปนที้ �ำงานล่วงเวลา 1. วนั หยดุ (Cuti Umum) 2. ลาปว่ ย 3. ลาคลอด 4. ลาประจ�ำปี 5. ท�ำงานในวันหยุด (Hari Rehat) 6. ท�ำงานในวนั หยุด (Cuti Umum) รัฐบาลมาเลเซียก�ำหนดค่าแรงข้ันต�่ำให้แรงงานภาคเอกชน เป็นครั้งแรกโดยแรงงานในคาบสมทุ รมาเลเซยี จะได้ 900 รงิ กิตตอ่ เดอื น หรอื 4.33 รงิ กติ ตอ่ ชว่ั โมง สว่ นแรงงานในรฐั ซาราวคั ซาบาห์ และลาบวน ไดร้ บั 800 รงิ กติ ตอ่ เดอื น หรอื 3.85 รงิ กติ ตอ่ ชว่ั โมง โดยมผี ลบงั คบั ใชแ้ ลว้ เมอื่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2556 โดยบางสถานประกอบการทเ่ี ปน็ ขนาด กลาง และขนาดเลก็ ได้มีการอุทธรณข์ อเลื่อนออกไปอกี 3 - 6 เดือน ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 173

ตารางท่ี 2 อตั ราค่าจ้างมาตรฐานข้นั ต่ำ�และเง่ือนไข ส�ำ หรบั การจา้ งงานแรงงานไทยในประเทศมาเลเซยี ท่ีมา: ส�ำ นักงานแรงงานในมาเลเซีย, 2556 7.2.7 การเลกิ สญั ญา ตาม พ.ร.บ. แรงงาน ปี พ.ศ. 2498 มาตรา 11 (1) กลา่ วว่า ระยะ เวลาของการหมดสัญญา คอื ระยะเวลาทีก่ �ำหนดไวต้ ามสญั ญา และใน กรณที ที่ �ำสญั ญาโดยก�ำหนดการแลว้ เสรจ็ ของงาน เมอื่ งานแลว้ เสรจ็ กถ็ อื ได้วา่ สัญญาไดย้ ุตลิ ง 174

ในมาตรา 11 (2) ได้ก�ำหนดว่า สัญญาที่ไม่ได้ก�ำหนดเวลา จะต้องด�ำเนนิ ต่อไปจนกวา่ จะแล้วเสร็จตามงานทีไ่ ดท้ �ำ ตาม พ.ร.บ. แรงงาน มาตรา 12 (1) ได้กล่าวว่านายจ้างสามารถ จะยตุ ิสญั ญาได้ โดยแจง้ ตอ่ ลูกจา้ งในกรณี ดังน้ี 1. เม่ือลูกจ้างขาดทักษะในการท�ำงาน ไม่ว่าจะเกิดจากฝีมือหรือ ความสามารถ 2. เมือ่ ลูกจ้างขาดคณุ สมบตั ิ แจ้งคณุ วุฒิไมต่ รงกบั ความจรงิ 3. เมื่อลูกจา้ งมปี ญั หาสขุ ภาพ การกระท�ำความผิด ลกู จา้ งสามารถถูกยกเลิกสัญญาไดเ้ มือ่ 1. นอนในขณะปฏบิ ัตหิ น้าท่ี 2. ประมาทขณะปฏบิ ัติหนา้ ที่ 3. ขโมยทรพั ยส์ ินของนายจ้างหรอื แรงงานอื่น 4. เมาขณะปฏบิ ัติหนา้ ที่ 5. ไม่ปฏบิ ัติตามค�ำสัง่ ท่ีถูกตอ้ งของนายจา้ ง 7.2.8 การยกเลกิ สัญญาจ้าง โดยแจ้งประกาศตาม พ.ร.บ. แรงงาน มาตรา 12 (2) ได้กล่าวว่า นายจา้ งสามารถแจง้ ประกาศยกเลกิ สญั ญาตอ่ ลกู จา้ งได้ และมาตรา 12 (2) ไดก้ �ำหนดระยะเวลาของการแจ้งประกาศยกเลกิ สัญญา โดยไม่นอ้ ยกว่า ดงั น้ี 1. ต้องแจ้ง 4 สัปดาห์ ในกรณีแรงงานท�ำงานน้อยกว่า 2 สัปดาห์ นับแต่การแจง้ ประกาศ ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซยี 175

2. ต้องแจ้ง 6 สัปดาห์ ในกรณีแรงงานท�ำงาน 2 ปี หรือมากกว่า แตไ่ ม่เกนิ 5 ปี นับแตก่ ารแจ้งประกาศ 3. ต้องแจ้ง 8 สัปดาห์ ในกรณีแรงงานท�ำงาน 5 ปี หรือมากกว่า นับแตก่ ารแจง้ ประกาศ การยกเลิกสัญญาจ้าง โดยไม่แจ้งประกาศตาม พ.ร.บ. แรงงาน มาตรา 14 (1) นายจา้ งสามารถท่จี ะด�ำเนนิ การได้ต่อไปนี้ 1. ยกเลิกสัญญาจ้างโดยไมแ่ จ้งประกาศ 2. ลดขั้นของแรงงาน หรอื 3. ลงโทษสถานเบาตามทีเ่ หน็ สมควร 7.2.9 พ.ร.บ. ประกนั คนงาน (Akta Pampasan pekerja/ Workmen’s Compensation Act) เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุขณะท�ำงาน ลูกจ้างจะต้องท�ำ กรมธรรม์ประกันตนเอง อันจะได้รับค่าทดแทนเมื่อเกิดอุบัติเหตุ จากการท�ำงาน และนายจ้างจะต้องท�ำประกันให้แก่แรงงาน โดยมี ค่าเบ้ียประกัน 86 ริงกิตต่อปี ซ่ึงจะได้รับผลประโยชน์จากเงินประกัน และการจ่ายเงนิ ทดแทนในลกั ษณะตา่ งๆ ดังนี้ 1. กรณีเสียชีวิต (รวมถึงการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุนอกเวลาท�ำงาน แตไ่ มร่ วมการเสยี ชวี ติ ตามธรรมชาติ การฆา่ ตวั ตาย และการตายเนอื่ งจาก เสพยาเสพติด) w ได้รับค่าทดแทนไม่เกิน 18,000 ริงกิต หรือ 60 เท่า ของเงินเดือนแลว้ แตจ่ �ำนวนใดจะตำ�่ กวา่ 176

2. กรณบี าดเจ็บ w พิการทุพพลภาพจนไม่สามารถท�ำงานได้ หรือเป็นอัมพาต ได้รับคา่ ทดแทนไมเ่ กนิ 23,000 ริงกติ w พกิ ารบางสว่ นคดิ เปน็ สดั สว่ นตามสภาพความพกิ าร โดยไดร้ บั เงินทดแทนสูงสุดไมเ่ กิน 20,000 รงิ กิต w ทุพพลภาพช่ัวคราว ได้รับเงินช่วยเหลือเดือนละ 183 ริงกิต หรอื 1 ใน 3 ของค่าจ้างรายเดือน แล้วแตจ่ �ำนวนใดจะตำ�่ กวา่ w ค่ารกั ษาพยาบาลในวงเงินไม่เกนิ 520 รงิ กติ ต่อครง้ั (ค่ารกั ษา พยาบาล ค่าผา่ ตดั คา่ เอกซเรย์ คา่ ฉายรังสี และอ่นื ๆ) 7.2.10 กองทนุ เงนิ สะสม (Kumpulan Wang Sempanan /Provident Fund) มีกองทุนคล้ายกองทุนประกันสังคมของไทย โดยนายจ้างออกเงิน สมทบกองทุนดังกล่าว ในสิงคโปร์มกี ารจดั ตัง้ กองทนุ นใี้ นปี 2498 7.2.11 การพจิ ารณาสทิ ธิประโยชน์ตามพระราชบญั ญตั กิ าร คมุ้ ครองสิทธิประโยชน์แรงงานปี พ.ศ. 2495 w ส�ำนักงานแรงงานประจ�ำรัฐจะเป็นผู้พิจารณาตามค�ำวินิจฉัย ของแพทย์และตรวจสอบกับแรงงานประกอบการพิจารณา ใช้เวลาพจิ ารณาประมาณ 1 เดอื น w ส�ำนักงานแรงงานประจ�ำรัฐสั่งให้บริษัทประกันจ่ายเงินทดแทน ใหแ้ ก่แรงงานทไ่ี ด้รับบาดเจ็บโดยตรง ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซยี 177

w กรณนี ายจา้ งไมไ่ ดท้ �ำประกนั ใหแ้ รงงาน ส�ำนกั งานแรงงานประเทศ มาเลเซยี จะบงั คับใหน้ ายจา้ งเป็นผูจ้ า่ ยเงินคา่ ทดแทนนนั้ ๆ w สิทธปิ ระโยชน์และการคุม้ ครองแรงงานตา่ งชาติ 7.3 กฎหมายเข้าเมือง ด้านกฎระเบียบและข้ันตอนการน�ำเข้าแรงงานของมาเลเซียพบว่า ข้ันตอนการจ้างแรงงานต่างชาติของมาเลเซียน้ัน หากเป็นงานระดับสูง นายจ้างจะต้องประกาศรับสมัครแรงงานท้องถิ่นเป็นอันดับแรก โดยการประกาศรับสมัครงานทางหนังสือพิมพ์ท้ังภาษามาเลเซียและ ภาษาอังกฤษ และหากไม่มีผู้สมัครภายใน 2 สัปดาห์ และเป็นงาน ในสาขาอาชพี ทไี่ ดร้ บั อนญุ าตใหแ้ รงงานตา่ งชาตทิ �ำงานได้ จงึ จะสามารถ ขออนุญาตต่อกระทรวงมหาดไทยมาเลเซียเพ่ือจ้างแรงงานต่างชาติได้ แตห่ ากเปน็ แรงงานระดบั ลา่ งสามารถขออนญุ าตไดท้ นั ที ในการขออนญุ าต นายจา้ งตอ้ งมหี ลกั ฐานเอกสารจากกรมการจดั หางานมาเลเซยี กระทรวง ทรพั ยากรมนษุ ย์ ทแี่ สดงวา่ ไมส่ ามารถจดั หาแรงงานตามทนี่ ายจา้ งตอ้ งการ มาประกอบการขออนมุ ตั ดิ ว้ ย และเมอื่ ไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากกระทรวงมหาดไทย ของประเทศมาเลเซียแล้ว นายจ้างต้องน�ำหลักฐานท่ีแสดงรายละเอียด แรงงาน (ถา่ ยส�ำเนาหนงั สอื เดนิ ทางของแรงงาน ใบตรวจโรค และรปู ถา่ ย) และต�ำแหน่งงานท่ีได้รับอนุญาตให้น�ำเข้าแรงงานไปติดต่อท่ีส�ำนักงาน ตรวจคนเข้าเมือง เพ่ือขออนุมัติวีซ่าประเภทท�ำงานให้แรงงาน และ 178

ช�ำระเงินประกันค่าวีซ่า ค่าภาษีในการจ้างแรงงานต่างชาติ รวมท้ัง ท�ำประกนั เงนิ ทดแทนให้กับแรงงานดว้ ยส�ำหรบั ค่าใชจ้ า่ ยตา่ งๆ ในการขออนุญาตเข้าท�ำงานในมาเลเซียแบ่งอัตราค่าใช้จ่าย ในการขออนุญาตท�ำงานตามประเภทงานดงั นี้ ตารางท่ี 3 คา่ ใชจ้ ่ายสำ�หรับขออนญุ าตนำ�แรงงานต่างชาติ เขา้ มาท�ำ งานในมาเลเซีย ท่ีมา: หนังสอื แจง้ จากกระทรวงมหาดไทยประเทศมาเลเซยี ท่ี KHEDN: 100/637/1 Jld.31 (2) ลว., 2550 หมายเหตุ * ธรุ กิจสปาและนวดเทา้ ผปู้ ระกอบการจะตอ้ งจา่ ยคา่ ธรรมเนยี มเพิ่มอีก 3,000 รงิ กติ /คน ซ่ึงจะไดร้ บั คนื เมื่อครบสญั ญา หรือมีการยกเลิกใบอนญุ าตทำ�งาน * ภาคบริการประกอบด้วยธรุ กจิ ด้านสปาและนวดเทา้ รา้ นอาหาร ซกั รีด โรงแรม และอื่นๆ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 179

7.3.1 บทลงโทษเกี่ยวกบั การเข้าเมอื งผิดกฎหมาย ทางการมาเลเซยี จะด�ำเนนิ การกบั ผเู้ ขา้ เมอื งและอาศยั อยใู่ นมาเลเซยี โดยผิดกฎหมายให้มีการลงโทษสูงข้ึน โดยตรากฎหมายเข้าเมือง ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่วันท่ี 1 สิงหาคม พ.ศ. 2545 เปน็ ตน้ ไป ทางการมาเลเซยี เรม่ิ ด�ำเนนิ การเอาผดิ กบั คนตา่ งดา้ วทเ่ี ขา้ เมอื ง โดยผิดกฎหมายและผู้เกี่ยวข้องอย่างจริงจัง โดยก�ำหนดบทลงโทษ แก่ผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายโทษปรับไม่เกิน 10,000 ริงกิต (ประมาณ 100,000 บาท) หรือจ�ำคุกไมเ่ กนิ 5 ปี หรือทัง้ จ�ำท้ังปรับ และถกู เฆ่ยี น ไม่เกิน 6 ที ส�ำหรับนายจ้างท่ีรับคนงานผิดกฎหมายมีโทษปรับต้ังแต่ 10,000 - 50,000 ริงกิต หรือจ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี (ต่อลูกจ้าง 1 คน) รวมถึงผ้ใู หท้ ่พี กั พงิ แก่ผ้เู ข้าเมอื งผิดกฎหมายมีโทษสงู สุด 60,000 ริงกิต หรอื จ�ำคุกไมเ่ กิน 2 ปีต่อผ้เู ขา้ เมอื งผิดกฎหมาย 1 คน หรือท้งั จ�ำทั้งปรบั โดยสรปุ แลว้ การเขา้ เมอื งโดยไม่ถกู กฎหมายมีโทษดงั น้ี [48] w ผเู้ ขา้ เมืองผดิ กฎหมาย ปรับ 10,000 รงิ กติ หรอื จ�ำคุก 5 ปี หรอื ทง้ั จ�ำทงั้ ปรบั และถกู เฆ่ยี น 6 ครง้ั w นายจ้างทีไ่ ดร้ ับแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย 1 - 5 คน ปรับ 10,000 - 50,000 ริงกิต หรอื จ�ำคกุ 1 ปตี อ่ ลูกจา้ ง 1 คน หรอื ทัง้ จ�ำทง้ั ปรับ w นายจ้างทรี่ บั แรงงานตา่ งด้าวผดิ กฎหมายมากกว่า 5 คน ถกู เฆยี่ น และจ�ำคุก 5 ปี w เจ้าของอาคารท่ีอนุญาตให้ผู้เข้าเมืองผิดกฎหมายพักอาศัย 180

มโี ทษปรับไมน่ ้อยกว่า 30,000 รงิ กิต หรอื จ�ำคุกไม่เกิน 1 ปี ต่อคนเขา้ เมอื งผดิ กฎหมาย 1 คน หรือท้ังจ�ำท้งั ปรบั w ผู้ปกป้องหรือใหค้ วามคุม้ ครองผู้ทีเ่ ขา้ เมอื งผดิ กฎหมาย ปรบั ไม่นอ้ ยกวา่ 10,000 ริงกติ ไม่เกิน 50,000 ริงกิต หรือจ�ำคุก 6 เดอื น ถงึ 5 ปี และถูกเฆี่ยนไมเ่ กนิ 6 คร้ัง w อยู่เกนิ เวลาท่ไี ดร้ ับอนุญาติ (Over Stay) ปรบั วนั ละ 30 - 50 รงิ กิต และกักกนั รอส่งกลับ นอกจากนี้ ยังมโี ทษในส่วนของการปลอมแปลงเอกสารดงั น้ี w การแก้ไข ปลอมแปลงใบอนุญาตท�ำงาน ปรับไม่เกิน 1,000 ริงกิต หรอื จ�ำคุกไม่เกนิ 6 เดือน หรอื ท้งั จ�ำทง้ั ปรับ w การแก้ไข ปลอมแปลงใบอนญุ าตเขา้ เมอื ง ปรบั ไม่เกนิ 30,000 รงิ กติ แต่ไมเ่ กิน 100,000 รงิ กิต หรือจ�ำคุกไมน่ ้อยกวา่ 5 ปี แตไ่ ม่เกิน 10 ปี และถูกเฆีย่ นไม่เกนิ 6 ครัง้ 7.3.2 ศุลกากร หา้ มน�ำเขา้ ยาเสพตดิ เนอื่ งจากมาเลเซยี ก�ำหนดโทษส�ำหรบั ผลู้ กั ลอบ น�ำเข้ายาเสพติดสูง และเข้มงวดถึงขั้นประหารชีวิต และห้ามน�ำเข้า อาวุธปืน กระสุน อุปกรณ์ขุดเจาะ และนิตยสารหรือวัสดุใดๆ ท่ีเป็น ภาพอนาจาร ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย 181

7.3.3 การทำ�วีซ่าเขา้ เมือง ประเทศไทยไดท้ �ำข้อตกลงยกเว้นวีซา่ ใหแ้ กผ่ ูถ้ อื หนังสือเดนิ ทางไทย โดยสามารถเดินทางเข้าประเทศมาเลเซียได้ โดยใช้เพียงพาสปอร์ต ไมต่ อ้ งขอวซี า่ เพยี งประทบั ตราเปน็ หลกั ฐานการเขา้ ประเทศทด่ี า่ นตรวจ คนเขา้ เมอื ง โดยสามารถพ�ำนกั ไดไ้ ม่เกิน 30 วัน ส�ำหรับเอกสารการยื่นขอท�ำวซี ่า กรณพี �ำนกั เกนิ 30 วนั 1. หนงั สือเดนิ ทางท้ังเลม่ เกา่ และเล่มใหม่ (ถ้ามี) พรอ้ มส�ำเนา 2. รูปสพี ืน้ หลงั ขาว 2 นิ้ว 2 รปู (รูปถ่ายหนา้ ตรงไม่สวมแวน่ ถา่ ยไว้ ไม่เกิน 6 เดือน) 3. จดหมายรบั รองการท�ำงาน (ภาษาองั กฤษ) ระบตุ �ำแหนง่ เงนิ เดอื น และวันเดอื นปีท่เี ร่ิมเข้าท�ำงาน (ฉบบั จริง) (ธุรกิจ) 4. ส�ำเนาหนา้ วซี า่ ในประเทศไทย 5. ใบอนุญาตท�ำงานตัวจรงิ พรอ้ มส�ำเนา 6. ใบจองต๋วั เครอ่ื งบิน 7. ใบจองโรงแรม หรอื ท�ำรายละเอียดในการเดนิ ทาง (Itinerary) 8. หมายเลขโทรศพั ท์บ้าน และมือถอื (ของผู้เดินทาง) 182

8 ลักษณะเด่นของระบบราชการทนี่ า่ เรยี นรู้ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซีย 183

8.1 นโยบายภูมบิ ุตร (Bumiputera) รัฐธรรมนญู มาเลเซีย มาตรา 153 บญั ญัตใิ ห้ “ฐานะพิเศษ” แกก่ ลุ่ม เช้อื ชาติชาวมาเลยท์ ี่เปน็ ประชากรส่วนใหญข่ องประเทศ หรอื ท่เี รียกวา่ “ภมู บิ ตุ ร” (Bumiputeras) นายกรฐั มนตรี นาจิบ ราซคั ของมาเลเซีย ได้ประกาศสานต่อนโยบาย “ภูมิปุตรา” ต่อไปอีก ท้ังที่เคยแสดงท่าที กอ่ นหน้าวา่ จะยกเลิก นโยบายภูมิปุตรา หรือภูมิบุตรลูกของแผ่นดิน ให้ “สิทธิพิเศษ” แก่คนเช้ือสายมาเลย์ในการท�ำธุรกิจ ศึกษาเล่าเรียน รับราชการ หรือ ประมูลงานของรัฐ ฯลฯ เพ่ือให้สามารถท�ำมาหากินได้เท่าเทียมกับ กลมุ่ คนเชื้อสายจีนและอนิ เดีย ปัจจุบันข้าราชการมาเลเซียทุกกระทรวง ทบวง กรม (ยกเว้น ครอู าจารย)์ เปน็ คนเชอ้ื สายมาเลยถ์ งึ รอ้ ยละ 85 รฐั บาลมาเลเซยี ประกาศ ใช้นโยบายนเี้ มอ่ื กว่า 40 ปกี ่อน หลังเกิดเหตุการณ์วนั ที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2512 ม็อบชาวมาเลย์ก่อจลาจลเผาท�ำลายบ้านเรือนร้านค้า ชาวมาเลเซียเชื้อสายจีน มีผู้เสียชีวิตหลายร้อยคน รัฐบาลจึงประกาศ “นโยบายเศรษฐกิจใหม่” หรือ เอ็นอีพี (New Economic Policy: NEP) เรม่ิ ใชใ้ นฐานะมาตรการชวั่ คราวตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2514 จนกลายเปน็ ภมู ปิ ตุ รา ในเวลาต่อมาชาวมาเลเซียเช้ือสายจีนและเช้ือสายอินเดียกล่าวว่า น่ีคือนโยบาย “สองมาตรฐาน” ของแท้ เป็นมาตรการเอาเปรียบ กดขคี่ นรว่ มสงั คมเดยี วกนั นโยบายนที้ �ำใหก้ ลมุ่ คนเชอ้ื สายจนี และอนิ เดยี กลายเปน็ พลเมืองชั้น 2 โดยปรยิ าย 184

มาเลเซียมีประชากรทั้งประเทศ จากการส�ำรวจล่าสุดประมาณ 29 ล้านคน เป็นคนเช้ือสายมาเลย์ร้อยละ 60 เชื้อสายจีนร้อยละ 24 อนิ เดยี รอ้ ยละ 7 หลงั จากขนึ้ ครองต�ำแหนง่ นายกรฐั มนตรใี นปี พ.ศ. 2552 นายกรฐั มนตรนี าจบิ แสดงออกถงึ ความเปน็ คนทนั สมยั จะยกเลกิ นโยบาย ภูมิปุตราท่ีขัดขวางการลงทุน และท�ำให้เกิดความแตกแยกในกลุ่มคน เช้ือสายจีนและอินเดีย โดยนายกรัฐมนตรีนาจิบประกาศว่า รัฐบาล จะจัดสรรความช่วยเหลือโดยยึดหลักความต้องการตามความเป็นจริง มากกวา่ ยดึ เชอ้ื ชาติ ความพยายามด�ำเนนิ การตามค�ำพดู ของนายกรฐั มนตรี นาจิบประสบความล้มเหลวเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากได้รับการต่อต้าน อย่างหนักจากกลุ่มการเมืองสายอนุรักษ์นิยมของพรรคอัมโนแกนน�ำ ของรฐั บาลผสม 13 พรรค ที่รวมตวั กันในนาม “แนวร่วมแห่งชาติ” นโยบายภูมิปุตราประสบความส�ำเร็จในด้านท�ำให้คนเช้ือสายมาเลย์ ยกฐานะขนึ้ เปน็ ชนชนั้ กลางจ�ำนวนมาก สว่ นผลกระทบทางลบทเี่ หน็ ไดช้ ดั นอกจากสรา้ งความแตกแยกในสงั คมแลว้ ยงั ท�ำใหเ้ กดิ ปญั หา “สมองไหล” คนเก่งระดับมันสมองท่ีเป็นกลุ่มคนเชื้อสายจีนและอินเดียหนีไปท�ำงาน และตั้งรกรากใหม่ในต่างแดนเป็นจ�ำนวนมาก รัฐบาลมาเลเซียถึงกับ ตั้งส�ำนักงาน Talent Corp จัดท�ำโปรแกรมผู้เช่ียวชาญกลับบ้านเกิด (Returning Experts Program) เพื่อดึงคนดีคนเก่งชาวมาเลเซีย ในต่างแดนกลับประเทศด้วยการเสนอแรงจูงใจ เช่น ซื้อรถยนต์ ไม่ตอ้ งเสียภาษี งดเวน้ เก็บภาษีเงนิ ไดเ้ ป็นเวลา 5 ปี เป็นต้น ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซยี 185

8.2 กฎหมายสหภาพกับสหภาพขา ราชการ จากความยง่ิ ใหญข องเครอื จกั รภพองั กฤษในศตวรรษท่ี 18 ทเ่ี รยี กวา “ดนิ แดนพระอาทติ ยไ มเ คยตกดนิ ” ทำใหป ระเทศเมอื งขึน้ หรือประเทศ ในอาณานิคมตางไดร ับอทิ ธิพล ไดเ รียนรูเรื่องตา งๆไมว า วัฒนธรรม ภาษาและที่สำคัญคือการปกครองที่รวมถึงกลไกการจัดการเรื่องดูแล ดานแรงงานอยางเชน สหภาพแรงงานแบบอังกฤษที่มีสหภาพแรงงาน มากวา 100 ปแ ลวโดยมกี ารจัดตง้ั สภาสหภาพแรงงานในป พ.ศ. 2411 (Trades Union Congress ค.ศ.1868)[46b] ซง่ึ ในประเทศมาเลเซยี มหี ลกั ฐาน การตง้ั สหภาพมาตง้ั แต พ.ศ.2463 (ค.ศ. 1920)[41a] และมกี ารประกาศใช กฎหมายอยา งเปน ทางการในพ.ศ.2483 เรยี กวา พระราชบญั ญตั สิ หภาพ แรงงาน พ.ศ. 2483 (the Trade Unions Enactment 1940) หลงั จากนน้ั ไมนานก็เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 กองทัพญี่ปุนไดเขายึดครองมาลายา (ชอ่ื เกา ของประเทศมาเลเซยี ) ตง้ั แต พ.ศ. 2484-2488(ค.ศ.1941-1945) และเมอ่ื ญป่ี นุ แพส งคราม รฐั บาลมาเลเซยี ภายใตก ารปกครองขององั กฤษ ก็มีการออกพระราชกฤษฎีกาสหภาพแรงงานพ.ศ.2489 หรือที่เรียกวา The Trade Unions Ordinance 1946 ดว ยกลไกของระบบ สหภาพ แรงงานทำใหเ กดิ การเจรจาตอ รองไมใ หเ กดิ การประทว งหรอื การหยดุ งาน ที่ไมกอผลดีทางเศรษฐกิจ ทางสังคมและโดยเฉพาะทางการเมือง ที่ พรรคคอมมวิ นสิ ตม าลายนั (Malayan Communist Party-MCP) มอี ทิ ธพิ ล ในหมูสหภาพแรงงานคนเชื้อสายจีนมากอนเกิดสงครามโลกครั้งที่สอง ซง่ึ มีการสำรวจใน พ.ศ.2490 (ค.ศ.1947) วา มีจำนวนสหภาพแรงงาน

298 แหง มสี มาชกิ 200,000 คน และมกี ารประเมนิ วา สมาชกิ เกอื บครง่ึ หนง่ึ อยภู ายใตอ ทิ ธพิ ลหรอื ถกู กำกบั โดยพรรคคอมมวิ นสิ ต[19b] พระราชกฤษฎกี า สหภาพแรงงานพ.ศ.2489 (the Trade Unions Ordinance 1946) จงึ เปน วิธีการที่รัฐเขาไปจัดการปญหาดานแรงงานใหมีการจดทะเบียนสหภาพ แรงงานใหถ กู ตอ งตามกฎหมายซง่ึ ในชว งเวลาตอ มามกี ารรวมตวั ของผนู ำ สหภาพแรงงานที่เชื่อในระบบเสรีประชาธิปไตยประชุมตัวแทนกอตั้ง สมาพนั ธก รรมกรในเดอื นกมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2492 ซง่ึ ไดพ ฒั นาเปน สภาสหภาพ แรงงานชาวมาเลเซยี (Malaysian Trades Union Congress - MTUC ) และไดจ ดทะเบยี นถกู ตอ งภายใตก ฎหมายสงั คม พ.ศ. 2498 (the Societies Act, 1955). สภาสหภาพแรงงานชาวมาเลเซยี จึงเปน สมาพนั ธก รรมกร ท่เี กาแกทสี่ ดุ ในมาเลเซีย[39a] เมือ่ ประเทศมาเลเซยี ไดรับเอกราชในป พ.ศ. 2500 รัฐบาลมาเลเซีย ยังคงเห็นถึงความสำคัญของสหภาพแรงงานรัฐบาลไดแถลงนโยบาย สนับสนุนการจัดตั้งสหภาพแรงงานที่เขมแข็งและไรการแทรกแซง ทั้งกอตั้งกรมแรงงานและอุตสาหกรรมสัมพันธขึ้นมาใหม เพื่อทำหนาที่ แทนกรมที่ปรึกษาของสหภาพแรงงานโดยมีการตรากฎหมายสหภาพ แรงงานป พ.ศ. 2502 (Trade Union Act 1959) ขึน้ มารองรับ[9a] และ เพอื่ กำหนดหลกั เกณฑ รปู แบบการจดทะเบยี น ตลอดจนเง่อื นไขในการ จดั ตง้ั สหภาพแรงงาน[41c] อยา งเชน มกี ารกำหนดอายสุ มาชกิ ตอ งไมต ำ่ กวา 16 ป ขึ้นไป ตองมีอาชีพ กลุมอาชีพ หรือมีที่ทำงานที่สอดคลองกับ วัตถุประสงคของการจัดตั้งสหภาพแรงงานที่สังกัดและการเปนสมาชิก เปนไดเพยี งสหภาพเดยี วเทา นั้น[46a] ระบบบรหิ ารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 187

นอกจากน้ี ใน พ.ศ. 2502ยงั ไดม กี ารจดั ต้งั สภาองคการลกู จา ง ของรัฐและขาราชการ (Congress of Unions of Employees in The Public and Civil Service- CUEPACS)[20a] ซ่งึ เปน สมาพนั ธ สหภาพแรงงานของพนักงานภาครัฐที่ทำหนาที่เปนตัวแทนของ สหภาพขาราชการดวยกฎหมายแรงงานมีขอหามไมใหสหภาพ ขาราชการเขารวมการเจรจาตอรองเกี่ยวกับเรื่องคาจาง สหภาพการจางและสวสั ดกิ ารของขาราชการ[7a] ดังนน้ั ในเรอ่ื งคาจา ง และสวสั ดกิ ารตา งๆจะเปน ประเดน็ ทม่ี กี ารปรกึ ษาหารอื ระดบั ประเทศ โดยรัฐบาลจะปรึกษาหารือกับสภาองคการลูกจางของรัฐและ ขา ราชการ (CUEPACS) เพอ่ื กำหนดคา ตอบแทนและสวสั ดกิ าร ใหแ ก ขา ราชการ[9a] จากการบริหารจัดการที่ดีของรัฐบาลมาเลเซียในดานแรงงาน ท้งั ยงั คงใหความสำคัญตอ การพัฒนาสหภาพแรงงาน อยางตอ เน่ือง ทำใหเหน็ วาในป พ.ศ. 2558 น้ีมีจำนวนสหภาพและจำนวนสมาชิก เพมิ่ ขน้ึ (ดูไดจ ากตารางท่ี 4 ) โดย มีสหภาพแรงงาน 722 แหง และมี สมาชิกสหภาพแรงงาน 933,501 คน[46c] ซงึ่ การเพิ่มขึ้นของ สหภาพ แรงงานและจำนวนของสมาชิกนี้สอดคลองกับผลการศึกษาของ มหาวิทยาลัยมาลายาวาการเจริญเติบโตของสหภาพแรงงานเกิดจาก นโยบายและการผลักดันของรัฐบาลเปนสวนสำคัญแลวยังเกิดจาก เงอ่ื นไขการเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และความตอ งการของตลาดแรงงาน[41b] 188

ตารางท่ี 4 แสดงจำนวนสหภาพแรงงานและจำนวนสมาชกิ ในประเทศมาเลเซียป พ.ศ. 2549 – 2558 ท่มี า: http://www.mohr.gov.my/old/docz/JHEKS/statistik /Statistic%202015.pdf จากจำนวนรวมสหภาพท้ังหมด 722 สหภาพ ในจำนวนน้ยี งั แบง เปน สหภาพของขา ราชการ 248 สหภาพโดยรวมจากตารางสว นรฐั บาล และเจา หนา ทท่ี อ งถน่ิ เขา ดว ยกนั (ดจู ากตารางท่ี 5) ซง่ึ ในสว นสหภาพ ภาครฐั นม้ี ี สหภาพของผูประกอบวิชาชพี ครู (The National Union of Teaching Profession) เปน สหภาพขาราชการทใ่ี หญที่สุด ของประเทศมาเลเซียและอาจใหญที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต โดยมีสมาชกิ ถึง 172,995 คนและมสี าขาทวั่ ประเทศ 12 สาขา[39a] ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 189

ตารางที่ 5 แสดงจำนวนสหภาพแรงงานตามประเภทหนว ยงาน ในประเทศมาเลเซยี ป พ.ศ. 2549 – 2558 ประเ(ภSeทcหtนorว)ยงาน 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2558* (May) เอกชน (Private) 396 407 421 436 439 441 441 461 รฐั บาล (Government) 130 130 132 137 139 144 144 143 เจา หนา ที่ทอ งถิน่ 92 92 92 93 98 98 103 105 (Statutory Body and Local Authority) นายจา ง (Employer) 13 13 14 14 14 14 14 13 รวม (Total) 631 642 659 680 690 697 702 722 ท่ีมา: Department of Trade Union Affairs ,Official Portal (2012) และจากhttp://www.mohr.gov.my/old/docz/JHEKS /statistik/Statistic%202015.pdf* จากตารางขา งตน จำนวนสหภาพราชการมอี ตั ราเพม่ิ ขน้ึ ซง่ึ สะทอ น ใหเห็นวาการรวมกลุมเปนสหภาพทำใหเกิดการรวมตัวที่สรางความ มั่นใจที่มีเพื่อนรวมอาชีพอยูในแนวคิดหรือการปฏิบัติตอองคกรใน แนวเดยี วกนั ทง้ั เปน การยำ้ ถงึ ความสำคญั ของสหภาพวา เปน เครอ่ื งมอื ในการบรหิ ารจดั การดา นแรงงานซง่ึ ทำใหส มาชกิ สหภาพแรงงานเหน็ ถงึ ความสำคญั ของการรวมกลมุ ของคนอาชพี เดยี วกนั ทม่ี ผี ลประโยชน รว มกนั ไมว า ในการรบั รขู า วสาร การพฒั นารบั รขู อ ดขี อ เสยี ของกฎหมาย ดา นแรงงานทก่ี ระทบตอ การดำรงอยขู องอาชพี ฯลฯ ทง้ั ภาครฐั ยงั คงใช สหภาพเปนกลไกในการขบั เคล่อื นดานแรงงานของประเทศ 190

8.3 การรวมกลุมของขาราชการในประเทศมาเลเซยี การรวมตวั ของขา ราชการโดยถกู ตอ งตามกฎหมายมไี ดห ลายรปู แบบ แตการรวมตัวดานแรงงานในประเทศมาเลเซียไดถูกบังคับโดยกฎหมาย สหภาพแรงงานที่เปดโอกาสใหคนในวิชาชีพตางๆ รวมตัวกันจัดตั้ง สหภาพได ขาราชการของประเทศมาเลเซียกเ็ ชน กนั ไดร วมตวั กันจัดตัง้ สหภาพดวยวัตถุประสงคดังนี้[19a] 1. เพือ่ เพมิ่ ความอุตสาหะ สทิ ธิประโยชนทางดานสงั คม และความรู ความสามารถแกสมาชิกของสหภาพ 2. เพอ่ื ใหส มาชกิ ของสหภาพไดร บั ความเปน ธรรมเรอ่ื งความปลอดภยั ในการทำงาน กำหนดเวลาทำงาน และสหภาพการจางงาน 3. เพอ่ื เพม่ิ สวสั ดกิ ารทางดา นสงั คมและการศกึ ษาของขา ราชการ 4. เพอ่ื เพม่ิ บทบญั ญตั ทิ ค่ี มุ ครองสทิ ธปิ ระโยชนข องขา ราชการโดยเฉพาะ เรื่องแรงงานสัมพันธ แมกฎหมายเปดโอกาสใหรวมตัวกัน แตในดานการตอรองเจรจา ในดานคาจาง สวัสดิการยังตองอาศัยสภาองคการ ลูกจางของรัฐและ ขาราชการ (Congress of Unions of Employees in The Public and Civil Service- CUEPACS)[9a] เปนตัวกลางระหวางรัฐบาลกับ สหภาพขาราชการ ซึ่งสะทอนถึงระบบในการกำหนดอัตราคาจาง และสวสั ดกิ ารในประเทศมาเลเซยี ทเ่ี รยี กวา “ระบบเอกภาค”ี (Unilateral System) ที่รัฐบาลจะเปนผูกำหนดอัตราคาจาง และสวัสดิการเอง เพยี งฝา ยเดยี ว โดยไมต อ งผา นการตกลงกบั ขา ราชการ เนอ่ื งจากรฐั บาล เชื่อวาการเจรจาตอรองเรื่องคาจางและสิทธิประโยชนของขาราชการ ระบบบรหิ ารราชการของสหพันธรฐั มาเลเซยี 191

นั้นไมควรเกิดขึ้นในงานราชการ[19a] แตอยางไรก็ตามในดานการปฏิบัตินั้น ไดม กี ารตง้ั คณะกรรมการพเิ ศษขน้ึ มาหลายคณะเพอ่ื ทำหนา ทใ่ี นการเจรจา ตอรองเรื่องดังกลาว เชน คณะกรรมการคาจาง กรมบริการสาธารณะ สภาสมานฉันทแหงชาติ (National Joint Councils) และศาลดาน บริการสาธารณะ (Public Service Tribunal)[19a] เพื่อลดความขัดแยง ระหวางรัฐบาลกับสหภาพขาราชการ นอกจากนี้ยังมีขอยกเวนให ขา ราชการบางระดับในองคการบริหารสวนทองถิ่นสามารถเจรจาตอรอง และทำขอตกลงเกี่ยวกับคาจางกับสหภาพการจางและทำงานได[7a] นอกจากนี้ ยังไดมีการออกแบบ วางกรอบกฎหมายใหรัฐบาลสามารถ บริหารประเทศไดดวยความปลอดภัยนั้น ในกฎหมายสหภาพ พ.ศ. 2502 (Trade Unions Act 1959) ยังมีกฎหมายหามไมใหขาราชการ เจาหนาทร่ี ฐั ดังตอไปน้ีจัดตัง้ สหภาพไดแ ก 1.ตำรวจ 2.เจาหนาท่รี าชทณั ฑ 3.ทหาร 4. เจา หนา ทภ่ี าครฐั ทเ่ี กย่ี วขอ งดา นความลบั และดา นความมน่ั คง 5.เจา หนา ทภ่ี าครฐั ทก่ี ฎหมายหา มมใิ หจ ดั ตง้ั หรอื เปน สมาชกิ สหภาพแรงงาน 6.เจาหนาภาครัฐที่ดำรงตำแหนงบริหารและกลุมวิชาชีพ ยกเวนวาเปน เจาหนาที่ในกลุมงานตางระดับชั้น ตางประเภท กันหรือเจาหนาที่ภาครัฐ ในกลุมดังกลาวที่ไดรับการยกเวนโดยคำสั่งที่เปนลายลักษณอักษรจาก เลขาธิการคณะรัฐมนตรี ในปจจุบันขาราชการในประเทศมาเลเซียมีจำนวน 1 ลาน 6 แสนคน ซึ่งรัฐบาลมีแผนการลดจำนวนขาราชลงตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจใน ระยะ 5 ปท ต่ี อ งการใหป ระเทศมาเลเซยี เปน ประเทศทม่ี รี ายไดส งู รฐั บาลจงึ ผลักดัน 11 แผนงานที่จะลดจำนวนขาราชการลง[22b] แตในขณะเดียวกัน 192

สภาองคการลูกจางของรัฐและขาราชการ (Congress of Unions of Employees in The Public and Civil Service - CUEPACS) ไดกระตุนใหรัฐบาลยกระดับแผนงาน 252 โครงการที่เกี่ยวเนื่อง กับขาราชการ[20b] ที่รอคอยมาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2558 ของเดือนตุลาคมที่ผานมา ซึ่งเห็นไดวาการ ประกาศนโยบายของ รฐั บาล หรือการกระตุนของสภาองคการลูกจางของรัฐและขาราชการ ตางมีผลกระทบตอสหภาพแรงงานขาราชการทั้งสิ้นดังนั้นจึงกลาว ไดวาการรวมตัวของขาราชการภายใตกฎหมายสหภาพในประเทศ มาเลเซียเปนตัวอยางที่ดีและเปนทางออกใหกับขาราชการอีกหลายๆ ประเทศ ระบบบริหารราชการของสหพันธรัฐมาเลเซีย 193

[1] กรมสงเสริมการสงออก กระทรวงพาณิชย. 2555. คูมือการคาและการลงทนุ สหพันธรัฐมาเลเซยี . กรุงเทพฯ: สำนกั ขา วพาณชิ ย กรมสง เสรมิ การสง ออก. [2] กระทรวงพาณชิ ย. 2557. สถติ กิ ารคา ระหวา งประเทศของไทย. คน เม่อื 15 เมษายน 2557, จาก http://www2.moc.go.th/main.php?filename =index_design4 [3] ชาญวิทย ไกรฤกษ และคณะ. 2548. ระบบขาราชการระดบั สงู ของตางประเทศ. กรุงเทพฯ: บรษิ ัท พ.ี เอ.ลีฟวงิ่ จำกดั . [4] ชยั โชค จลุ ศิรวิ งศ. 2542. การพฒั นาเศรษฐกจิ และการเมอื งในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต: การพัฒนาเศรษฐกจิ และการเมืองมาเลเซยี . กรงุ เทพฯ: โครงการจัดพิมพค บไฟ. [5] ชวชยั กองกิตกิ ลุ . 2556. การศกึ ษาปจ จยั การปรบั ตวั ทางวฒั นธรรมของการไปทำงาน ในประเทศมาเลเซยี . สารนพิ นธคณะพฒั นาทรัพยากรมนษุ ย: สถาบันบัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร. [6] นครินทร เมฆไตรรตั นและคณะ. 2546. บทบาทอำนาจหนา ทข่ี องกำนนั ผใู หญบ า นและการปกครองทอ งท่ี รายงานการศกึ ษาวจิ ยั เสนอตอ สำนกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี า 194

[7] ไพลนิ ภูจ นี าพนั ธุ. 2556. ระบบการปกครองทอ งถน่ิ ของประเทศสหพันธรฐั มาเลเซีย. กรุงเทพฯ: สถาบนั พระปกเกลาฯ. [7a] ไพศิษฐ พพิ ัฒนกลุ . 2523. การแรงงานในประเทศฟลปิ ปน สและมาเลเซยี . หนังสืออนุสรณคณะกรรมการสภาทีป่ รกึ ษาเพอ่ื พฒั นาแรงงาน แหงชาติชุดท่ี 1. กรงุ เทพฯ: บริษัทบพธิ การพิมพ อา งใน ปานทิพย พฤกษาชลวทิ ย (2551). ขา ราชการพลเรือนสามญั กบั กฎหมายแรงงาน. วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบัณฑิต คณะนติ ิศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั [8] มนสั เกยี รติธารยั . 2551.ประวัตศิ าสตรมาเลเซยี . กรุงเทพฯ: โครงการตำราสังคมศาสตรแ ละมนุษยศาสตร. [9] เบญจวรรณ สรา งนทิ ร. 2550. การเกษียณอายุราชการมาเลเซยี . วารสารขาราชการปท ี่ 52 ฉบับท่ี 2 ม.ี ค. - เม.ย. 2550 หนา 19-23. [9a] ปานทิพย พฤกษาชลวทิ ย (2551). ขา ราชการพลเรอื นสามญั กบั กฎหมายแรงงาน. วิทยานพิ นธป รญิ ญามหาบณั ฑติ คณะนติ ิศาสตร จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย [10] วิชติ วงศ ณ ปอ มเพชร. 2556. เศรษฐกจิ อาเซียน. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พแสงดาว. [11] วทิ ย บณั ฑิตกลุ . 2555. มาเลเซยี . กรุงเทพฯ: สำนักพิมพสถาพรบคุ ส. [12] วีรวิท คงศกั ด์.ิ 2552. แผนพัฒนาความซอ่ื ตรงแหง ชาติมาเลเซยี . โพสตทเู ดย วนั ที่ 19 ตลุ าคม 2552. ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 195

[13] วราภรณ บวรศิร.ิ 2543. การปฏริ ปู อดุ มศกึ ษาของประเทศสิงคโปรและมาเลเซยี . กรุงเทพฯ: สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหง ชาติสำนักนายกรฐั มนตร.ี [14] สกล กาญจนว ิเศษ. 2555. สาระอาเซียน. กรงุ เทพฯ: ภูมิปญ ญา [15] สีดา สอนศร.ี 2546. เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต: นโยบายตางประเทศในยคุ โลกาภวิ ตั ิน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . [16] สมาน รังสิโยกฤษฏ. 2540. การปฏิรปู ภาคราชการ: แนวคดิ และยทุ ธศาสตร. กรงุ เทพฯ: สวสั ดิการสำนักงาน ก.พ. [17] สำนักงานแรงงานในประเทศมาเลเซีย. 2556. สถานการณแ รงงานในประเทศมาเลเซยี . สถานทูตไทยประจำกวั ลาลัมเปอร. [18] สำนกั พฒั นาระบบการศึกษาและวางแผนมหภาค. 2539. ยุทธศาสตรก ารพฒั นาของมาเลเซีย. สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาแหงชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. [19] อดตี ทูต (ว)ิ สามญั . 2557. เสย้ี วหนงึ่ ของการทตู ไทยรว มสมัย: อยากเปนทูตก็ไมยาก. กรงุ เทพฯ: จดั พมิ พโดย ทัศนยี  โกกลิ านนท [19a] Aminuddin, M (2007).Malaysian Industrial Relation & Employment Law 6th ed. Malaysia:McGraw-Hill อางใน ปานทิพย พฤกษาชลวิทย (2551). ขาราชการพลเรือนสามญั กับกฎหมายแรงงาน. วทิ ยานพิ นธป รญิ ญามหาบณั ฑติ คณะนติ ศิ าสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั 196

[19b] Aminuddin, M. (2009). Employment Relations in Malaysia: Past, Present and Future. New Zealand Journal of Asian Studies 11, 1 (June 2009): 304-317. Retrieved 13 December 2015, from http://www.nzasia.org.nz/downloads/ NZJAS-June09/22_Maimunah_3.pdf [20] ASEAN-Malaysia National Secretariat (AMNS). 2014. The main objectives of AMNS. Retrieved 20 March 2014, from http://www.kln.gov.my/web/guest/ overview-asean [20a] CUEPACS (The National Union of Employees in the Public and Civil Service)(2015). Retrieved 12 December 2015, from https://msmiza9.files.wordpress.com/2010/09/ lecture-11.pdf [20b] CUEPACS (The National Union of Employees in the Public and Civil Service)(2015). Retrieved 12 December 2015, from http://www.mtuc.org.my/upgrade-252-civil-ser vice-schemes-cuepacs/ [21] Development, I. F. 2013. IMD World Competitiveness Yearbook 2013. lausanne, Switzerland: the World Competitiveness Center. [22] Department of Statistics Malaysia. 2004. Compendium of Environment Statistics. Retrieved 27 March 2014 From http://www.statistics.gov.my/portal/index php?option=com_ content&view=article&id =774&Itemid=155&lang=en ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรัฐมาเลเซีย 197

[22a] Department of Trade Union Affairs, Official Portal (2012) cited in Malaysian Trades Union Congress (MTUC). Trade Union Capacity Building for decent work 18 Mac-28 Mac 2013. Country Report Malaysia. Retrieved on December 13, 2015 from http://actrav-courses.itcilo.org/ [22b] GOMEZ,J.(2015).Retrieved 13 December 2015, from http://www.themalaysianinsider.com/malaysia/ article/11mp-plan-to-reduce-civil-service-not-need ed-if-wastage-cut-say-observer [22c] Industrial Relations Act 1967. Laws of Malaysia. Retrieved 13 December 2015, from http://www.agc.gov.my/Akta/ Vol.%204/Act%20177.pdf [23] International Cooperation Study Center Thammasat University. 2555. ประเทศสหพนั ธรัฐมาเลเซยี . คนเมือ่ วันที่ 19 กมุ ภาพันธ 2557, จาก http://www.apecthai.org/apec/th/profile1.php? continentid=2&country=p9 [24] Ismail and Osman-Gani. 2013. Establishing linkages between religiosity and spirituality on employee performance. Emerald Group Publishing Limited 198

[25] Malaysia Administrative Modernisation and Management Planning Unit (MAMPU). 2014. Government Service. Retrieved 27 March 2014 From http://www.mam pu.gov.my/web/en/ government-services [26] Ministry of Agriculture and Agro-Base Industry Malaysia. 2014. Policy Thrust of The 9th Malaysia Plan. Retrieved 20 March 2014, From http://www.moa.gov .my/web/guest/agensi-polisi [27] Ministry of Communication and Multimedia. 2014. Policies. Retrieved 12 March 2014, From http://www. kkmm.gov.my/index.php? option=com_content&view=article&id=280: policies&catid=102:pengenalan&Itemid=200&lang=en [28] Ministry of Domestic Trade Cooperatives and Consumerism. 2014. Strategy Thrust. Retrieved 5 May 2014 From http://www.kpdnkk.go.my/en/ 7-teras- strategik-kpdnkk [29] Ministry of Foreign Affairs. 2014. Objectives of the Policy and Strategy Planning Department. Retrieved 20 March 2014, From http://www.kln.gov.my/web/guest/dd_policy -and-strategic-planning ระบบบริหารราชการของสหพนั ธรฐั มาเลเซีย 199