Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore coe_2109

coe_2109

Published by jinda.ramin2513, 2019-09-18 02:49:32

Description: coe_2109

Search

Read the Text Version

คาํ ตอบ 2 : ทร่ี ะยะ 1/4 ของความหนาของช้นั ดนิ เหนยี วถัดมาจากขอบดานบนของช้นั ดนิ เหนียว คาํ ตอบ 3 : ทีร่ ะยะ 1/3 ของความหนาของชั้นดินเหนียวถัดมาจากขอบดานบนของช้ันดินเหนยี ว คาํ ตอบ 4 : ทีก่ งึ่ กลางช้นั ดนิ เหนียว ขอ ที่ : 227 ห้ามจาํ หน่าย ขอที่ : ขอท่ี : ดินท่ใี นอดีตไมเ คยรบั แรงใดๆมากกวา แรงดันของดินในปจจบุ ัน และมผี ลตอการทรดุ ตัวคายนา้ํ คือดินตามความหมายใด 101 of 142 ขอท่ี : คําตอบ 1 : Normally consolidated Clay คาํ ตอบ 2 : Overconsolidated Clay คาํ ตอบ 3 : Normally consolidated Sand คําตอบ 4 : Overconsolidated sand 228 วธิ ีการใดใชใ นการเรง การทรดุ ตวั ของดินเหนยี ว ์ิคําตอบ 1 : ธคําตอบ 2 : ทิคําตอบ 3 : สคําตอบ 4 : Static compaction Deep Mixing Pile Vibroflot Preloading งวน229 สConsolidation settlement เกิดจาก อคําตอบ 1 : รขคาํ ตอบ 2 : คาํ ตอบ 3 : วกคาํ ตอบ 4 : ปรมิ าตรของเนอ้ื ดินลดลง ทาํ ใหเ กิดการทรุดตวั ระดบั นํา้ ใตด นิ สูงข้ึน ทาํ ใหคา หนวยแรงประสทิ ธิผลเพิม่ ข้ึน นาํ้ หนีออกจากชอ งวางระหวางเมด็ ดินเนอ่ื งจากแรงดันน้ําสวนเกนิ มีน้ําหนกั กระทําทผี่ ิวดิน ทาํ ใหชองวางของอากาศในดินลดลง าวศิ230 อตั ราเร็วของการทรดุ ตัวแบบ Consolidation settlement ข้นึ อยูกับ สภคําตอบ 1 : Compression index คําตอบ 2 : Over consolidation ratio คําตอบ 3 : Pre-consolidation pressure คําตอบ 4 : Coefficient of permeability

ขอที่ : 231 ขอที่ : ขอที่ : การบดอัดดินจะมผี ลทาํ ให ขอท่ี : ขอท่ี : คาํ ตอบ 1 : Vs ลด ทาํ ให ความหนาแนน ของดิน เพ่ิม หา้ มจาํ หน่าย คาํ ตอบ 2 : Ws เพ่ิม ทาํ ให ความหนาแนน ของดิน เพ่ิม คําตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : ปริมาณชอ งวา งของอากาศลดลง ปริมาณนา้ํ ในดนิ ลดลง 232 การบดอัดเขอ่ื นดนิ คําตอบ 1 : ควรใชร ถบดแบบลากจงู คําตอบ 2 : ควรใชรถบดลอ เหล็ก คาํ ตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : ควรบดอดั ทางดานแหง (Dry side) ควรบดอัดทางดานเปย ก (Wet side) ทิ ธ์ิ233 สการบดอดั ดินทางดานแหง (Dry side) งวนคาํ ตอบ 1 : คาํ ตอบ 2 : คําตอบ 3 : สคาํ ตอบ 4 : ควรใชร ถบดแบบตนี แกะ (Sheep foot) ควรใชร ถบดแบบส่ันสะเทือน (Vibrating Roller) เมอ่ื เพมิ่ พลังงานในการบดอดั ความหนาแนนแหงจะเพมิ่ ข้นึ สมั ประสทิ ธิค์ วามซมึ ไดของดินจะตํา่ กวา การบดอัดทางดา นเปย ก รขอ234 วกดินท่มี ีคา CBR สงู ท่สี ุด าวิศคําตอบ 1 : คําตอบ 2 : คาํ ตอบ 3 : สภคําตอบ 4 : หนิ คลกุ ดนิ ลูกรงั ดนิ เหนยี วปนกรวด ดนิ เหนียวปนตะกอนทราย 235 จากผลการทดสอบ Consolidation test จงหาคา การทรุดตวั ของชัน้ ดินเหนียวเนอ่ื งจากแรงกระทาํ บนฐานรากแผทไี่ ดแ สดงไว กําหนดใหใ ชวธิ ี 2:1 ในการคาํ นวณหาหนว ยแรงท่จี ดุ กึ่งกลางชน้ั โดยไมต อ งเฉลยี่ หนว ย 102 of 142 แรงที่เกิดขน้ึ ณ ความลึกตา งๆ และใชคา ดงั กลาวในการคาํ นวณการทรุดตวั

ธ์ิ หา้ มจาํ หนา่ ยคําตอบ1:3.5 cm 7 cm คาํ ตอบ 2 :10.5 cm 14 cm สทิคาํ ตอบ 3 : งวนคําตอบ 4 : สภาวศิ วกรขอสขอที่:236 จากขอมูลท่ไี ดใ หไวในรปู ประกอบ จงหาวาจะตอ งใชเ วลาเทา ใดในการระบายแรงดันนาํ้ สว นเกนิ (ที่เกดิ ข้ึนจากแรงกระทาํ ขนาด 10 t/sq.m. ท่ผี วิ ดิน) ใหห มดสนิ้ 103 of 142

ธิ์ หา้ มจาํ หนา่ ยคาํ ตอบ1:1.5 ป ทิคําตอบ 2 : 3 ป สคําตอบ 3 : 4.5 ป งวนคําตอบ 4 :6 ป าวศิ วกรขอสขอที่: 237 ช้นั ดินท่ีมีคา OCR = 2.5 และมีคา Preconsolidation pressure = 4 t/sq.m. จะมคี า หนวยแรงกดทบั ในปจ จบุ นั เทา กับเทา ใด คาํ ตอบ 1 : 1.6 t/sq.m. คําตอบ 2 : 2.5 t/sq.m. คําตอบ 3 : 4 t/sq.m. คาํ ตอบ 4 : 10 t/sq.m. 238สภขอท่ี : จากรูปกราฟ e log p ถาจุด A เปนจุดทม่ี ีรศั มคี วามโคง นอ ยที่สดุ และคา Overburden pressure เทา กบั 20 กิโลนิวตันตอ ตารางเมตร คา Overconsolidation ratio ของดินชนิดน้จี ะมคี าเทา ก10บั 4หoรfอื 1ใ4ก2ลเคียงกบั คาใด

าวิศวกรขอสงวนสทิ ธิ์ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1:1.0 2.0 คาํ ตอบ 2 : 3.0 สภคาํ ตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : 4.0 ขอ ที่ : 239 105 of 142

จากกราฟ e log p คา Compression index มคี า เทากบั หรอื ใกลเ คยี งกบั คา ใด าวิศวกรขอสงวนสิทธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1:0.0086 สภคาํ ตอบ 2 :0.01 คาํ ตอบ 3 : 0.43 คาํ ตอบ 4 : 0.68 106 of 142

ขอ ท่ี : 240 จากรูปกราฟ e log p ถา จดุ A เปน จุดทีม่ รี ัศมคี วามโคง นอยท่ีสดุ คา Maximum past pressure มคี า เทากบั หรือใกลเคียงกับคา ใด สภาวิศวกรขอสงวนสิทธิ์คําตอบ 1 : ห้ามจาํ หนา่ ย 50 kN/sq.m. คาํ ตอบ 2 : 60 kN/sq.m. คําตอบ 3 : 70 kN/sq.m. คําตอบ 4 : 80 kN/sq.m. 107 of 142

ขอ ที่ : 241 ช้ันดินบรเิ วณหนึ่งเปน ดงั รปู ถา ความเคน ทเ่ี พมิ่ ขึ้นบริเวณกึง่ กลางช้นั ดนิ เหนยี ว (Normally consolidated clay) เนือ่ งจากนาํ้ หนักแผก ระจายสม่ําเสมอบนผวิ ดินเทากบั 98 กโิ ลนิวตนั ตอ ตารางเมตร ขนาดของการทรดุ ตวั ของชั้นดินเหนยี วมีคา เทากบั หรอื ใกลเคียงกบั คา ใด ภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจําหนา่ ยคําตอบ1: สคําตอบ 2 : 24 เซ็นติเมตร 32 เซ็นตเิ มตร คาํ ตอบ 3 : 42 เซ็นตเิ มตร คําตอบ 4 : 64 เซ็นตเิ มตร 108 of 142

ขอ ท่ี : 242 ช้นั ดินเหนียวออ นอ่มิ ตวั ดว ยนํา้ หนา 14 เมตร มลี กั ษณะช้นั ดินดงั รูป ถา ท่ีบรเิ วณผวิ ดินมนี ํ้าหนกั แผกระจายสมํ่าเสมอกระทาํ เปน บริเวณกวา ง ถาเวลาผา นไป 2 ป คา Time factor ของชนั้ ดนิ น้ีจะมีคา เทากับหรอื ใกลเ คยี ง กับคาใด าวิศวกรขอสงวนสิทธ์ิ ห้ามจําหนา่ ยคาํ ตอบ1:0.011 0.027 คําตอบ 2 : 0.034 สภคาํ ตอบ 3 : คําตอบ 4 : 0.045 ขอที่ : 243 109 of 142

ชัน้ ดินเหนยี วออ นอ่มิ ตวั ดวยนา้ํ หนา 12 เมตร มลี ักษณะช้นั ดินดงั รูป ทบี่ ริเวณผวิ ดินมนี าํ้ หนกั แผกระจายสมํ่าเสมอกระทาํ เปน บรเิ วณกวา ง ถาเวลาผานไป 3 ป คา Time factor ของชนั้ ดนิ น้จี ะมีคา เทา กบั หรอื ใกลเ คียงกบั คาใด 0.011วกรขอสงวนสิทธิ์ ห้ามจําหน่ายคําตอบ1: 0.023าวศิคาํ ตอบ 2 : 0.068 0.091คาํ ตอบ 3 : สภคําตอบ 4 : ขอ ท่ี : 244 จงหาวา ฐานรากท่ไี ดแ สดงไวจ ะเกดิ การยุบอดั ตวั คายนา้ํ เทา กบั เทา ใดเมื่อรับน้ําหนกั ตามทไ่ี ดแ สดงไว ใหค า หนวยแรงท่เี พมิ่ ขึน้ ในชนั้ ดินเหนียวโดยวิธีประมาณ(2:1) และคดิ ที่กึ่งกลางชัน้ ดนิ เหน1ยี 1ว0 of 142

อสงวนสทิ ธิ์ หา้ มจาํ หน่ายคาํ ตอบ1:3.3 ซม รขคําตอบ 2 :15 ซม วกคําตอบ 3 :38 ซม 45 ซม คําตอบ 4 : สภาวิศขอที่ : 245 111 of 142

่ายคําตอบ 1 :5.0 เมตร นคาํ ตอบ 2 :5.2 เมตร ําหคาํ ตอบ 3 :5.5 เมตร จคําตอบ 4 : 5.7 เมตร ้าม246 ขอ ที่ : ิ์ หช้นั ดินเหนียวหนา 4 เมตร วางตวั อยรู ะหวา งชั้นทราย 2 ชนั้ มคี า สมั ประสทิ ธกิ์ ารอัดตวั คายนํา้ (Coefficient of consolidation),CV 0.8 ลูกบาศกเ มตรตอป ถามนี ํ้าหนักภายนอกมากระทาํ แลว ทําใหเกดิ ความเคน เพมิ่ ข้ึน ขอที่ : ขอที่ : ในชน้ั ดินเหนียว อยากทราบวา การอดั ตัวคายน้ําเกดิ ขนึ้ 90 เปอรเ ซ็นตเ มือ่ เวลาผานไปนานกีเ่ ดอื น (Time Factor = 0.848 ทก่ี ารอดั ตัวคายนา้ํ 90%) ิทธคาํ ตอบ 1 : สคาํ ตอบ 2 :11 เดอื น งวนคําตอบ 3 :18 เดือน 36 เดือน คาํ ตอบ 4 : 51 เดือน ส247 อเมือ่ นําตัวอยา งดินทรี่ ะดับความลกึ 10 ม. จากสถานท่ีกอสรา งซึง่ น้าํ ไหลออกไดทางเดยี วมาทําการทดลองในเครอ่ื งทดสอบอดั ตัวคายนํ้าแบบมาตรฐานซ่งึ มีการระบายนํา้ ทง้ั ดา นบนและดานลาง พบวาเกดิ การยบุ ตัว รข50% สําหรบั ตวั อยา งดนิ หนา 1 ซม. ใชเ วลา 32.392 วินาที ดนิ ในสถานทก่ี อ สรางจะตองใชเ วลาเทา ไรจงึ จะเกิดการยุบตวั เทา กัน วกคาํ ตอบ 1 :500 วนั 1000 วนั คําตอบ 2 : 1500 วัน 2000 วนั าวศิคําตอบ 3 : สภคาํ ตอบ 4 :248 ในการทดสอบ Consolidation ของตัวอยางดนิ ชนิดหนึ่ง เม่อื เพมิ่ ความดนั จาก 25 ตนั /ม^2 เปน 45 ตัน/ม^2 อัตราสวนชองวา งลดลงจาก 1.34 เปน 1.22 และสัมประสทิ ธคิ์ วามซึมไดของดนิ ในขณะท่ีเพม่ิ ความดนั นี้เทา กับ 8.25 x 10^-9 ซม./วนิ าที จงหาคา Coefficient of consolidation Cv เปน ม^2/ป คําตอบ 1 : 0.0469 112 of 142

คาํ ตอบ 2 : 1.0469 คาํ ตอบ 3 : 2.0469 คาํ ตอบ 4 : 3.0469 าํ หน่ายขอ ท่ี: 249 คณุ สมบตั ิในขอใดทไี่ มม ผี ลกระทบหรือกระทบนอยท่สี ุดตอ ขนาดและอัตราการทรุดตัวของดินเหนยี ว คาํ ตอบ 1 : Stress history คาํ ตอบ 2 : Water content และ Atterberg’s limit คําตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : แรป ระกอบในดนิ เหนียว ความหนาแนน แหง สงู สดุ (Maximum dry density) สภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจขอ ที่: 250 ขอ ใดคอื พฤตกิ รรมในการรับนํา้ หนกั และการทรุดตวั ของดินแบบ Dense sand หรอื Stiff clay คาํ ตอบ 1 : เสน A 113 of 142

คาํ ตอบ 2 : เสน B คําตอบ 3 : เสน C คาํ ตอบ 4 : เสน A และ เสน B ขอ ท่ี : วกรขอสงวนสทิ ธิ์ ห้ามจําหนา่ ยคําตอบ1:251 าวิศคําตอบ 2 :ขอใดคอื พฤติกรรมในการรบั น้ําหนักและการทรุดตัวของดินแบบ Loose sand หรอื Soft clay คาํ ตอบ 3 : เสน A เสน B สภคําตอบ 4 : เสน C เสน A และ เสน B ขอ ที่ : 252 ทานไดผ ลการทดสอบ Consolidation test ของดนิ ชนดิ หนึง่ ณ ระดับความลึกหนงึ่ ปรากฏวาทานพบเสน โคง ความสัมพันธร ะหวาง void ratio และ Log (P’) มีทง้ั หมด 3 เสนดังแสดงในภาพ ขอใดที่ทา นควรสรปุ จาก เสนโคง ขางลางนี้ 114 of 142

จําหนา่ ยคาํ ตอบ1: า้ มคาํ ตอบ 2 : ์ิ หคาํ ตอบ 3 : คําตอบ 4 : เสนโคง C ควรจะเปนเสน ความสมั พนั ธท่เี กดิ ขึน้ ในสนามโดยมีการตรวจวัดในสภาพจริง เสนโคง A ควรจะเปนเสน ความสมั พันธใ นหองปฏบิ ตั ิการและตัวอยางเปนตวั อยางทม่ี คี ณุ ภาพ( Undisturbed Sample) เพราะสามารถหา Maximum Past Pressure ได เสนโคง B ควรเปนเสน ความสัมพนั ธท ี่ไดมาจากตวั อยา งแบบ Disturbed ไมส ามารถหา Maximum Past Pressure ได ถกู ทุกขอ ทิ ธ253 ขอที่ : งวนสคํากลาวในขอ ใดทไ่ี มถ กู ตองในทฤษฏกี ารทรดุ ตวั แบบ One dimension ของ Terzaghi ขอ ที่ : คําตอบ 1 : สคาํ ตอบ 2 : คา Over-Consolidation ratio (OCR) คอื อัตราสวนของความเคนทมี่ ากทีส่ ดุ ในอดตี บางครงั้ เรียกวา “Pre-consolidation pressure” หรือ “Maximum Past Pressure” ตอ ความเคนในปจจุบัน ถา ดินมี OCR = 1 ถกู เรียกวา “Normal-consolidated Soil” , ถา ดนิ มี OCR > 1 ถูกเรยี กวา “Over-consolidated Soil” และ ถา ดนิ มี OCR < 1 ถกู เรียกวา “Under-consolidated Soil” ซ่งึ ไม คอยพบ อคําตอบ 3 : รขคําตอบ 4 : ทฤษฎีการทรดุ ตวั แบบ One-dimension เปน การประมาณขนาดและอัตราการทรดุ ตวั ของดนิ ทม่ี ีความซึมนํา้ นอ ยๆ เชน ดินเหนียวโดยพิจารณาถงึ ประวัติการรับแรงของดิน(Stress history) ดวยซึ่ง การนาํ ดนิ มาทดสอบในหอ งปฏิบตั ิการตอ งเกบ็ ตวั อยางดนิ แบบ Undisturbed และตองไมทาํ ลายโครงสรา งอ่นื ๆ ในระหวา งตวั แตง ดิน ไมม ขี อถูก สภาวิศวก254 จากรปู จงหาคาการทรุดตวั (Consolidation settlement) ทั้งหมดทเ่ี กดิ ขึน้ ในชัน้ ดินเหนียวเนอ่ื งจากดนิ ถม ดังแสดง ทราย Bulk unit weight = 16 kN/m3 Saturated unit weight = 19 kN/m3 ดินเหนยี ว 115 of 142 Saturated unit weight = 18.5 kN/m3 Initial void ratio,eo = 0.57 OCR = 1 Cc= 0.38

าํ หนา่ ยคาํ ตอบ 1:20.8 cm. จคําตอบ 2 : 44.4 cm ้ามคาํ ตอบ 3 :53.7 cm. 62.9 cm. คาํ ตอบ 4 : งวนสทิ ธิ์ หขอ ที่: 255 เม่อื ดินเหนียวอิ่มตัวดวยน้ํารบั แรงกดโดยแชอ ยใู นนาํ้ และทิ้งไวช ว งเวลาหนึง่ ปริมาณน้าํ ในชอ งวางของดนิ จะลดลงและดินทรุดตัว เราเรียกกระบวนการนี้วาอะไร คําตอบ 1 : Shrinkage คําตอบ 2 : Expansion คาํ ตอบ 3 : Consolidation คาํ ตอบ 4 : Polymerization สภาวิศวกรขอสขอ ที่: 256 จากรปู ตัดช้ันดิน ถามแี รงดนั 50 kPa กระทาํ ท่ผี ิวดนิ เปน บริเวณกวา งมากจนไมจ าํ กดั จะมีการทรุดตัวเนื่องจาก Primary Consolidation เปนเทา ใด 116 of 142

ภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1:24 cm สคาํ ตอบ 2 : 34 cm คาํ ตอบ 3 : 44 cm คําตอบ 4 : 65 cm 117 of 142

ขอ ที่ : 257 ทาํ consolidation test โดยใชตัวอยางดินเหนียวอม่ิ ตวั ดว ยนาํ้ หนา 20 มม. พบวา ทหี่ นว ยแรงกดทับคา หนงึ่ ตองใชเวลา 10.4 นาทีจึงจะมี degree of consolidation = 90% ถาดินเหนยี วชนดิ เดยี วกันน้หี นา 4 เมตรมี สภาพการระบายน้ําเหมือนกบั ใน lab และหนวยแรงกดทบั เทา กนั จะใชเวลานานเทาใดจึงจะมี degree of consolidation = 90% คําตอบ 1 : 1.44 วนั คาํ ตอบ 2 : 72.2 วนั คาํ ตอบ 3 : 288.9 วัน คาํ ตอบ 4 : 354.3 วนั ําหน่ายขอ ท่ี: 258 จากรปู ตดั ชั้นดิน และรูปผลการทดสอบ Consolidation ดินจะมคี า OCR เทา ใด สภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธ์ิ หา้ มจคําตอบ1: 1.0 คาํ ตอบ 2 : 1.2 คําตอบ 3 : 1.5 คําตอบ 4 : 2.4 118 of 142

ขอ ท่ี : 259 กําหนด Pre-consolidation pressure = 200 kN/sq.m Effective overburden pressure = 100 kN/sq.m จงหาคาของ OCR (Over Consolidation Ratio) คาํ ตอบ 1 : 0.5 คาํ ตอบ 2 : 1.0 คาํ ตอบ 3 : 1.5 2.0 า่ ยคําตอบ 4 : ิ์ หา้ มจําหนขอท่ี: 260 คา ใดไมเก่ยี วขอ งกบั การคํานวณระยะทรดุ ตวั ของของดิน คําตอบ 1 : Optimum water content คาํ ตอบ 2 : Compression Index คําตอบ 3 : Effective stress คาํ ตอบ 4 : Void ratio สงวนสทิ ธขอท่ี: 261 ขอใดไมใชส มมุติฐานของ Consolidation settlement ของ Terzaghi คาํ ตอบ 1 : One dimensional compression คาํ ตอบ 2 : Saturated soil คําตอบ 3 : Homogeneous soil คําตอบ 4 : One-way drainage สภาวศิ วกรขอขอท่ี: 262 จากขอมลู ท่ไี ดใหไ วในรูปประกอบ จงหาวา ตองใชเ วลาเทาใดจงึ จะเกดิ การทรดุ ตวั เนือ่ งจากนํ้าหนกั ดินถม q เปนระยะเทากับ 2.6 ซม. 119 of 142

ิ์ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1:30 วนั ธคาํ ตอบ 2 :49 วัน ทิคาํ ตอบ 3 :141 วนั สคําตอบ 4 :340 วัน สภาวิศวกรขอสงวนขอที่ : 263 จากขอ มูลทไี่ ดใ หไวใ นรปู ประกอบ จงหาวา ตอ งใชเ วลาเทาใดจึงจะเกิดการทรดุ ตัวเน่ืองจากนาํ้ หนักดนิ ถม q เปน ระยะเทากบั 4.16 ซม. 120 of 142

ิ์ หา้ มจาํ หน่ายคําตอบ1:30 วัน ธคําตอบ 2 : 49 วนั ทิคาํ ตอบ 3 :141 วัน สคาํ ตอบ 4 : 340 วนั สภาวิศวกรขอสงวนขอ ที่: 264 จงพิจารณาขอความตอไปนี้ คาํ ตอบ 1 : ถกู ทุกขอ 121 of 142 คําตอบ 2 : ถูกสามขอ

คาํ ตอบ 3 : ถูกสองขอ คําตอบ 4 : ถกู หนงึ่ ขอ ขอ ท่ี : 265 ห้ามจาํ หน่าย ขอที่ : กาํ ลงั รบั รับนํ้าหนกั ของดนิ ตามทฤษฎีของ Terzaghi จะขึน้ อยกู บั ขอที่ : ขอที่ : คาํ ตอบ 1 : ความลึกของระดบั ท่ีวางฐานราก คําตอบ 2 : น้ําหนกั ทกี่ ระทํากบั ฐานราก คําตอบ 3 : คามมุ เสียดทานระหวางฐานรากและดินใตฐานราก คําตอบ 4 : ถกู ทกุ ขอ 266 ระยะเยอ้ื งศูนยท ่ีจะไมทาํ ใหเกดิ หนวยแรงดงึ (Tensile stress) ที่ขอบของฐานรากจะตองไมม ากกวา คําตอบ 1 : ์ิคาํ ตอบ 2 : ธคําตอบ 3 : ทิคําตอบ 4 : B/6 (B = ความกวา งของฐานราก) B/3 D/6 (D = ความลกึ ของระดบั ท่วี างฐานราก) D/3 งวนส267 กรณที ่ีมีนาํ้ ใตด นิ เหนอื ระดับฐานราก ระดับน้าํ ใตดนิ จะมผี ลทาํ ให สคาํ ตอบ 1 : อคาํ ตอบ 2 : รขคาํ ตอบ 3 : คําตอบ 4 : กําลังรบั นาํ้ หนักแบกทานของดินลดลง กําลังรบั นาํ้ หนกั แบกทานของดินเพ่ิมขึ้น กําลังรับน้าํ หนกั แบกทานของดินไมเ ปล่ียนแปลง ไมสามารถสรปุ ได าวิศวก268 สภBearing capacity factor , Nc , Nq คาํ ตอบ 1 : หนวยแรงดึงดูดของดนิ (Cohesion) 122 of 142 คําตอบ 2 : มมุ เสยี ดทานภายในของดิน (Angle of internal friction) คาํ ตอบ 3 : ขนาดความกวางของฐานราก, B

คําตอบ 4 : น้ําหนักของดินเหนือระดบั ท่วี างฐานรากและหนวยนาํ้ หนกั ของดิน ขอ ท่ี : 269 ฐานรากรวม (Combined footing) หมายถงึ คาํ ตอบ 1 : คําตอบ 2 : ่ายคําตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : ฐานรากท่มี นี าํ้ หนักจากเสากระทําสองจดุ หรือมากกวา ฐานรากเดย่ี วทอ่ี อกแบบใหร ับแรงในแนวดิ่งและโมเมนตรว มกัน ฐานรากของอาคารทม่ี ีหลาย ๆ รูปแบบในอาคารหลงั เดียวกนั ฐานรากของอาคารทมี่ ีทงั้ ฐานรากแผและฐานรากเสาเข็มรว มกนั สภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธิ์ ห้ามจาํ หนขอที่: 270 จงคํานวณตามวิธีของ Terzaghi วา ฐานรากแผท่แี สดงไวตามเงือ่ นไขในรปู จะสามารถรับแรงกระทาํ ตามแกนด่งิ กอ นการวิบตั ิ (ซง่ึ รวมถงึ น้าํ หนกั ฐานรากแลว) ไดม ากทส่ี ดุ เทา ใด คําตอบ 1 : 7.4 t 123 of 142 คําตอบ 2 : 29.6 t คาํ ตอบ 3 : 37.2 t

คาํ ตอบ 4 : 50.1 t ขอ ท่ี : 271 ขอท่ี : ขอ ท่ี : ระดับนาํ้ ใตดินทร่ี ะดับใดมีผลให Bearing Capacity มีคา นอยทส่ี ดุ ขอที่ : คําตอบ 1 : คาํ ตอบ 2 : า่ ยคาํ ตอบ 3 : คําตอบ 4 : ระดับผวิ ดนิ ระดับ1/2 ของความลกึ ฐานราก ระดบั 1/4 ของความลกึ ฐานราก ระดับใตฐานราก ําหน272 จในกรณีท่ีเกิดแรงเยอื้ งศนู ยทีฐ่ านราก (Eccentric Load) ขนาด e จะตอ งเปลีย่ นแปลงขนาดฐานราก (B) ทใี่ ชใ นการคํานวณหา Bearing Capacity ตามวิธี effective area เปน เทา ใด า้ มคําตอบ 1 : B’=B-e คําตอบ 2 : B’=B-2e ฺB’=B-3e ์ิ หคาํ ตอบ 3 :B’=B-4e ธคําตอบ 4 : สทิ273 งวนวธิ ีการใดท่สี ามารถคาํ นวณหาคา Bearing Capacity ไดในกรณีท่ีน้ําหนักกระทําตอฐานรากเปนแบบเฉียง ( Incline Load ) สคําตอบ 2 : Terzaghi Equation อคําตอบ 3 : Meyerhof Equation คําตอบ 1 : Skempton Equation รขคาํ ตอบ 4 : วก274 Peck Equation าวิศดินชนิดใดทคี่ วามลึกของฐานรากมีผลตอ Bearing Capacity นอยมาก คาํ ตอบ 1 : Cohesionless soil คาํ ตอบ 2 : Dense Sand Loose sand สภคาํ ตอบ 3 : คาํ ตอบ 4 : Clay ขอ ที่ : 275 124 of 142

ในการวิเคราะห Bearing Capacity ตามทฤษฎขี อง Terzaghi กําหนดใหด นิ มกี ารวบิ ัติแบบใด คาํ ตอบ 1 : General Shear Failure คําตอบ 2 : Local Shear Failure คาํ ตอบ 3 : Punching Shear Failure คาํ ตอบ 4 : Rotational Failure ่ายขอ ท่ี : วกรขอสงวนสทิ ธ์ิ หา้ มจาํ หนคาํ ตอบ1: าวศิคําตอบ 2 : คาํ ตอบ 3 : สภคาํ ตอบ 4 : 276 จงหาวาฐานรากท่ีไดแสดงไวมอี ัตราสวนปลอดภัยเทากับเทาใด (กําหนดใหนํ้าหนกั ของฐานรากเปนศูนย) 3.2 3.5 3.8 4.1 ขอ ที่ : 277 จงหาคา น้าํ หนักบรรทุกยอมใหของฐานรากทไ่ี ดแ สดงไว โดยใชสวนปลอดภยั เทากบั 3 125 of 142

ิทธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1:58 ตัน สคําตอบ 2 :68 ตนั งวนคาํ ตอบ 3 :78 ตัน 88 ตนั คาํ ตอบ 4 : สภาวศิ วกรขอสขอ ท่ี: 278 จงหาคาน้ําหนักบรรทกุ ยอมใหของฐานรากท่ีไดแ สดงไวตามสมการของเทอรซากี โดยใชส วนปลอดภยั เทา กับ 3 126 of 142

ประมาณ 30 ตนัธ์ิ หา้ มจาํ หนา่ ยคาํ ตอบ1: ประมาณ 40 ตันทิคําตอบ 2 : ประมาณ 50 ตันสคําตอบ 3 : ประมาณ 60 ตันงวนคาํ ตอบ 4 : รขอสขอ ที่ : 279 นําตัวอยางดินลูกรงั ซึ่งมคี า ถพ. Gs = 2.730 ไปทาํ การทดลอง Modified Proctor Compaction Test ไดค าความหนาแนน แหง สงู สดุ = 1.868 g/cm^3 โดยใชปริมาณนา้ํ ท่ีเหมาะสมที่สุด OMC = 14.95% ถา สามารถบดอัดจนกระทง่ั ในชองวางระหวางเมด็ ดนิ ไมมีฟองอากาศอยูเลยโดยใชปริมาณน้ําที่ OMC นี้ ไดค า ความหนาแนนสูงสดุ เทาใด าวิศวกคาํ ตอบ 1: 0.732 g/cu.m คําตอบ 2 :1.868 g/cu.m 1.939 g/cu.m ภคําตอบ 3 :2.730 g/cu.m สคําตอบ 4 : ขอ ที่ : 280 ในการบดอดั ดินแบบ Modified Proctor ใช Mold ขนาด เสน ผานศูนยกลาง 6 นว้ิ สูง 4.584 นวิ้ ตุมนํ้าหนักขนาด 10 lb ระยะยกสงู 18 นิ้ว กระแทกลงบนเน้ือดินรวม 5 ชั้น ชัน้ ละ 56 ครงั้ พล1งั 2ง7าoนfท1่ีใ4ช2ใ นการบดอดั

ดนิ ในรปู ของพลงั งานที่ใชในการบดอดั ดินตอ ปรมิ าตรของดินท่บี ดอดั มคี าเทา กบั เทาไร คําตอบ 1 : 12400 ft-lb/ft^3 คาํ ตอบ 2 : 24800 ft-lb/ft^3 คําตอบ 3 : 56000 ft-lb/ft^3 คําตอบ 4 : 62400 ft-lb/ft^3 น่ายขอ ที่ : 281 ในการกอ สรางฐานแผแ นวยาว ( Strip Footing ) บนดินเหนียวทม่ี ีระดับน้ําใตดนิ ลึกมากซ่ึงมคี าตา งๆดงั น้ี จงหาคา ความแตกตา งของ Ultimate Soil Bearing Capacity เมอื่ ฐานแผอ ยูทีผ่ ิวดิน และเมื่อฐานแผอ ยทู ่ี ความลึก 1 ม. จากผวิ ดนิ า้ มจาํ หคาํ ตอบ 1: ์ิ หคําตอบ 2 :0.95 T/m^2 ธคําตอบ 3 : 1.45 T/m^2 ิทคาํ ตอบ 4 :1.95 T/m^2 2.45 T/m^2 สภาวิศวกรขอสงวนสขอท่ี : 282 ถาฐานรากแผย าวมาก (มีความยาวมากกวาความกวางมาก) วางบนผิวดินเหนียว ทมี่ ีสภาพไมร ะบายนํ้า จะมี Ultimate Bearing capacity เปนเทา ใด 128 of 142

สงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคาํ ตอบ1:154.2 kPa อคาํ ตอบ 2 :135.9 kPa รขคําตอบ 3 :125.8 kPa 110.6 kPa คําตอบ 4 : สภาวิศวกขอท่ี : 283 การวิบัติของฐานรากตื้นในรูปใดจดั วา เปน การวิบัติแบบใด 129 of 142

Slidingาวิศวกรขอสงวนสิทธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคําตอบ1: Overturning General shearคําตอบ 2 : Punching shearคาํ ตอบ 3 : สภคําตอบ 4 : ขอ ท่ี : 284 เสาเข็มของบอเกบ็ น้าํ ทอ่ี ยใู นสภาพเกือบแหงดังรปู จะมแี รงกระทาํ ชนดิ ใดทกี่ ระทาํ กับเสาเข็มเปนหลกั เปน หลกั 130 of 142

าวิศวกรขอสงวนสทิ ธิ์ หา้ มจาํ หน่ายคําตอบ1: คาํ ตอบ 2 : คําตอบ 3 : สภคําตอบ 4 : Compressive force Tension Horizontal force Torsion ขอ ที่ : 285 เสาเข็มกอ สรา งในชัน้ ดินดงั รูป จะตองคาํ นึงถงึ ขอใดเปนพิเศษ 131 of 142

าวศิ วกรขอสงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจําหนา่ ยคําตอบ1: คําตอบ 2 : คาํ ตอบ 3 : สภคาํ ตอบ 4 : General shear failure Negative skin friction Lateral movement Pile deviation ขอท่ี : 286 ขอ ใดไมใชล ักษณะการเคล่อื นตวั ของดินใตฐ านรากที่ทาํ ใหเกิดการวิบตั ิ 132 of 142

คาํ ตอบ 1 : General Shear คาํ ตอบ 2 : Local Shear คาํ ตอบ 3 : Punching Shear คาํ ตอบ 4 : Beam Shear ขอ ที่ : 287 ขอที่ : า่ ยองคประกอบใดทไ่ี มม ีผลตอคา Ultimate Bearing Capacity ของดินใตฐานราก คาํ ตอบ 1 : นคาํ ตอบ 2 : ําหคาํ ตอบ 3 : จคําตอบ 4 : น้ําหนักดนิ เหนือฐานราก ความกวางของฐานราก ความลกึ ของฐานรากจากผวิ ดนิ คณุ ภาพของคอนกรตี ทใี่ ชท าํ ฐานราก า้ ม288 ์ิ หจงคาํ นวณหากําลงั รับนาํ้ หนักบรรทุกเสาเข็มปลอดภยั ของเสาเขม็ spun เสนผา นศนู ยกลาง 60 ซม. ใช Safety Factor ตามกฏกระทรวงเทากับ 2.5 ตามชนั้ ดินที่กาํ หนดให (ไมค ิดนา้ํ หนกั เสาเขม็ ) ภาวิศวกรขอสงวนสทิ ธคาํ ตอบ1: สคําตอบ 2 : 19 ตนั 36 ตนั คําตอบ 3 : 46 ตัน คําตอบ 4 : 115 ตนั 133 of 142

ขอ ท่ี : 289 จงคํานวณหากาํ ลงั รบั นํา้ หนกั บรรทุกเสาเข็มปลอดภัยของเสาเขม็ สเ่ี หลย่ี ม 0.45x0.45 ม. โดยใช Safety Factor ตามกฏกระทรวงเทากบั 2.5 ตามช้ันดนิ ขางลา งโดยไมค ดิ น้ําหนกั เสาเขม็ รขอสงวนสทิ ธ์ิ หา้ มจาํ หนา่ ยคําตอบ1:23 ตนั วกคาํ ตอบ 2 :53 ตัน 112 ตนั คําตอบ 3 : 132 ตัน าวิศคาํ ตอบ 4 : สภขอ ที่ : 290 ในการตอกเสาเข็มคอนกรีตรูปหนาตดั สเ่ี หลีย่ มขนาด 0.2x0.2 m. ความยาว 5 m. ลงไปในชั้นดนิ เหนยี วออ น ซ่งึ มีคา c = 1.2 T/m^2 และ Angle of Internal Friction = 0 คา สมั ประสิทธิแ์ รงยดึ เกาะ ( Adhesion Factor ) ระหวางผิวคอนกรีตกบั ดนิ เหนยี วออนเทา กับ 1 คา แรงตา นทานที่ผวิ ดานขา งของเสาเขม็ มีคา เทากับเทา ใด คาํ ตอบ 1 : 2.4 ton 134 of 142 คาํ ตอบ 2 : 4.8 ton

คําตอบ 3 : 5.6 ton คาํ ตอบ 4 : 9.6 ton ขอท่ี : 291 ธ์ิ ห้ามจาํ หน่ายคาํ ตอบ1:0.11 m ิทคาํ ตอบ 2 :0.22 m สคาํ ตอบ 3 : 0.33 m งวนคําตอบ 4 :0.67 m สภาวิศวกรขอสขอท่ี : 292 คาํ ตอบ 1 : 0.43 m 135 of 142

คาํ ตอบ 2 : 0.86 m คาํ ตอบ 3 : 0.50 m คําตอบ 4 : 1.00 m ขอ ท่ี : ทิ ธิ์ หา้ มจาํ หน่ายคําตอบ1:293 สคาํ ตอบ 2 : งวนคาํ ตอบ 3 :0.16 m 0.34 m คําตอบ 4 : 0.50 m 1.00 m สภาวิศวกรขอสขอ ที่: 294 136 of 142

้ามจาํ หน่ายคาํ ตอบ1:0.095 m ิ์ หคําตอบ 2 :0.19 m ธคําตอบ 3 :0.25 m ทิคําตอบ 4 :0.50 m สภาวิศวกรขอสงวนสขอท่ี : 295 แทงคน้ําฐานวงกลมมีรศั มี 1 เมตร ฝงอยูใ นช้นั ดินเหนียวลึกลงไป 0.25 เมตร ระดบั น้าํ ใตดนิ อยูท่ฐี านของฐานราก ดินเหนียวมีหนว ยนา้ํ หนักอม่ิ ตวั และหนว ยนา้ํ หนกั ช้ืนเทากบั 20 kN/m^3 และ effective shear strength c = 0, phi = 35 องศา และ Su= 40 kN/m^2 จงหาความสงู ของน้ําในแทง คสงู สดุ ท่เี ปนไปได โดยใชระดบั ความปลอดภยั (factor of safety) 2.5 และไมตอ งคํานงึ ถงึ นาํ้ หนกั ของโ1ค3ร7งสofรา1ง4แ2ทงคนํ้า

อสงวนสทิ ธ์ิ ห้ามจําหน่ายคําตอบ1:10 m รขคาํ ตอบ 2 :20 m วกคาํ ตอบ 3 :27 m 52 m คําตอบ 4 : สภาวิศขอท่ี : 296 แทงคน าํ้ ฐานวงกลมมีรัศมี 1.5 เมตร ฝง อยใู นชั้นดนิ เหนียวลึกลงไป 0.5 เมตร ระดับน้าํ ใตดินอยูท่ีฐานของฐานราก ดินเหนียวมีหนวยนา้ํ หนกั อ่มิ ตวั และหนว ยนาํ้ หนักชื้นเทา กับ 21 kN/m^3 และ effective shear strength c = 0, phi = 35 องศา และ Su= 40 kN/m^2 จงหาความสูงของนา้ํ ในแทงคสูงสุดท่ีเปน ไปได โดยใชระดบั ความปลอดภยั (factor of safety) 2.5 และไมตองคาํ นงึ ถงึ นา้ํ หนกั ของโ1ค3ร8งสofรา1ง4แ2ทง คนาํ้

อสงวนสทิ ธิ์ หา้ มจาํ หน่ายคาํ ตอบ1:13 m รขคําตอบ 2 :35 m วกคาํ ตอบ 3 :34 m 91 m คาํ ตอบ 4 : สภาวศิขอ ที่ : 297 แทง คนาํ้ ฐานวงกลมมีรัศมี 2.0 เมตร ฝง อยูใ นชนั้ ดินเหนยี วลกึ ลงไป 1 เมตร ระดบั นํ้าใตดินอยทู ่ฐี านของฐานราก ดนิ เหนียวมีหนวยนํา้ หนักอมิ่ ตัวและหนว ยนํา้ หนักชืน้ เทา กบั 21 kN/m^3 และ effective shear strength c = 0, phi = 20 องศา และ Su= 15 kN/m^2 จงหาความสงู ของน้ําในแทงคสูงสดุ ทเ่ี ปน ไปได โดยใชร ะดบั ความปลอดภยั (factor of safety) 2.5 และไมตอ งคาํ นึงถงึ นํา้ หนกั ของโครงสรา งแ1ท39งคoนf 1้ํา42

3mอสงวนสทิ ธิ์ ห้ามจําหน่ายคาํ ตอบ1: 6mรขคาํ ตอบ 2 : 9mวกคําตอบ 3 : 12 m คําตอบ 4 : สภาวศิขอ ท่ี : 298 นําตวั อยา งดนิ ลูกรังซึ่งมีคา ถพ. Gs = 2.730 ไปทาํ การทดลอง Modified Proctor Compaction Test ไดคา ความหนาแนนแหงสูงสดุ = 1.868 g/cm^3 โดยใชปริมาณนํา้ ทเี่ หมาะสมที่สดุ OMC = 14.95% ถา สามารถบดอดั จนกระท่ังในชอ งวางระหวา งเมด็ ดนิ ไมม ีฟองอากาศอยูเ ลยโดยใชป ริมาณนาํ้ ที่ OMC นี้ ไดคา ความหนาแนน สูงสุดเทาใด 140 of 142

คําตอบ 1 : 1.868 g/cu.m. คาํ ตอบ 2 : 2.730 g/cu.m. คําตอบ 3 : 1.939 g/cu.m. คาํ ตอบ 4 : 0.732 g/cu.m. ขอ ท่ี : 299 ขอ ที่ : ขอ ที่ : า่ ยในการบดอดั ดินแบบ Modified Proctor ใช Mold ขนาด เสน ผา นศนู ยก ลาง 6 น้วิ สงู 4.584 นิ้ว ตุมนํา้ หนกั ขนาด 10 lb ระยะยกสูง 18 นิ้ว กระแทกลงบนเนอ้ื ดินรวม 5 ช้ัน ชน้ั ละ 56 ครัง้ พลังงานทใี่ ชในการบดอดั ขอท่ี : ดนิ ในรปู ของพลงั งานท่ใี ชใ นการบดอัดดนิ ตอปรมิ าตรของดินท่ีบดอดั มคี า เทากบั เทาไร นคําตอบ 1 : าํ หคาํ ตอบ 2 : คําตอบ 3 : จคาํ ตอบ 4 : 12400 ft-lb/ft^3 24800 ft-lb/ft^3 56000 ft-lb/ft^3 62400 ft-lb/ft^3 ิ์ ห้าม300 ธถา เราเพิม่ พลังงานในการบดอดั คาความหนาแนน แหงสงู สุด (Maximum Dry Density) และคาความชน้ื บดอดั เหมาะสม (Optimum Moisture Content) จะเปลย่ี นแปลงอยางไร ิทคําตอบ 1 : สคาํ ตอบ 2 : งวนคาํ ตอบ 3 : คําตอบ 4 : คาความหนาแนนแหงสงู สุดเพ่มิ ขน้ึ และคาความชน้ื บดอดั เหมาะสมเพิ่มขนึ้ คา ความหนาแนนแหง สูงสดุ เพิม่ ข้นึ และคาความชน้ื บดอัดเหมาะสมลดลง คา ความหนาแนนแหงสูงสดุ ลดลง และคาความชน้ื บดอดั เหมาะสมลดลง คาความหนาแนนแหงสูงสุดลดลง และคา ความชื้นบดอัดเหมาะสมเพ่มิ ขึน้ ส301 รขอจดุ ประสงคหลักของการทดสอบการบดอดั ดินในหอ งทดลองคือ คําตอบ 1 : วกคาํ ตอบ 2 : คําตอบ 3 : าวศิคาํ ตอบ 4 : ความแข็งแรงของดินที่บดอัด ความหนาแนนของดินช้ืนทีป่ ริมาณความชนื้ ตา งๆกัน ความหนาแนน แหง สงู สดุ และความชน้ื ท่เี หมาะสม หาคา ความหนาแนน แหง ของดินเมอ่ื ชองวา งของอากาศเทากบั ศนู ย สภ302 การบดอัดดนิ ทางดานแหง (Dry side) คาํ ตอบ 1 : ควรใชรถบดแบบตนี แกะ (Sheep foot) 141 of 142 คาํ ตอบ 2 : ควรใชรถบดแบบสั่นสะเทือน (Vibrating Roller)

คาํ ตอบ 3 : เมอื่ เพมิ่ พลังงานในการบดอดั ความหนาแนน แหง จะเพ่มิ ขนึ้ คําตอบ 4 : สมั ประสทิ ธิ์ความซมึ ไดข องดนิ จะตา่ํ กวา บดอัดทางดานเปยก สภาวศิ วกรขอสงวนสิทธ์ิ ห้ามจาํ หน่าย 142 of 142


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook