เมอ่ื อาจารยบ์ รรยายถงึ ตอนทวี่ า่ ถา้ ฝกึ จติ จนเขา้ ฌาน ได้ จะสามารถรู้ความคิดของคนอื่นน้ัน ท่านได้เล่า เสริมวา่ ... “ตอนที่ผู้บรรยายไปฝึกอยู่ท่ีวัดมหาธาตุฯ ม ี นักศึกษาหญิง ๒ คน เป็นพี่น้องกัน มาเรียนวิธีการ ฝึกจิตกับท่านเจ้าคุณโชดก แล้วกลับไปท�ำเองที่บ้าน ปรากฏว่ามีคนหนึ่ง ไม่ทราบว่าคนน้องหรือคนพี่ น่ัง สมาธทิ บ่ี า้ นตวั แขง็ ไปเลย ปลกุ กไ็ มต่ น่ื เขยา่ กไ็ มร่ สู้ กึ ตวั ตัวแข็งเหมือนหิน กระท่ังลมหายใจก็ไม่มี ชีพจรก็ไม่มี แม่จึงโทรศัพท์ไปหาท่านเจ้าคุณโชดกบอกว่า “ท่าน เจา้ คณุ อาจารยค์ ะ ลกู อฉิ นั ตายไปแลว้ คะ่ ” ทา่ นเจา้ คณุ ตอบวา่ “โยมไมต่ อ้ งทำ� อะไร ปลอ่ ยใหเ้ ขานงั่ ไปอยา่ งนนั้ เดี๋ยวอาตมาจะไปทบี่ า้ น” ทา่ นกไ็ ปทบ่ี า้ น แลว้ เขา้ ฌาน ตามดวู า่ จติ ของลกู สาวไปไหน กพ็ บวา่ ก�ำลงั อยใู่ นนโิ รธ สมาบตั จิ ะกลบั เขา้ รา่ งตอน ๔ โมงเยน็ พอรแู้ ลว้ ทา่ นก ็ ออกจากฌาน บอกกับแม่ของเด็กว่าไม่ต้องท�ำอะไร ๔ โมงเยน็ เขาจะกลบั มา แลว้ ทา่ นกก็ ลบั วดั พอ ๔ โมง- เยน็ ลกู สาวคอ่ ยๆ ลมื ตาขนึ้ ตวั ออ่ นเหมอื นเดมิ หายใจ เหมือนเดิม เลอื ดไหลเวียนเหมอื นเดมิ ” 100 บ่ อ เ กิ ด แ ห่ ง บุ ญ
และเล่าถงึ ประสบการณ์ของตวั ทา่ นเองด้วยวา่ ... “เราจะเห็นว่า ผรู้ ้จู รงิ มีอยู่ ความรพู้ เิ ศษในการรู้ ความคิดของคนอ่ืนน้ี เขาเรียกว่า เจโตปริยญาณ ซ่ึง ผู้บรรยายก็ได้พัฒนาข้ึนมาเหมือนกัน วันหนึ่งท่ีวัด มหาธาตฯุ ไปนงั่ ฝกึ อยทู่ วี่ หิ ารรา้ งตอนกลางวนั มพี ระอย่ ู ดว้ ยกนั หลายรปู ผบู้ รรยายเขา้ ฌานตง้ั แตต่ อนกลางวนั ไปจนถึงเย็น พอลืมตาข้ึน เห็นว่าใกล้จะมืดแล้ว มอง ไปรอบๆ พระรูปอื่นกลับหมดแล้ว หันมาข้างๆ เห็น ผชู้ ายคนหนง่ึ เปน็ ฆราวาส ยกมอื ไหวแ้ ละอา้ ปากจะพดู ผบู้ รรยายพดู ขนึ้ กอ่ นวา่ “อาตมารหู้ มดแลว้ ไมต่ อ้ งพดู ” นั่นก็เพราะได้ไปรู้เห็นว่าเขาไปท�ำอะไรมา เขาไปฆ่า คนตายแลว้ หนตี ำ� รวจมา เวลาคนไปวดั ปา่ พระทท่ี รง อภิญญาสามารถรู้ความคิดติดลบของญาติโยม ฉะนั้นต้องระวังความคิด ตอนที่ผู้บรรยายฝึกอยู่กับ ท่านเจ้าคุณโชดกก็อึดอัดที่สุด เพราะท่านรู้ความคิด ของเรา เป็นพระใหม่ ไม่รู้วินัย ไปยืนปัสสาวะ ท่าน ไมเ่ หน็ แตบ่ อกวา่ ตอ้ งนง่ั ลง ทา่ นเหน็ ขนาดนน้ั เหน็ ดว้ ย ตาทิพย์ อึดอัดท่ีสุด จะคิดจะท�ำอะไรอึดอัดไปหมด เพราะฉะนน้ั ทุกทา่ นทน่ี ง่ั ในหอ้ งน้ี ถา้ ฝกึ เข้าฌานให้ได้ แลว้ จะรู้ความคิดของคน” 101 ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร
อาจารย์ย�้ำให้รักษาศีลและธรรม แล้วเทวดาจะคุ้ม รักษาเหมอื นอย่างตัวท่าน แลว้ ท่านเลา่ เสรมิ วา่ ... “ทบ่ี า้ นของผบู้ รรยายมเี ทวดามาก จากทสี่ มยั กอ่ น เป็นทุ่งนา ริมคลองชลประทานเป็นถนนลูกรังแคบๆ สมัยที่ไปซื้อไว้มันเป็นทุ่งนาท้ังสองข้าง เดี๋ยวนี้ปลูก ตน้ ไมใ้ หญใ่ หเ้ ปน็ ปา่ แมแ้ ตต่ น้ ตะเคยี นทองกป็ ลกู ปลกู ใหเ้ ทวดาอย ู่ และทา่ นกม็ าอยจู่ รงิ ๆ เทวดาองคน์ ด้ี ดุ ว้ ย ตน้ ตะเคยี นทางไปเชยี งรายนน้ั กม็ รี กุ ขเทวดาเปน็ ผหู้ ญงิ รกุ ขเทวดามที ง้ั ผชู้ ายและผหู้ ญงิ เจา้ พอ่ ขนุ ตาลกม็ ี เปน็ ภุมเทวดา ดุเหมือนกัน ถ้าอยากเห็น ต้องใช้ตาทิพย์ดู ตาเนอ้ื ตาหนงั ดไู มเ่ หน็ เพราะเปน็ กายละเอยี ด กายทพิ ย ์ มีจรงิ ๆ ใกลบ้ ้านผู้บรรยายมคี นไปสร้างศาลเลก็ ๆ ไว้ท่ี โคนตน้ บะตนั (พทุ รา) แลว้ ศาลมนั ลม้ ไปไดเ้ ดอื นกวา่ แลว้ วนั นนั้ ผบู้ รรยายขบั รถไป เหน็ ทา่ นแตง่ ชดุ ขาวยนื อยทู่ ใี่ ต้ ตน้ บะตนั บอกกบั ผู้บรรยายว่า “คุณ บ้านพังแล้ว ช่วย สร้างให้หน่อยสิ” ผู้บรรยายก็งงว่า เห็นพังไปเกือบ ๒ เดือนแล้วเพิ่งจะมาบอก มาเข้าใจทีหลังว่า ภุมเทวดา เหลา่ นมี้ อี ายขุ ยั ๕๐๐ ปที พิ ย ์ ของเราผา่ นไป ๕๐ ป ี เพงิ่ จะเทา่ กบั ของเขา ๑ วนั กบั ๑ คนื เทา่ นนั้ เอง ผบู้ รรยาย จงึ ไปบอกชาวบา้ นใหช้ ว่ ยไปซอ่ มสรา้ งศาลใหใ้ หม ่ และ 102 บ่ อ เ กิ ด แ ห่ ง บุ ญ
เอาช้างม้าเซรามิกกับตุ๊กตาข้าทาสชายหญิงไปใส่ไว ้ ใหด้ ้วย” อาจารยเ์ ลา่ ถงึ ตน้ งวิ้ ในเมอื งนรกทมี่ ไี วส้ ำ� หรบั ลงโทษ คนทลี่ ะเมดิ ศลี ขอ้ ๓ แลว้ จงึ เลา่ ถงึ เหยอ่ื โรคเอดสท์ ว่ี ดั พระบาทนำ้� พุวา่ ... “วนั กอ่ นไปบรรยายทลี่ พบรุ ี คนเปน็ พนั หลงั จาก บรรยายจบ เขาพาไปแวะวดั พระบาทนำ้� พ ุ ใหด้ พู พิ ธิ ภณั ฑ์ ชวี ิตเกยี่ วกบั คนทีเ่ ป็นโรคเอดส์ พอตายแล้ว เขาเอาไป ดองฟอรม์ าลนี ทำ� ใหแ้ หง้ แลว้ มาหอ้ ยเรยี งไว ้ และมรี ปู ตอนยงั หนมุ่ ยงั สาวใหด้ ดู ว้ ย ตอนมชี วี ติ เปน็ คนหนา้ ตาดี แต่พอเปน็ ซากศพแล้ว เหมอื นเขยี ดตากแห้งทีว่ างขาย ในตลาดดูแล้วไม่งามเลย น่าเกลียดหมดเลย ท้ังชาย หญิง และกะเทย ใครมีโอกาสควรแวะไปดู จะเหมือน กับหมู่สงฆ์ท่ีดูศพนางสิริมา จิตจะได้ถอดถอน ยิ่ง ตวั ผบู้ รรยายเองเคยเหน็ นางฟา้ มาแลว้ ถงึ กบั ลมื มนษุ ย์ เลยทีเดียว มนษุ ยน์ น้ี อกจากไมส่ วยแลว้ ยงั ตวั เหมน็ อกี ดว้ ย นางฟา้ สวย ตวั หอม ไมม่ แี ก ่ มแี ตส่ าว ถา้ ใหผ้ บู้ รรยาย เป็นกรรมการตดั สนิ นางงาม รับรองวา่ ตกรอบทกุ คน เพราะไมม่ ีมนุษย์ผ้หู ญิงคนไหนสวยเทา่ นางฟา้ เลย” 103 ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร
เมอื่ อาจารยก์ ลา่ วถงึ พรหมสมบตั นิ นั้ ทา่ นไดเ้ ลา่ เรอ่ื ง ของ “สหมั บดีพรหม” ไว้อยา่ งนา่ สนใจวา่ ... “ตอนที่พระพุทธเจ้าเสวยวิมุตติสุขอยู่ใต้ต้นจิก ทรงตรองวา่ ธรรมะทพ่ี ระองคเ์ ขา้ ถงึ ชา่ งลกึ ซง้ึ นกั และ ทวนกระแสกิเลสของมนุษย์ ถึงกับทรงดำ� ริจะไม่สอน ชาวโลก รอ้ นถงึ พรหมตอ้ งลงมาทลู วา่ “ตถาคต มนษุ ย์ ทสี่ อนไดย้ งั มอี ย”ู่ พระพทุ ธเจา้ จงึ ทรงด�ำรวิ า่ จรงิ เพราะ คนมี ๔ ประเภท เหมือนบัว ๔ เหล่า ท่ีฟังคร้ังเดียว บรรลุธรรมเลยก็มี ที่ฟังซ้�ำและอธิบายเพิ่มเติมแล้ว บรรลุธรรมก็มี อย่างพวกเราๆ น่ีพอสอนได้ เรียกว่า “เนยยบคุ คล” คน ๓ เหลา่ แรกมโี อกาสบรรลถุ งึ นพิ พาน ได้ ส่วนเหล่าที่ ๔ มีมาก คือประเภทท่ีหูไม่กระดิกเลย พดู ธรรมะกไ็ มฟ่ งั หรอื ฟงั ไมร่ เู้ รอ่ื ง เรยี กวา่ “ปทปรมะ” พรหมที่ลงมาบอกนั้น คือเพ่ือนเก่าของพระพุทธเจ้า สมัยพระพุทธเจ้าองค์ที่แล้ว คือพระพุทธเจ้ากัสสปะ มีช่ือว่า สหัมบดีพรหม ที่มีบทสวดอาราธนาให้พระ แสดงธรรม “พรหมา จะ โลกา ธปิ ต ิ สหมั ปต ิ กตั อญั ชลี อนั ทวิ รงั ” กเ็ พราะพรหมองค์น้ีเอง จะเห็นช่ือของท่าน อยู่ในบทสวด ในสมัยพระพุทธเจ้ากสั สปะ ทา่ นมชี อ่ื วา่ สหกะภิกษุ ส่วนพระพุทธเจ้าของเราในสมัยนั้นชื่อว่า 104 บ่ อ เ กิ ด แ ห่ ง บุ ญ
โชติปาลภิกษุ ท้ังสองท่านเป็นสหายกัน พระพุทธเจ้า โคดมมาเกดิ ในโลกมนษุ ย ์ ตรสั รเู้ ปน็ พระพทุ ธเจา้ สว่ น สหกะภกิ ษไุ ปเกดิ เปน็ สหมั บดพี รหม” อาจารย์เน้นให้เราท�ำความเข้าใจและเช่ือในกฎแห่ง กรรม และรจู้ กั ยนิ ยอมชดใชห้ นเ้ี วร ทา่ นยกตวั ทา่ นเอง เปน็ ตัวอยา่ งวา่ ... “จะเลา่ ถงึ ตวั ผบู้ รรยายเอง ตอนนนั้ บวชเปน็ พระ ฝกึ อยทู่ วี่ ดั มหาธาตฯุ กำ� ลงั เดนิ จงกรมอยรู่ ว่ มกบั พระอนื่ รวมทง้ั หมดกป็ ระมาณ ๒๐ รปู มแี มวตวั หนงึ่ มาตะกาย ขาผบู้ รรยาย มนั กางเลบ็ ออก เจบ็ เชยี ว ทแี รกคดิ จะเตะ มัน พอดีสติมา จึงไม่เตะ และนึกข้ึนได้ว่า เม่ือตอน สงครามโลกครงั้ ท ่ี ๒ (บางคนในทนี่ ยี้ งั ไมเ่ กดิ ) ผบู้ รรยาย อพยพไปอย่บู า้ นนอก เคยจับแมวตวั หนึ่งโยนข้นึ ต้นไม้ แมวมันก็ร้องแง้วๆ กางเล็บออกจิกต้นไม้ ไม่ตก โยน เขาไมร่ กู้ ห่ี น เราสนกุ บนความทกุ ขข์ องแมว แมวตวั นนั้ ตายไปแลว้ จิตวญิ ญาณมาเกิดเปน็ แมวตัวใหม่ และยงั พยาบาทอย ู่ พอมนั มาเจอคเู่ วร กเ็ ลน่ งานเลย โชคดที สี่ ดุ ครบั เขาตามทวงหน ้ี กใ็ ชห้ นกี้ นั ไป ตะกายขาอย ู่ ๒ วนั เลอื ดออกซบิ ๆ แสบมาก นคี่ อื ผลงานของตวั เอง ยอมใช ้ 105 ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร
หนไี้ ปจนหมดแลว้ หนสี้ ดุ ทา้ ยเมอ่ื อาทติ ยท์ แี่ ลว้ ปวดคอ มาก เคยดงึ คอนก ในบรรดาอาการปวด ไมเ่ คยมอี ะไร ปวดเทา่ นเ้ี ลย ไมว่ า่ จะนอน จะนงั่ จะทำ� อะไร ปวดตลอด โชคดที ไ่ี ดค้ ณุ หมอทเ่ี ปน็ ลกู ศษิ ยส์ ง่ ลกู นอ้ งมาชว่ ย ทำ� ให้ มนั หาย หนเ้ี วรหน้กี รรมมีจริงๆ” อาจารยส์ อนใหเ้ ราไมก่ อ่ หนเี้ วรใหม ่ และใหม้ คี วามเหน็ ถูก ทา่ นเล่าเรอ่ื งจรงิ เรอ่ื งหนึ่งให้ฟังว่า... “เรื่องน้ีเกิดท่ีสันป่าตอง มีผู้หญิงคนหน่ึงมาพบ ผู้บรรยาย สามีเป็นคนค้ายาบ้า ถูกฆ่าตัดตอนที่ตลาด ตอนบา่ ย ๒ โมง คนทย่ี งิ สามมี าเสนอเงนิ ใหเ้ ปน็ หลกั แสน เธอกม็ าปรกึ ษาวา่ ควรจะรบั เงนิ นด้ี ี หรอื วา่ จะฟอ้ งทม่ี า ยงิ สามเี ธอด ี ผบู้ รรยายบอกเขาวา่ “คณุ สามคี ณุ ทสี่ ดุ กต็ อ้ งตายใชไ่ หม แลว้ คณุ กต็ อ้ งอยคู่ นเดยี วใชไ่ หม คนเรา เกิดมาแล้วก็ต้องมีแก่มีตาย อาจจะแก่ตาย หรือรถชน ตาย ถึงอย่างไรเขาก็ตายไปแล้ว รับเงินดีกว่า” ตกลง ผหู้ ญงิ คนนก้ี ร็ บั เงนิ มา ไมไ่ ปฟอ้ งรอ้ งเขา นค่ี อื ความเหน็ ถูก ถ้าไปฟ้องร้อง ก็ต้องเกิดหน้ีเวรหน้ีกรรมผูกกันไป แตถ่ า้ ทำ� แบบนกี้ ็จบไป เลกิ กันไปเลย” 106 บ่ อ เ กิ ด แ ห่ ง บุ ญ
เมอ่ื ผฟู้ งั กลา่ ว “สาธ ุ สาธ ุ สาธ”ุ หลงั จากอาจารยใ์ หพ้ ร ปดิ การบรรยาย ทา่ นไดแ้ ถมทา้ ยใหอ้ กี ๑ ประโยค แม้ สนั้ ๆ แตเ่ ตอื นเราจนถงึ นาทสี ดุ ทา้ ยไมใ่ หล้ มื วา่ อะไร คอื “บอ่ เกิดแห่งบุญ” “เพยี งแค ่ ‘สาธ’ุ น ่ี อานสิ งสส์ ง่ ถงึ สวรรคน์ ะครบั ” 107 ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร
ป ร ะ วั ติ ท่านอาจารย์ ดร.สนอง วรอไุ ร ดร.สนอง วรอุไร มีภูมิล�ำเนาเดิมอยู่ท่ี อ�ำเภอเมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา มีพ่ีน้องท้ังหมด ๘ คน ท่านเป็นบุตรคนท่ี ๖ ท่าน ไดร้ บั การศกึ ษาเบอ้ื งตน้ จากโรงเรยี นสวุ รรณศลิ ป ์ เมอื่ สน้ิ สงคราม โลกครงั้ ท ี่ ๒ ทา่ นและพๆ่ี นอ้ งๆ ไดย้ า้ ยเขา้ มาเรยี นในกรงุ เทพฯ ศกึ ษาในโรงเรยี นวัฒนศิลป์วิทยาลยั จนจบช้นั มธั ยมศึกษา ดร.สนอง สนใจฝกึ สมาธิคร้งั แรกในขณะเรยี นช้นั มธั ยม จน จบปรญิ ญาตรมี หาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ์ สาขาโรคพชื เมอื่ พ.ศ. ๒๕๐๕ แลว้ จงึ ไปทำ� งานเปน็ นกั วชิ าการเกษตร ในภาคอสี านอย่ ู ประมาณ ๒ ปี จากนนั้ ได้โอนย้ายมาเปน็ อาจารย์รุ่นบุกเบกิ ของ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม ่ สังกดั คณะวิทยาศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๑๔ ทา่ นกไ็ ดเ้ รยี นจบปรญิ ญาโท เกษตรศาสตรม์ หา บัณฑิต จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สาขาเช้ือรา ได้รับทุน โคลมั โบไปศกึ ษาปรญิ ญาเอก สาขาไวรสั มหาวทิ ยาลยั ลอนดอน ประเทศองั กฤษ เปน็ เวลานาน ๔ ป ี ชว่ งนเี้ รยี นหนกั มาก จนมไิ ด ้ เดนิ ทางกลบั มาเมอื งไทยเลยในระหวา่ งศกึ ษา ทา่ นใชเ้ วลาวา่ งพกั ท�ำจติ นง่ิ ทุกวนั ซง่ึ มผี ลให้ทา่ นเรยี นจบ ๔ ปตี ามก�ำหนด 108 บ่ อ เ กิ ด แ ห่ ง บุ ญ
เมอ่ื กลบั เมอื งไทยในเดอื นมนี าคม พ.ศ. ๒๕๑๘ ทา่ นตดั สนิ ใจ อปุ สมบททวี่ ดั ปรนิ ายก แลว้ มาฝกึ วปิ สั สนากรรมฐานกบั พระเทพ- สิทธิมุนี (โชดก ปธ.๙) ที่คณะ ๕ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฏ ์ ทา่ พระจันทร์ เพียงเวลา ๓๐ วันในสมณเพศ ท่ีท่านปฏิบัติตาม คำ� สอนของครบู าอาจารย ์ ทา่ นไดร้ บั ประสบการณท์ างจติ และญาณ อภญิ ญาต่างๆ มากมาย เมอ่ื ลาสกิ ขาบทแลว้ ทา่ นกลบั ไปเปน็ อาจารยอ์ ยทู่ มี่ หาวทิ ยา- ลัยเชยี งใหม ่ วิถชี ีวติ ของท่านเปลย่ี นแปลงไปมาก ได้รับเชิญเปน็ องคบ์ รรยายดา้ นหลกั ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามหนว่ ยงาน ต่างๆ องค์กรต่างๆ มากมาย มีผู้ติดตามผลงานของท่านทั้งใน และตา่ งประเทศ และหลังจากเกษียณอายุราชการแล้ว กย็ ังเป็น อาจารย์พิเศษถวายความรู้แก่พระนิสิต มหาวิทยาลัยมหาจุฬา- ลงกรณราชวิทยาลัย วทิ ยาเขตลา้ นนาด้วย ปจั จบุ นั ทา่ นไดน้ ำ� ประสบการณต์ รงของทา่ นมาเปน็ แบบอยา่ ง สร้างจุดเปล่ียนแปลงที่ดีให้แก่ชีวิตคนจ�ำนวนมาก มีกลุ่มคณะ ศิษย์ก่อต้ังเป็นชมรมกัลยาณธรรม และชมรมสารธรรมล้านนา เผยแผ่ธรรมอย่างกว้างขวาง ผลงานของท่านที่ส�ำคัญคือ ทาง- สายเอก และอ่ืนๆ เช่น หนังสือท�ำชีวิตให้ได้ดีและมีสุข, ยิ่งกว่า สุขเม่ือจิตเป็นอิสระ, ตามรอยพ่อ, และซีดีรวมธรรมบรรยายอีก จ�ำนวนมาก 109 ด ร . ส น อ ง ว ร อุ ไ ร
รายนามผรู้ ว่ มศรทั ธาพมิ พ์หนงั สือ “บ่อเกดิ แห่งบญุ ” ลำ� ดบั ชอื่ -สกลุ จำ� นวนเงิน ลำ� ดับ ชอื่ -สกลุ จำ� นวนเงิน ๑ น.ส.มานจิ มาสมาน และครอบครัว ๑๔,๔๖๐ ๒๖ คุณพัชรนิ ทร์ เขยี วจนั ทร์ ๑,๒๘๐ ๒๗ แมช่ โี ซเฟยี เค ๑,๐๓๐ น.ส.ศระกณุ า คานพรหม ๑๐,๖๐๐ ๒๘ พตอ.บุญเสรมิ ศรีชมภู ๑,๐๐๐ คณุ บุญเรือง แซก่ ๊วย ดช.พิชาญ, ๑๐,๒๐๐ ๒๙ บริษทั สเป็คซลี จำ� กัด ๑,๐๐๐ ดญ.สุประภา,ดช.อนภุ ทั ร์ แซ่ก๊วย ๖,๐๖๐ ๓๐ คุณสมลักษณ์ จนั ทพล ๑,๐๐๐ ๒ คณุ วทิ ยา หวงั กติ ติกาล ๖,๐๐๐ ๓๑ คุณสรุ ชัย บญุ ชยั ๑,๐๐๐ ๓ คุณนันทนา กนั ยานวุ ฒั น์ ๕,๐๐๐ ๓๒ คุณอจั ฉรีย์ ทองค�ำเจริญ ๑,๐๐๐ ๔ คณุ ปารคมณ์ ลกี ลุ พิทักษ์ ๕,๐๐๐ ๓๓ คุณชลอลกั ษณ์ ย่ำ� จิตม่นั ๑,๐๐๐ ๕ คณุ ร�ำพรรณ ชชู ัย ๕,๐๐๐ ๓๔ คุณเพญ็ รงุ่ ล้ิมป์สุวรรณคีรี ๑,๐๐๐ ๖ รา้ นบี เค วัสดุภัณฑ์ ๕,๐๐๐ ๓๕ คุณทวชี ยั จรมั พร ๑,๐๐๐ ๗ คณุ ธรี ะชยั พงษ์ม่ันจิต ๔,๖๐๐ ๓๖ คุณเชษฐ์ พพิ ฒั น์ ๑,๐๐๐ ๘ บจก.อาร์เจ ซับพลายแอนด์เซอรว์ ิส ๓,๕๑๐ ๓๗ คุณสรุ ชยั บญุ ชยั ๑,๐๐๐ ๙ คุณสนุ นั ทา ศรีเท่ียงตรง ๓,๐๔๐ ๓๘ คุณสุเมธ สุขเจรญิ ๑,๐๐๐ ๑๐ คุณสุรีย-์ คุณชวลิต บุญทวีกจิ ๓,๐๐๐ ๓๙ คุณสพุ ร ศานตสิ์ ุทธิกลุ ๑,๐๐๐ ๑๑ แม่ชวี นดิ า ยิ้มแยม้ ๒,๕๖๐ ๔๐ คุณจารวุ รรณ วงษอ์ นุสาสน์ ๑,๐๐๐ ๑๒ คุณแคทลยี า พ่งึ อดุ ม ๒,๐๐๐ ๔๑ คณุ มาลา นิตยวรรธนะ ๘๒๐ ๑๓ คณุ ภัสสรา มยาเศส ๒,๐๐๐ ๔๒ คุณคนึงนิจ วงษอ์ มเรศ ๘๐๐ ๑๔ คุณมยรุ ี พฤกษพ์ นาสนั ต์ ๒,๐๐๐ ๔๓ คุณบ๊วย แซต่ ั้ง-คุณฮยุ ฮ้ง แซ่โคว้ ๗๕๐ ๑๕ น.ส.เอ้ืองขวญั ไชยนิธวิ ฒั น์ ๒,๐๐๐ ๔๔ คณุ เกยี รติศักดิ์ เอ่ียมจิรกลุ ๗๐๐ ๑๖ คุณเทียนชัย-คณุ จนั ทรา ทองเคยี น ๒,๐๐๐ ๔๕ คุณจริ าวรรณ ตรเี จรญิ ๗๐๐ ๑๗ คุณสุทธิพร อุดม ๔๖ ดญ.พัทธรนิ ทร์ เอยี่ มจริ กลุ ๗๐๐ ๑๘ รา้ นเทยี นชัยการยาง ๒,๐๐๐ ๔๗ คุณวชิ ยั ตันตินิกุลชัย ๖๔๐ ๑๙ คุณศศภิ ทั ร พริ ิยะพฒั นพ์ งศ์ ๒,๐๐๐ ๔๘ คณุ สภุ าพร ไววรมนตรี ๖๐๐ และครอบครัว ๒,๐๐๐ ๔๙ คุณดวงรตั น์ ดีวาจา ๖๐๐ ๒๐ คณุ เกวลิน เอ้ืออารมี ิตร ๑,๕๐๐ ๕๐ คณุ สมชาย เต็งการณ์กจิ ๖๐๐ ๒๑ คณุ งม้ิ ล้มิ สมบรู ณ์ ๑,๕๐๐ ๕๑ คุณบุญชัย เหลอื งเรอื งแสง ๕๖๐ ๒๒ ช้ันวางส่อื รพ.สัตว์นครักษ์ ๑,๓๖๐ ๕๒ ตุณนฤมล หล่อววิ ฒั น์พงศ์ ๕๕๕ ๒๓ ร้านเครป คอร์เนอร์ เอกมัย ๑๐ ๕๓ คุณสภุ าพร จติ รตั นธรรม ๕๐๐ ๒๔ คุณพิมพ์นภิ า กติ ตชิ ยั ชนะกุล ๒๕ คณุ ศิริชัย ลอื กติ ิไทย
ล�ำดบั ชื่อ-สกลุ จำ� นวนเงิน ล�ำดับ ช่อื -สกุล จำ� นวนเงนิ ๒๔๐ ๕๔ คณุ บุญมา-คุณสมทบ นามสวา่ ง ๕๐๐ ๘๖ คุณศลิ ป์ชยั จนั ทรเ์ พชร ๒๓๐ ๒๒๑ ๕๕ คุณสุภาพร ไววรมนตรี ๕๐๐ ๘๗ คุณวลัยลักษณ์ โตวลิ ยั ๒๒๐ ๒๑๐ ๕๖ คณุ บญุ ชยั ไชยธีรตั น์ ๕๐๐ ๘๘ คณุ ชรนิ ทร์ สวุ ัชรงั กูร ๒๐๒ ๕๗ คุณนิตยา จรัสสขุ สถิตย์ ๕๐๐ ๘๙ คุณประยทุ ธ ปิยะกาโส ๒๐๐ ๒๐๐ ๕๘ พญ.เปรมวดี หิรญั พฤกษ์ ๕๐๐ ๙๐ ดญ.ปัณฑิกา สชุ นรกั ษ์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๕๙ คณุ ศิริภญิ ญา แกว้ พูลศรี ๕๐๐ ๙๑ คุณญาติกา นนั ทช์ ณฏั - ๒๐๐ ๖๐ คุณอุกฤษฎ-์ คณุ เขษมศกั ดิ์ ชาตยวงษ์ ๕๐๐ คณุ อนันต์ ปกั สังคะเณย์ ๒๐๐ ๖๑ คณุ จนั ทรา ทองเคียน ๕๐๐ ๙๒ คณุ วรี ชยั ปัญควิ จญาณ ๒๐๐ ๖๒ พตอ.สิงขร วมิ ลธ�ำรง ๕๐๐ ๙๓ คณุ ผกามาศ ตันประเสริฐ ๒๐๐ ๖๓ คุณภวยา เส็งพาณิช ๕๐๐ ๙๔ คณุ นิตยา ปายะนันท์ ๒๐๐ ๖๔ คุณพณิ อนงค์ แตงออ่ น ๕๐๐ ๙๕ คุณเกศกนก โพธิกุล ๒๐๐ ๖๕ ผไู้ ม่ประสงค์ออกนาม ๔๐๐ ๙๖ คณุ นก ๒๐๐ ๖๖ คณุ กญั จน์ณัฏฐ์ เทอญชูชพี ๔๐๐ ๙๗ คุณเอ้ืองขวญั ไชยนสิ วิ ฒั น์ ๒๐๐ ๖๗ คณุ อุษา สง่างาม ๓๖๐ ๙๘ คณุ นาถลดา มีฤกษ์ยาม ๒๐๐ ๖๘ คณุ ฉลองชยั -วรรณกร คงบันเทิง ๓๕๐ ๙๙ คุณธัชฐริ ิณ แก้วเกิด ๒๐๐ ๖๙ คุณวิภา อฑั ฒวินท์ ๓๕๐ ๑๐๐ คณุ นัทกวนิ รตั นประภา ๑๘๐ ๗๐ คุณบศุ กร ทรงพุฒิ ๓๒๐ ๑๐๑ คณุ ประยุทธ ปยิ ะกาโส ๑๗๐ ๗๑ คณุ ฉลองชัย คงบนั เทิง ๓๑๐ ๑๐๒ คณุ ทอ้ -คณุ สนุ นั ทา แหลมไพศาล ๑๖๐ ๗๒ คณุ นนทกร สักกะพลางกูร ๓๐๐ ๑๐๓ คณุ เวธกา สุขแสนไกรศร ๑๖๐ ๗๓ คณุ วาสนิ ี สกั กะพลางกรู ๓๐๐ ๑๐๔ คุณพยอม มณพี ฤกษ์ ๑๔๐ ๗๔ ด.ญ.ปวณี ก์ ร สกั กะพลางกรู ๓๐๐ ๑๐๕ คุณณิชา แจ่มกระจา่ ง ๑๓๐ ๗๕ คุณวิสทุ ธ์ิ วิสุทธ์ศิ รีมณีกลุ ๓๐๐ ๑๐๖ คณุ ธนพร ทราธร ๑๒๐ ๗๖ คณุ รัตนา สาคร ๓๐๐ ๑๐๗ คณุ ประภาภรณ์ ปญั ควิ จรญาณ ๑๒๐ ๗๗ พระชยั พร จนทวํโส ๓๐๐ ๑๐๘ พระมหาธีรานนท์ จิรฏฐิโก ๑๑๐ ๗๘ คุณพัฒนา สขุ บำ� รุง ๓๐๐ ๑๐๙ คุณนภัทร สิทธาโนมยั ๑๑๐ ๗๙ แมช่ วี นดิ า ยิม้ แย้ม ๓๐๐ ๑๑๐ คณุ ละอองดาว สุขรอด ๑๐๐ ๘๐ พระชยั พร จนทวํโส ๓๐๐ ๑๑๑ พตอ.บญุ เสรมิ ศรีชมภู ๘๑ คณุ รัชนี ตันกลาง ๓๐๐ ๑๑๒ คณุ ณฎั ญา เดชเจริญ ๘๒ คณุ ร่งุ ศกั ด์ิ นุชผอ่ ง ๓๐๐ ๑๑๓ คุณสภุ าณี บูรพภ์ าค ๘๓ คณุ สมชาย ต้ังประสิทธิโชค ๒๘๐ ๑๑๔ คุณสวุ ิทย์ แซจ่ ิว ๘๔ คุณจารณุ ี จงสวัสด์ิ ๒๕๐ ๑๑๕ คุณภาณุมล ภูษา ๘๕ คณุ สิทธชิ ยั ปญั คิวจญาณ ๒๔๐ ๑๑๖ คุณฐาณสิ สรณ์ อำ�่ สวสั ดิ์
ลำ� ดับ ชอ่ื -สกุล จำ� นวนเงนิ ล�ำดบั ชอ่ื -สกลุ จำ� นวนเงนิ ๑๑๗ คุณสภุ าพร ไววรมนตรี ๑๑๘ คณุ สมชาย ตง้ั ประสทิ ธโิ ชค ๑๐๐ ๑๔๙ คุณภิเพ็ญ-คุณสวุ ารี ไชยเพชร ๖๐ ๑๑๙ คุณวชิ ัย สม้ โอชา ๑๐๐ และครอบครัว ๑๒๐ คุณธนา ศรีนเิ วศน์ ๑๐๐ ๑๕๐ คุณประภัสสร แถมนิล ๖๐ ๑๒๑ คุณผกามาศ ตนั ประเสรฐิ ์ ๑๒๒ คณุ กร ววิ ชิ ชานนท์ ๑๐๐ ๑๕๑ คณุ พทั ธภทั ร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา ๕๐ ๑๒๓ คุณศุทธนิ ี ลิวนวไพบูลย์ ๑๒๔ คณุ กรองทอง ภธู นะกูล ๑๐๐ ๑๕๒ คณุ น้�ำมนต์ เปรมานพุ นั ธ์ ๕๐ ๑๒๕ คุณอารยา ปฏภิ าณกวี ๑๒๖ คณุ มยรุ ี ทองใบ ๑๐๐ ๑๕๓ คณุ ภญิ ญดา เกดิ นรินทร์ ๕๐ ๑๒๗ คณุ ปราณี มหารำ� ลึก ๑๒๘ คณุ อารยา ปฏภิ าณกวี ๑๐๐ ๑๕๔ คณุ แสงดาว ปลอ้ งนิราศ ๕๐ ๑๒๙ คุณกาญจนา ธงยังรตั น์ ๑๓๐ คณุ อาทติ ยา เออื้ ชยั กุล ๑๐๐ ๑๕๕ คุณจอมขวัญ นาคดี ๕๐ ๑๓๑ คุณวชิ ยั ส้มโอชา ๑๓๒ คณุ อารยี ์ หวงั กิตตกิ าล ๑๐๐ ๑๕๖ คณุ อทิ ธพิ ทั ธ์ กรีสวัสด์ิ ๕๐ ๑๓๓ คณุ สนธิชยั ตันกลาง ๑๓๔ คณุ ไกรสหี ์ ชชู ่วย ๑๐๐ ๑๕๗ พ.อ.พชั รชศกั ดิ์ ปฏิรูปานนท์ ๓๐ ๑๓๕ คณุ วาสนา ศรีบุญธรรม ๑๓๖ คณุ มณสิ รา ศรียะพนั ธ์ ๑๐๐ ๑๕๘ คุณฤมัยกรณ์ อยนู่ ชุ ๒๐ ๑๓๗ คณุ นฤมล เอ่ียมสะอาด ๑๓๘ คณุ กร ววิ ิชชานนท์ ๑๐๐ ๑๕๙ ครุ อุบล บัวบูชา ๒๐ ๑๓๙ คณุ สมหมาย เตม็ ประสทิ ธิศกั ดิ์ ๑๔๐ คุณสวุ ฒั น์ชัย เงินขาว ๑๐๐ ๑๖๐ คณุ มานิตย์ สอนแก้ว ๒๐ ๑๔๑ คณุ วภิ าวี สงา่ เพช็ ร ๑๔๒ คณุ จงดี ประสาทผ่อน ๑๐๐ ๑๖๑ คุณธนา ศรนี เิ วศน์ ๒๐ ๑๔๓ คณุ ชลดิ า อัมภกิ าภรณ์ ๑๔๔ คุณนงนุช วรรณสขุ ๑๐๐ ๑๖๒ คณุ อำ� นาจ สมบูรณท์ รพั ย์ ๒๐ ๑๔๕ คณุ ธนา ศรนี ิเวศน์ ๑๔๖ คณุ ประมง แสนบุคคา ๑๐๐ ๑๖๓ คุณสมศักดิ์ ศรเี จริญ ๒๐ ๑๔๗ คุณศริ ยิ ุภา ป่นั กรวด ๑๔๘ คณุ เทวรักษ์ จงจติ ร ๑๐๐ ๑๖๔ คณุ คชา เดชทรพั ย์ ๑๐ ๑๐๐ ๑๖๕ คุณสมศักดิ์ เนตรกระจ่างกลุ ๑๐ ๑๐๐ ๑๖๖ ดญ.ณชิ า ศรีทับทมิ ๑๐ ๑๐๐ ๑๖๗ คณุ สมเกียรติ เหล่าเจรญิ ๑๐ ๑๐๐ รวมศรทั ธาท้ังสิ้น ๑๔๙,๔๙๘ บาท ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๗๐ ๗๐ ๖๐ ๖๐
ด้วยความปรารถนาดีท่ีจะบอกกล่าวไปยังผู้สนใจ ในธรรมะของพระพุทธโคดม หนังสือ บ่อเกิดแห่งบุญ จึงได้เกิดขึ้น เพ่ือใช้เป็นแนวทางน�ำพาชีวิต ไปสู่ความ สวสั ดใี นกาลข้างหนา้ w w w . k a n l a y a n a t a m . c o m
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114