Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SAR_หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 2563

SAR_หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 2563

Published by it.tnsukrabi, 2022-10-21 05:35:38

Description: SAR_หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท่องเที่ยวและนันทนาการ ประจำปีการศึกษา 2563

Search

Read the Text Version

รหสั ชอื่ วชิ า ภาค/ป% 48 จำนวนนักศกึ ษา การศึกษา F I ลงทะเบียน สอบผา> น การกระจายของเกรด ป%1/ภาคปลาย 2562 A B+ B C+ C D+ D 2 2 34 30 สศ 021002 ปลาย/2563 88 2424 2 บทบาท 3 4 8 11 7 0 0 1 2 34 31 พลเมอื ง 66 8610 0 มศ 051058 ปลาย/2563 14 3 7 0 0 0 0 4 5 34 25 หลักการใชM 20 9 2 1 3 0 0 1 11 34 22 ภาษาองั กฤษ 0 6 22 4 1 0 0 1 0 34 33 พล 051327 ปลาย/2563 14 3 2 9 0 0 0 กีฬาทางน้ำ 1 2 34 31 มศ 042014 ปลาย/2563 8 20 9 1 0 0 0 วาทการ 3 5 34 26 นก 021076 ปลาย/2563 39 9524 6 การเปOนผMนู ำ 0 0 34 34 นนั ทนาการ 11 6 14 5 1 1 0 ทท 022018 ปลาย/2563 0 0 38 38 มคั คเุ ทศกH และผูนM ำเท่ียว 0 0 38 38 นก 021077 ปลาย/2563 เกมและการ เปOนผนูM ำเกม ป2% /ภาคปลาย 2563 นก 022074 ปลาย/2563 การละเล>น พืน้ บาM นและ กฬี าไทย มศ 052025 ปลาย/2563 ภาษาอังกฤษ เพอื่ การ ท>องเทีย่ ว นก 012003 ปลาย/2563 การจัด โปรแกรม นันทนาการ วท 112009 ปลาย/2563 13 5 6 9 3 2 0 0 1 38 37 การใชM โปรแกรม สำเรจ็ รปู ใน ชวี ิตประจำวนั

รหสั ชอื่ วชิ า ภาค/ป% 49 FI จำนวนนักศกึ ษา การศกึ ษา 00 ลงทะเบยี น สอบผา> น การกระจายของเกรด นก 022062 ปลาย/2563 A B+ B C+ C D+ D 38 38 การเปนO ผูMนำ 26 8 3 1 0 0 0 38 38 นนั ทนาการ 38 38 ทท 022001 ปลาย/2563 3 0 6 6 6 7 10 0 0 ภูมศิ าสตรHการ 38 38 ทอ> งเทยี่ ว 28 7 3 0 0 0 0 0 0 วท 091005 ปลาย/2563 38 38 คณติ ศาสตรH 0 2 4 7 25 0 0 0 0 และสถิติใน 38 37 ชีวิตประจำวนั 9 6 7 12 4 0 0 0 0 38 38 ป%3/ภาคปลาย 2563 38 38 ทท 003003 ปลาย/2563 26 11 0 0 0 0 0 0 1 สถติ แิ ละการ 19 9 7 3 0 0 0 0 0 วจิ ยั สำหรับ 14 4 13 4 4 0 0 0 0 การทอ> งเทย่ี ว และ นันทนาการ ทท 042003 ปลาย/2563 การจัดและ การบริหาร การท>องเทยี่ ว และ นันทนาการ นก 024075 ปลาย/2563 การจัดการ คา> ยพกั แรม ทท 013003 ปลาย/2563 พฤติกรรม นกั ท>องเท่ียว ทท044002 ปลาย/2563 จิตวทิ ยาการ บริการดMาน การทอ> งเทย่ี ว และ นันทนาการ ทท 023004 ปลาย/2563 16 13 9 0 0 0 0 0 0 38 38 การท>องเที่ยว เชงิ นิเวศ

50 รหสั ชื่อวชิ า ภาค/ป% การกระจายของเกรด จำนวนนักศึกษา การศึกษา A B+ B C+ C D+ D F I ลงทะเบยี น สอบผ>าน มศ 053027 ปลาย/2563 4 6 8 4 17 0 0 0 0 38 38 ภาษาองั กฤษ เพ่อื การนำ ทอ> งเทย่ี ว ป4% /ภาคปลาย 2563 ทท 064003 ปลาย/2563 37 0 0 0 0 0 0 0 0 37 37 การฝกj ประสบการณH วิชาชีพดาM น การทอ> งเทยี่ ว และ นันทนาการ คุณภาพหลักสตู รการเรยี นการสอนและการประเมินผล ตวั บRงชี้ ผลการดำเนนิ งาน สาระของรายวชิ าใน 1. หลกั คิดในการออกแบบหลกั สูตร ขอZ มูลทใี่ ชใZ นการพฒั นาหรือปรบั ปรงุ หลักสูตร หลักสตู รและวตั ถุประสงคVของหลักสูตร (ตวั บง> ชี้ 5.1) เปxาหมายเชิงปริมาณ - อาจารยผH รMู ับผดิ ชอบหลกั สูตร จำนวน 6 คน มีสว> นรว> มในการออกแบบหลกั สูตร เปxาหมายเชิงคณุ ภาพ -หลกั สูตรสามารถออกแบบรายวิชาในหลักสูตรใหเM ปOนไปตามโครงสรMางทห่ี ลกั สตรู กําหนด และเหมาะสมกับการจดั การเรยี นการสอนในหลกั สตู ร l ระบบและกลไก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการ มหาวทิ ยาลัยการกฬี าแห>งชาติ วทิ ยาเขตกระบี่ ดําเนนิ การออกแบบหลักสตู รรว> มกับ สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการส>วนกลาง โดยมกี ารดําเนินการสํารวจความ ตอM งการของผูMใชหM ลกั สตู ร ความตอM งการของตลาดแรงงาน เกณฑHการจดั ทาํ หลักสูตร การแตง> ตงั้ คณะกรรมการจัดทาํ หลกั สตู ร เชญิ ผูทM รงคุณวุฒิวิพากษHหลกั สตู ร นําเสนอ สภาวชิ าการเห็นชอบ สภามหาวิทยาลยั การกีฬาแหง> ชาตอิ นุมัติ เสนอ สกอ. เผยแพร> ไปยงั วทิ ยาเขต ซง่ึ หลกั สูตรไดMมีส>วนร>วมในการออกแบบหลักสูตร โดยนําหลักสูตรท่ี ไดMรับการอนุมัติแลMว ไปวางแผนการจัดการเรียนการสอนใหMมีประสิทธิภาพ สอดคลMองกับความกMาวหนMาทางวิชาการและความตMองการของผMใู ชMบัณฑิต ผลลัพธH การเรยี นรMขู องผMูเรียนตรงกบั ผลลพั ธHการเรียนรทMู ี่กาํ หนดในรายวชิ าและหลกั สตู ร การ จดั การเรยี นการสอนครอบคลุมเนอ้ื หาท่ีกําหนดในรายวิชาครบถMวน การเปดá รายวชิ า

51 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน เปOนไปตามขMอกําหนดของหลักสูตร ตอบสนองความตMองการของนักศึกษาเพื่อใหM นกั ศึกษาสําเรจ็ การศึกษาภายในเวลาทกี่ ําหนดของหลกั สูตร นอกจากนหี้ ลกั สตู รไดมM ี การสํารวจตลาดแรงงาน การระดมความคิดจากอาจารยผH สูM อน สอบถามจากศษิ ยเH กา> และจากผMูใชMบัณฑิต เพ่ือใหMไดMขMอมูลท่ีเปOนประโยชนHต>อการปรับปรุงรายวิชาใน หลักสูตรใหMทันสมัยและสอดคลอM งกับความตMองการของนักศึกษาและผใูM ชMบณั ฑติ ซึ่ง ปeจจบุ ันสังคมใหคM วามสําคญั ดMานการทอ> งเทยี่ วโดยผสมผสานกับกิจกรรมนันทนาการ มากข้ึน ท้ังการท>องเท่ียวเพ่ือสุขภาพ การจัดกิจกรรมกล>ุมเพ่ือสรMางความสามัคคี และการท>องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม การทอ> งเทยี่ วท่ีส>งเสริมรายไดใM นชุมชน เพ่ือส>งเสริม บุคคลทางดMานร>างกาย จิตใจ อารมณH สังคม คุณธรรมจริยธรรม และสตปิ eญญาใหM เหมาะสมกบั ประเภทและบรบิ ทของนกั ทอ> งเทีย่ ว รวมถึงการยกระดับคุณภาพในการ จัดการศึกษาโดยการพัฒนาหลักสูตรใหMทันสมัย และสามารถนํามาประยุกตHใหM เหมาะสมกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรม ดMวยเหตุน้ีการเพิ่มประสิทธิภาพของ บุคลากรดMานการท>องเที่ยว จงึ เปOนสิ่งสาํ คัญที่คณะกรรมการหลกั สูตรฯ ไดMตระหนัก ถึงการพฒั นาหลักสตู รใหMสอดคลอM งกบั วสิ ัยทัศนHเชงิ นโยบายการพฒั นาเศรษฐกจิ l การนำระบบและกลไกสRูการปฏิบัติ ในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเท่ียว และนัทนาการ นําหลักสูตร 2560 ที่ไดMรับการปรับปรุงในป%การศึกษา 2556 ไป วางแผนในการจัดการเรียนการสอนใหMมีประสิทธิภาพ สอดคลMองกบั ความกMาวหนMา ทางวิชาการและความตMองการของผใูM ชบM ัณฑติ ผลลัพธกH ารเรียนรMขู องผูเM รียนตรงกับ ผลลัพธHการเรียนรทูM ี่กําหนดในรายวิชา หลักสูตรไดMกาํ หนดการจัดการเรียนการสอน ครอบคลุมเนื้อหาที่กําหนดในรายวิชาครบถMวน การเปáดรายวิชาเปOนไปตาม ขอM กําหนดของหลักสูตร ตอบสนองตามความตMองการของนักศึกษาเพื่อใหนM ักศึกษา สําเรจ็ ไดMทันตามเวลาท่กี าํ หนดในหลกั สตู ร ในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเท่ียว และนัทนาการไดMจัดประชุมเพ่ือวิเคราะหHการใชMหลักสูตรใหม>ที่ใชMมาครบ 3 ป% การศึกษาแลMวน้ัน เพอื่ ไดรM >วมกันแสดงความคิดเห็นในการเลือกรายวิชาที่เหมาะสม สอดคลMองกับบริบทของวิทยาเขต ตอบรับต>อตลาดแรงงานในปeจจุบัน และใชMเปOน แนวทางในการพัฒนาหลักสตู รทสี่ มบูรณแH ละพรอM มใชใM นป%การศึกษา 2564 (KB-ART- bTR-5-5.1-1-1) l การประเมินกระบวนการ จากการประเมินกระบวนการโดยคณะกรรมการผMูรับผดิ ชอบหลักสูตรประชุม ทบทวนกระบวนการในการดําเนนิ การออกแบบหลกั สูตร ฉบับปรบั ปรงุ 2560 พบว>า หลักสูตรมีการดําเนินการเปนO ไปตามระบบและกลไกที่ไดวM างไวM และบรรลุเปาk หมาย ในเชิงปริมาณคือ อาจารยHผูMรับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 6 ท>าน มีส>วนร>วมในการ

52 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน ออกแบบหลักสูตร และเปkาหมายในเชิงคุณภาพ คือ หลักสูตรสามารถออกแบบ รายวชิ า ในหลักสูตรใหMเปOนไปตามโครงสรMางท่ีกําหนด และเหมาะสมกับการจดั การ เรียนการสอนในหลกั สูตร โดยหลักสตู รไดทM าํ การประเมินความพึงพอใจของนักศกึ ษา ปส% ุดทMาย/ บัณฑิตใหม>ท่มี ีต>อคุณภาพหลักสตู ร ในภาพรวมนักศึกษามีความพงึ พอใจ ในระดับมาก (ค>าเฉล่ีย 4.12) ซึ่งคณะกรรมการผMูรับผิดชอบหลักสูตรไดMนําผลการ สํารวจมาประชุมทบทวนกระบวนการออกแบบหลักสูตร และปรับปรุงสาระของ หลกั สูตร โดยพบประเด็นที่นักศึกษามีความพึงพอใจนMอยที่สุด คือ วิชาเรียนหมวด เลือกเสรี เหมาะสมสอดคลMองกับความตMองการ ในระดบั ปานกลาง (ค>าเฉล่ยี 3.73) (KB-ART- bTR-5-5.1-1-2) l ปรับปรุง/พัฒนาเพอ่ื ไดแZ นวทางปฏิบตั ทิ ่ีชดั เจน จากผลการประเมนิ กระบวนการ คณะกรรมการผMูรบั ผดิ ชอบหลักสูตรไดMนําผลท่ี ไดMจากการสํารวจความพึงพอใจของนักศึกษาช้ันป%สุดทMายท่ีมีต>อคุณภาพหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเท่ียวและนันทนาการ มาวางแผนในการ ออกแบบหลักสูตร และจัดแผนการเรียนการสอนใหMเหมาะสมและสอดคลMอง กับ ความตMองการของผMูใชบM ณั ฑิตและสอดคลMองกบั สภาพแวดลMอม สังคม เศรษฐกิจ และ นํามาเปOนขMอมูลท่ีใชMในการพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตรและวัตถุประสงคHของ หลักสูตร โดยใหMความสําคัญกับกระบวนการออกแบบรายวิชา การเลือกรายวชิ าใน หมวดเลือกเสรใี หMเหมาะสม และสอดคลMองกบั ความตMองการของบัณฑิตใหMเปOนผMูนำ เท่ียวและนักนันทนาการท่ีสามารถปฏิบัติงานไดMอย>างมีประสิทธิภาพในป%การศึกษา 2564 ต>อไป 2. การปรบั ปรงุ หลักสตู รใหทZ ันสมยั ตามความกาZ วหนZาในศาสตรสV าขาวิชานนั้ ๆ เปxาหมายเชงิ ปริมาณ - ในหลกั สตู รมีวชิ ามากกวา> 1 รายวิชา มกี ารนาํ เสนอองคHความรูใM หมใ> นศาสตรสH าขา ท่เี กี่ยวขMอง เปาx หมายเชงิ คณุ ภาพ - หลักสตู รจะตอM งมกี ารดาํ เนนิ การปรับปรุงเน้อื หาในรายวชิ าใหเM กดิ ความทนั สมยั กMาวหนMาตามวิทยาการใหม> ๆ ทท่ี ําใหMนักศึกษาเกดิ องคHความรูใM หมแ> ละเปOนประโยชนH l ระบบและกลไก ในการดําเนินงานการปรับปรงุ หลักสูตรไดมM กี ารดําเนินงานตามระบบและกลไก รว> มกบั มหาวิทยาลัยการกฬี าแหง> ชาตติ ามรอบระยะเวลาของการปรับปรุงหลกั สตู ร โดยไดMมีการแต>งตั้งคณะกรรมการปรบั ปรุงหลักสูตร ยกร>างหลักสูตรฉบับปรับปรุง เชิญผMูทรงคุณวุฒิภายนอกมาร>วมวิพากษH และปรับปรุงตามขMอเสนอแนะของ ผMูทรงคุณวุฒิ เสนอหลักสูตรฉบับปรับปรุงผ>านสภาวิชาการเห็นชอบ สภา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห>งชาติอนุมัติ และนําส>ง สกอ. เผยแพร>ไปยังวิทยาเขต โดย

53 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน หลักสูตรไดMมีส>วนร>วมในการปรับปรุงหลักสูตรโดยการรวบรวมขMอมูลเสนอแนะ การปรับปรุงหลักสูตรสง> ใหMมหาวิทยาลัยการกฬี าแหง> ชาติ โดยดูผลการจดั การเรียน การสอนตามหลกั สตู รทีจ่ ัดการเรยี นการสอน ในแตล> ะป%การศึกษา หลังจากนั้นในแต> ละป%การศึกษา หลักสูตรจะมีการประชุมเพ่ือปรึกษาหาขMอสรุปเก่ียวกับเนื้อหา เพ่ิมเติมในแต>ละรายวิชา นวตั กรรม หรืองานวิจัยท่ีแปลกใหมเ> พอ่ื ใหMนักศึกษาไดMรับ ความรูทM ่ที นั ตอ> การเปลี่ยนแปลงของโลก l การนำระบบและกลไกสRูการปฏบิ ตั ิ การดําเนินงานในป%การศึกษา 2563 ไดMมีการใชMหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ซึ่งเปOนการ ปรบั ปรงุ มาจากหลักสูตร ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2556 โดยคณะกรรมการผMูรบั ผดิ ชอบ หลักสตู รไดรM >วมกันวเิ คราะหHและออกแบบในการจัดการเรียนการสอนในหลกั สูตรใหM มีความทันสมัยตามความกMาวหนMาในศาสตรHสาขาวิชา ซ่ึงสามารถสรุปในประเด็น ต>อไปน้ี 1. สถานการณHหรือการพัฒนาทางสังคมปeจจุบันการใหMความสําคัญดMานการ ท>องเท่ียวเชิงสุขภาพมากขึ้น ท้ังการส>งเสริมจัดการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนควบค>ูไปกับการท>องเที่ยว เพื่อสรMางความแข็งแรง สนุกสนาน เพลิดเพลนิ ทงั้ ทางรา> งกายและจิตใจ ใหMกบั ประชากรของประเทศ 2. สถานการณHหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รัฐบาลไดMกําหนดใหMการส>งเสริม ดMานการท>องเที่ยว การลดปeจจัยเสี่ยงดMานการท>องเท่ียวอย>างเปOนองคHรวม เปOน ยุทธศาสตรใH นการพฒั นาคนเพ่ือพัฒนาประเทศ และเปนO การเตรียมความพรMอมดาM น บุคลากรของชาติ ส>ูตลาดแรงงานของประชาคมอาเซียน มหาวิทยาลัยการกีฬา แห>งชาติจึงจําเปOนตMองดําเนินการปรับปรุงหลักสูตรใหMสอดคลMองกับสภาวะที่ เปลยี่ นแปลง 3. การพฒั นาหลักสตู ร มคี วามจาํ เปOนตMองพัฒนาหลักสูตรเชงิ รุกที่มีศักยภาพใน การผลิตบุคลากรดMานการท>องเที่ยวและนันทนาการ เพื่อตอบสนองความตMองการ ดMานกาํ ลังคนท่ีมคี วามรคูM วามสามารถทางศาตรHการทอ> งเทยี่ วและนันทนาการ 4. การพัฒนาศกั ยภาพนกั ศึกษาใหสM อดคลอM งกบั นโยบายของรัฐบาล ซง่ึ กําหนด ประเทศไทย 4.0 และศตวรรษที่ 21 เพ่อื ใหMเปOนบณั ฑิตท่ีเปนO คนดี มีคุณธรรม จากการพัฒนาเปOนหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและ นันทนาการ ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรไดMมีการ ดาํ เนินการตามระบบและกลไกในการปรับปรงุ หลกั สตู รใหทM นั สมัยตามความกMาวหนาM ของศาสตรHสาขาวชิ าการทอ> งเทยี่ วและนันทนาการ พบว>าจากการเปลี่ยนแปลงสาระ รายวชิ าในหลักสตู รใหMมีความทันสมยั ตอ> บริบทของวชิ าชีพในปeจจุบนั คณะกรรมการ ผMูรับผิดชอบหลักสูตรตMองทําการปรับปรุงแผนการเรียนใหMสอดคลMองกับหลักสูตร

54 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน รวมถึงอาจารยผH Mูสอนในแต>ละรายวชิ าจะตอM งมีการพัฒนานกั ศึกษาใหMเกิดองคHความรMู ใหม> ๆ โดยการนํางานวจิ ัยมาเปนO กรณศี ึกษา หรอื มอบหมายงานใหMนักศกึ ษาคMนควMา ความรMูเพิ่มเติมจากแหลง> ขMอมูลท่ีเช่ือถือไดM เช>น วิชาการท>องเทยี่ วเชิงนเิ วศไดMมีการ เพิ่มเนื้อหาการท>องเทยี่ วอยา> งยง่ั ยนื โดยการใหMชุมชนมสี >วนรว> ม ซงึ่ เปOนการท>องเทยี่ ว ที่กาํ ลงั ไดรM บั ความนยิ มในปจe จุบนั เพอ่ื ใหนM กั ศึกษาไดรM บั องคHความรMูทางการท>องเที่ยว ต>อการเปล่ียนแปลงทางสังคม และวิชาการจัดการส>วนหนMาโรงแรมที่ไดMมีการเพ่ิม ทักษะการปฏิบัติดMานโปรแกรมการใชMงานส>วนหนMาท่ีทันสมัยและกำลังไดMรับความ นิยม และมีการจัดการเรียนการสอนในสถานประกอบการจริง โดยไดMรับความ อนุเคราะหHจาก LaRio Hotel เปOนสถานที่ฝjกปฏิบัติการจริง เพื่อผลิตบัณฑิตใหMมี ทกั ษะทางวชิ าชีพท่ีทนั สมยั เปนO ไปตามความตอM งการของตลาดแรงงาน (KB-ART- bTR-5-5.1-1-3) (KB-ART- bTR-5-5.1-1-4) (KB-ART- bTR-5-5.1-1-5) l การประเมนิ กระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รไดMมีการประชุมวางแผนตรวจสอบแผนการเรียน ท่ีกําหนดไวMจากคําสั่งผูMสอนรายวิชาและตารางสอนรายวิชาของป%การศึกษา 2563 พบว>า ตารางสอนและแผนการเรยี นเปOนไปตามนโยบายทคี่ ณะกรรมการ กําหนดไวM อีกท้ังในการประชุมอาจารยHประจําคณะไดMสอบถามไปยังอาจารยHผMูสอนใน แต>ละ รายวิชา พบว>า ในแต>ละรายวิชามีกระบวนการมอบหมายงานใหMนักศึกษา คMนควMา แนวคิด ทฤษฎี องคHความรMูใหม> ๆ เพื่อนํามาอภิปรายร>วมกันในช้ันเรียน ซ่ึง เมื่อ ประเมินตามความสําเร็จ พบว>า หลักสูตรบรรุลุผลสําเร็จทั้งในเชิงปริมาณและ คุณภาพ ซึ่งในเชิงคุณภาพ หลักสูตรมีการดําเนินการปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาใน หลักสูตรใหMเกิดความทนั สมยั กMาวหนMาตามวทิ ยาการใหม> ๆ ที่ทําใหMนกั ศึกษาเกิดองคH ความรูMใหมแ> ละเปOนประโยชนH ในสว> นเปkาหมายเชงิ ปริมาณ หลักสูตรมวี ชิ ามากกว>า 1 รายวิชาที่มีการนําเสนอหลักการ ทฤษฎี หรือองคHความรMูใหม>ในศาสตรHสาขาท่ี เกย่ี วขอM ง l ปรบั ปรงุ /พฒั นาเพอ่ื ไดแZ นวทางปฏบิ ัติท่ีชดั เจน จากผลการดาํ เนนิ งานในการปรับปรุงหลกั สูตรถือไดMว>าหลกั สูตรไดมM กี ารกาํ กับ ติดตาม กระบวนการเรียนการสอนของอาจารยHผMูสอนภายในหลักสูตร ใหMมีการ ปรับปรงุ เนือ้ หาการสอนใหเM ปOนไปอย>างทนั สมัยกาM วหนMาในศาสตรHสาขาวชิ าไดอM ยา> งดี ซงึ่ จากการประชุมผMูรบั ผดิ ชอบหลักสตู รเห็นควรวา> ในป%การศกึ ษา 2564 หลกั สูตรจะ ยงั คงมีการกํากับติดตาม และควรตMองจัดกิจกรรมหรือโครงการเสริมหลักสูตรเพ่ือ พฒั นานกั ศกึ ษาใหมM คี วามรแMู ละทักษะทมี่ คี วามทันสมยั นอกจากนีห้ ลกั สตู รยังเห็นว>า การพัฒนาตนเองของอาจารยผH ูMสอนก็เปOนอกี ปeจจัยท่ีชว> ยใหMอาจารยHผูMสอนมคี วามรูM ใหม> กาM วทนั ต>อองคHความรูMใหม>ทเี่ กิดขึ้นอยู>ตลอดเวลา เพอ่ื ไดMนํามาพัฒนานักศึกษา ใหMพฒั นาอยา> งมคี ุณภาพสอดคลอM งกบั ความตMองการของตลาดแรงงานอยา> งต>อเน่ือง

55 ตวั บงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน การวางระบบผสูM อนและ 1.การกำหนดผูสZ อน กระบวนการจัดการ เปาx หมายเชิงปริมาณ เรยี นการสอน - หลกั สตู รมีการกําหนดผสMู อนจำนวน 19 คน ครบตามจํานวนรายวิชาทีเ่ ปดá สอน (ตวั บง> ชี้ 5.2) จำนวน 51 รายวชิ า เปxาหมายเชิงคณุ ภาพ - ผMสู อนในหลักสตู รจะตMองมีคุณวฒุ ิระดบั ปริญญาโท หรอื ดาํ รงตาํ แหนง> ทางวิชาการ ไม>นMอยกวา> ผชMู ว> ยศาสตราจารยH ในสาขาวิชาท่ีตรงหรือสมั พนั ธHกับสาขาวิชาท่ีเปดá สอน l ระบบและกลไก จากการพิจารณากระบวนการกําหนดผMูสอนในป%การศึกษา 2562 ที่ผ>านมา พบวา> การจัดผสMู อนในบางรายวิชาไม>ตรงกับประสบการณHสอนของอาจารยH ดังนนั้ ใน ป%การศึกษา 2563 คณะกรรมการหลักสูตรร>วมกับคณะไดMดําเนินการตรวจสอบ แผนการเรียนของนักศกึ ษาทงั้ หลกั สตู รนํามาตรวจสอบเนอื้ หา คําอธิบายรายวชิ าของ แต>ละวิชาเพื่อนาํ มาประชุมวางแผนการกําหนดตัวผMูสอนใหMสอดคลMองกับรายวชิ า ทั้ง คณุ วุฒิ ประสบการณH และความเชี่ยวชาญในการสอน โดยคณะกรรมการหลักสูตร รว> มกับคณะและฝ¶ายวิชาการดําเนินการกําหนดผMูสอนตามระบบและกลไกการวาง ระบบผูMสอน โดยคณะกรรมการผMูรบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ตรวจสอบประสบการณH ความ เชยี่ วชาญของอาจารยHผMูสอน กําหนดเกณฑHการจดั ระบบผสูM อน ดาํ เนนิ การจัดผMูสอน ทั้งวิชาเฉพาะดMานและรายวิชาหมวดศึกษาทั่วไป กําหนดแนวปฏิบัติในการจัดทํา มคอ.3 - มคอ.6 จัดระบบการกํากับติดตามในการจัดทํา มคอ.3 - มคอ.6 มีการ ประเมินการสอนของอาจารยHผMูสอน รายงานผลการประเมิน และนาํ ผลการประเมิน มาใชMเพ่ือพัฒนาระบบผูMสอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยจากการ พิจารณากระบวนการกําหนดผูMสอนในป%การศึกษา 2562 ที่ผ>านมาพบว>า อาจารยH ประจำหลักสูตรตรงตามรายวิชา แตอ> าจารยHผMูสอนในบางรายวชิ าขาดคุณสมบัติใน การต>อสญั ญาจMาง l การนำระบบและกลไกสกRู ารปฏบิ ตั ิ ในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรไดMมีการประชุมคณะกรรมการผูMรับผิดชอบ หลกั สตู ร เพือ่ จัดอาจารยHผMูสอนรายวิชาตา> ง ๆ ในสาขาวิชาตามความเหมาะสม ความ เช่ียวชาญ ประสบการณHของอาจารยHแต>ละคน โดยพิจารณาตามแผนการเรียนท้ัง หลักสูตรว>ามีรายวิชาอะไรบMาง หลักสูตรสามารถเปáดรายวิชาสําหรับนักศึกษาใน รายวิชาเลอื กเสรไี ดMในวิชาใดบMาง เพ่ือพิจารณาตามความเหมาะสมของอาจารยผH Mสู อน ในหลักสูตร นอกจากนี้ยังไดMร>วมกันพิจารณากําหนดชั่วโมงการสอนของอาจารยH ผูMสอนแต>ละคน ไม>ใหMเกินภาระงานขั้นต่ำตามท่ีมหาวิทยาลัยกําหนด รวมถึงมีการ ประชุมร>วมกับฝ¶ายวิชาการวิทยาเขตในการกําหนดอาจารยHผูMสอนในรายวชิ าหมวด ศกึ ษาทั่วไปท่ีมีคณุ วุฒิ ความเช่ียวชาญ และมปี ระสบการณH ในการสอนในรายวิชาท่ี

56 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน หลักสูตรไดกM าํ หนด โดยในป%การศึกษา 2563 ไดมM ีการจดั สรรอาจารยHผูสM อนท่มี คี วาม เช่ียวชาญเหมาะสม เพ่ิมเติมในรายวิชา ภาษาไทย เพื่อตอบรับต>อกระบวนการใน การกาํ หนดผMูสอนอยา> งเหมาะสม (KB-ART- bTR-5-5.2-1-1) (KB-ART- bTR-5-5.2- 1-2) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-3) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-4) เม่ือหลักสูตรร>วมกับฝ¶ายวิชาการมีการกําหนดวิชาเรียนและผูMสอนแลMว จะ ร>วมกันจดั ตารางสอน รวมถึงจัดภาระงานของอาจารยHผูMสอน ไม>ใหMเกิดภาระงาน สอน ท่ีมากเกินไป และหลักสูตรจะมีการสอบถามจากอาจารยHผูMสอนถงึ ความพรอM ม ในการสอนในรายวิชาต>าง ๆ จากน้ันอาจารยHผMูรับผิดชอบหลักสูตรไดMเชิญอาจารยH ผูMสอนมาพูดคุยและแนะนําการทาํ มคอ. 3 - มคอ.6 ใหMครอบคลุมตามผลการเรยี นรูM ของนักศึกษาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห>งชาติ โดยมีการ กาํ หนดการบูรณาการเรียนการสอนกบั งานวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เพ่ือใหMเปOนไปตามเกณฑHกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดบั อุดมศกึ ษา l การประเมนิ กระบวนการ จากการประเมินกระบวนการดาM นการกาํ หนดผสMู อนดMวยการตรวจสอบและ ทบทวนการจัดตารางสอนและตารางเรียนพบว>า การดําเนินงานดังกล>าวมีการ ดาํ เนินงานตามวงจร PDCA โดยหลักสูตรมีกระบวนการในการดําเนินงานท่ีเปOนไป ตามเปาk หมายที่หลักสูตรไดกM ําหนดไวMในเชงิ คุณภาพ คือ หลักสูตรมีอาจารยHผูMสอนทม่ี ี ความรูM มีประสบการณH และความเชี่ยวชาญในรายวิชาที่เปáดสอน ส>วนเชิงปริมาณ พบว>า หลักสูตรสามารถจัดผูMสอนไดคM รบทุกรายวิชาในแผนการเรียนตามท่ีหลักสูตร ไดกM ําหนดไวM นอกจากนห้ี ลกั สูตรไดปM ระเมนิ การสอนของอาจารยH พบว>า ในภาคตนM มี คา> เฉลย่ี 4.34 และภาคปลาย มีคา> เฉลี่ย 4.28 ซึง่ อย>ูในระดับดีทั้ง สองภาคการศึกษา (KB-ART- bTR-5-5.2-1-5) l ปรบั ปรงุ /พัฒนาเพอื่ ไดแZ นวทางปฏิบัตทิ ีช่ ัดเจน จากผลการดําเนินงานในการกําหนดผMูสอนถือไดMว>าหลักสูตรไดMมีการวาง แผนการดําเนินงานที่ส>งผลใหMเปOนไปตามเปkาหมายที่หลักสูตรไดMกําหนดไวM จึงเห็น ควรว>า ควรมีการทบทวนแผนการเรียนตลอดหลักสูตรในทุกป%การศึกษา เพื่อ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรและวิชาการคณะไดMร>วมกันกําหนดผMูสอนท่ีมีความ เหมาะสมในแตล> ะรายวชิ า และในป%การศึกษา 2564 หลกั สูตรจะยงั คงมีวางแผนการ ดําเนนิ งานในการกาํ หนดผสMู อนรว> มกับคณะ และวิทยาเขตเพอื่ ใหMไดอM าจารยHผูMสอนท่ี มีความเชี่ยวชาญในรายวิชาที่เปáดสอน และ กําหนดภาระงานใหMอาจารยHผูMสอนไดM อย>างเหมาะสม นอกจากน้ีหลักสูตรยังคํานึงถึงการพัฒนาความรูMของอาจารยH ผรMู ับผดิ ชอบรายวิชาเพ่ือเพ่มิ ความเช่ียวชาญและประสบการณทH ่เี ปนO ประโยชนตH >อการ จัดการเรียนการสอน

57 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน 2.การกำกับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรูZ (มคอ. 3 และ มคอ. 4) การจัดการเรียนการสอน เปาx หมายเชิงปรมิ าณ - มีจํานวน มคอ.3และ มคอ.4 ครบทกุ รายวิชาจำนวน 51 รายวชิ า ท่ีจดั การเรียนใน ป%การศึกษา 2563 เปxาหมายเชิงคณุ ภาพ - คุณภาพของ มคอ.3และ มคอ.4 เปนO ไปตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ ระดบั อุดมศึกษาแหง> ชาติ (TQF) และเปOนไปตามมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2561 (มาตรฐานที่ 1 ดาM นผลลพั ธHผูMเรียน) l ระบบและกลไก หลักสูตรศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการ มีระบบ และกลไกในการกาํ กับติดตามและตรวจสอบการจัดทําแผนการเรยี นรูM มคอ.3 และ มคอ.4 การจัดการเรยี นการสอน โดยคณะกรรมการผรMู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร ตรวจสอบ และทําการประเมิน มคอ.3 และ มคอ.4 กําหนดเกณฑHการจัดระบบผMูสอน ดําเนินการจัดผูMสอน กําหนดแนวปฏิบัติในการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 จัดระบบ การกาํ กับ ติดตามในการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 มกี ารประเมนิ ผล รายงานผลการ ประเมิน และนําผลการประเมินมาใชMเพื่อพัฒนาระบบการจัดทําแผนการเรียนรMู มคอ.3 และการจดั การเรยี นการสอน มคอ.4 หลักสตู รมกี ารทบทวนแผนการดําเนินงาน และกาํ หนดรูปแบบการกาํ กบั ตดิ ตาม และตรวจสอบ มคอ.3 และ มคอ.4 ใหMมีความชัดเจนย่ิงข้ึน โดยจากการประชุม คณะกรรมการบริหารหลักสูตรไดMมีการกําหนดวันเวลาใหMคณะกรรมผูMรับผิดชอบ หลักสตู รร>วมตรวจสอบคุณภาพของ มคอ.3 และ มคอ.4 ใหMเปนO ไปตามการกําหนด จุดมุ>งหมาย วัตถุประสงคH ผลการเรยี นรูMของนักศึกษาใหMสอดคลMองกับ มคอ.2 และ เปOนไปในแนวทางเดียวกนั นอกจากน้ีจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับหลักสูตรในป%การศึกษา 2561 (ก>อนการเกิดโรคระบาด Covid-19) คณะกรรมการประเมินไดใM หMขMอเสนอแนะ ว>า ควรมีการตรวจสอบการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 ใหMสอดคลMองกับกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห>งชาติ (TQF) และเปOนไปตามมาตรฐานการ อุดมศึกษา พ.ศ. 2561 (มาตรฐานที่ 1 ดาM นผลลพั ธH ผMูเรียน) l การนำระบบและกลไกสูกR ารปฏบิ ัติ ในภาคตMนป%การศึกษา 2563 หลักสูตรประชุมหารอื ร>วมกับคณะเพื่อทําความ เขาM ใจรว> มกนั เกยี่ วกบั แนวทางการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 ซ่งึ ช้ีแจงอาจารยHประจาํ คณะในประเด็นความสอดคลMองของผลลัพธHการเรียนรูMตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 กับผลลัพธHผูMเรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 เพื่อใหMอาจารยHประจําคณะไดMรับความรูM ความเขMาใจเกี่ยวกับผลลัพธHผMูเรียน

58 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน ตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2561 และ นํามาประยกุ ตHใชMในการจดั ทาํ มคอ.3 และ มคอ.4 ไดอM ย>างเหมาะสม และหลกั สูตร ไดMแจงM กาํ หนดการสง> มคอ.3 และมคอ. 4 มีการแต>งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพของ มคอ.3 และ มคอ.4 ในแต>ละ รายวิชา ซ่ึงจากการประเมินคุณภาพของ มคอ.3 และ มคอ.4 พบว>า เชิงปริมาณ อาจารยHผสMู อนไดMส>ง มคอ.3 และ มคอ.4 ครบตามรายวิชาจำนวน 51 รายวิชา ที่มี การจัดการเรียนการสอน ดMานเชิงคุณภาพ มคอ.3 และ มคอ.4 เปOนไปตามกรอบ มาตรฐานผลการเรียนรMูระดับอุดมศึกษา และผลลัพธHผMูเรียนตามมาตรฐานการ อดุ มศึกษา พ.ศ. 2561 l การประเมินกระบวนการ หลักสูตรไดมM กี ารดาํ เนินการตามระบบและกลไกการกํากับติดตามและ ตรวจสอบการจัดทําแผนการเรียนรMู (มคอ.3 และ มคอ.4.) ตามลําดับดMวยแบบ ตรวจสอบคุณภาพรายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3 และ มคอ.4.) เม่ือพบ ขอM ผิดพลาดของ มคอ. 3 และมคอ.4 คณะกรรมการประจําหลักสูตรจะดําเนินการ แจMงกลับไปยังผMูสอนเพอื่ แกMไขใหMถกู ตอM งตอ> ไป จากการทบทวนระบบและกลไกการกํากับติดตามและตรวจสอบการจัดทํา แผนการเรียนรMู (มคอ.3 และ มคอ.4) โดยคณะกรรมการผMูรับผดิ ชอบหลักสูตรไดMมี การ ประชุม เพื่อทบทวนผลของการดําเนินงานตามระบบและกลไกขาM งตMน พบว>า ใน ภาค ตนM ป%การศกึ ษา 2563 มีจาํ นวน มคอ. 3 และ มคอ.4 ครบทุกรายวิชาทจ่ี ัดการ เรยี นการสอนในหลกั สูตร แต>พบว>าแบบตรวจสอบคณุ ภาพรายละเอียดของรายวชิ า (มคอ. 3 และ มคอ.4) มีการระบกุ ารตรวจสอบความสอดคลอM งของผลลัพธกH ารเรยี นรูM ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 กับผลลัพธHผูMเรียนตาม มาตรฐานการ อุดมศกึ ษา พ.ศ. 2563 ไม>ถูกตMองทาํ ใหMไม>เปนO ไปตามเกณฑH มคอ.2 จึง แจงM ใหปM รบั ปรงุ แกไM ขใหMถูกตอM ง (KB-ART- bTR-5-5.2-1-6) (KB-ART- bTR-5-5.2-1- 7) l ปรบั ปรงุ /พัฒนาเพอ่ื ไดZแนวทางปฏบิ ัตทิ ีช่ ัดเจน ในภาคปลาย ป%การศกึ ษา 2563 หลกั สูตรไดมM ีการปรับปรงุ แบบตรวจสอบ คุณภาพรายละเอียดของรายวิชา (มคอ. 3 และ มคอ.4) โดยไดMเพ่ิมหัวขMอการ ตรวจสอบความ สอดคลMองของผลลัพธHการเรียนรMูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552 กับผลลัพธHผMูเรียนตามมาตรฐานการอุดมศึกษา พ.ศ. 2563 ซ่ึงช>วยใหMคณะกรรมการผMูรับผิดชอบหลักสูตรตรวจสอบความถูกตMองของ มคอ. 3 และ มคอ.4 ไดMง>ายมากขน้ึ จากการดําเนินการแกMไขเพ่ิมเติมดังกล>าวหลักสูตรไดMประชุมเก่ียวกับการ ดาํ เนินงานดMานการกาํ กบั ตดิ ตาม มคอ.3 และ มคอ. 4 พบวา> การดาํ เนินงานดงั กลา> ว มีการดําเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA อีกทั้งหลักสูตรมีกระบวนการในการ ดําเนินงานท่ีเปOนไปตามเปkาหมายท่ีหลักสูตรไดMกําหนดไวM ทั้งในเชิงคุณภาพ คือ อาจารยHผสูM อนไดMเขาM ใจในหลกั การทํา มคอ.3 และ มคอ.4 มากขึ้นและสามารถ จัดทํา

59 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน ไดMครอบคลุมตามผลการเรียนรูMของนักศึกษาตามกรอบ TQF และมาตรฐานการ อุดมศึกษา ส>วนเชิงปริมาณ มี มคอ.3 และ มคอ.4 ครบทุกรายวิชาท่ีเปáดสอนในป% การศึกษา 2563 ซ่ึงหลักสตู รไดMมีการวางแผนการดาํ เนินงานว>าในป% 2564 จะมีการ กํากับติดตามการจัดทํา มคอ.3 และ มคอ.4 ของทุกรายวิชาท่ีเปáดสอนใหMมีความ ถูกตMองและเปOนไปตามผลการเรียนรูMของนักศึกษาตามกรอบ TQF นอกจากน้ัน หลักสตู รยังไดเM ลง็ เหน็ ถึงความสาํ คัญของมาตรฐานการอุดมศึกษา จงึ ไดมM ีความเห็นว>า ในป%การศึกษา 2564 ควรมีการปรบั เน้อื หา รายวิชา กิจกรรมการเรียนการสอน การ วดั และประเมนิ ผลของผเMู รยี นใหมM คี วาม สอดคลMองกบั มาตรฐานผลลพั ธผH Mูเรียนมากขนึ้ (KB-ART- bTR-5-5.2-1-8) 3.การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีทม่ี ีการบูรณาการกับการวิจัย การ บริการวชิ าการทางสังคม และการทำนุบำรงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม เปาx หมายเชงิ ปรมิ าณ - หลกั สูตรมกี ารบรู ณาการกับการวิจัย การบรกิ ารวิชาการทางสังคม และการทาํ นุ บาํ รงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม ใหกM บั นักศกึ ษาไดคM รบทั้ง 3 ดาM น เปxาหมายเชงิ คณุ ภาพ - นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายและเขMาใจในหลักการการทําวจิ ยั มีการนาํ ความรทูM าง ศาสตรHดMานการทอ> งเทย่ี วและศาสตรดH Mานนันทนาการ ไปบรกิ ารวชิ าการทางสงั คม และเปนO ผทูM ่ีสามารถรกั ษาขนบธรรมเนียม ประเพณแี ละวฒั นธรรม l ระบบและกลไก หลักสูตรร>วมกับคณะดําเนินการจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีที่มี การบูรณาการกับการวิจัย การบรกิ ารวิชาการทางสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะ และวฒั นธรรม วางแผนและจัดทําแผนการบูรณาการกบั การวิจยั การบริการวชิ าการ ทางสงั คม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม โดยมีการบูรณาการรายวชิ ากับ การวิจัย การบริการวิชาการทางสงั คม และการทํานบุ ํารุงศิลปะและวฒั นธรรม และ เปOนไปตามเกณฑHกรอบมาตรฐานคุณวุฒิการศึกษาระดบั ชาติ รวมท้ังมีการประเมิน ความสําเร็จจากแผนการบูรณาการใหMครอบคลมุ ท้งั 3 ดาM น l การนำระบบและกลไกสกูR ารปฏบิ ตั ิ ในปก% ารศึกษา 2563 หลักสตู รมกี ารจดั การเรียนการสอนตามแนวทางที่กําหนด ขMางตนM โดยคณะกรรมการบริหารหลักสตู รไดMมีการประชุมวางแผนการบูรณาการกับ การวิจัย การบริการวิชาการทางสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ร>วมกับคณะ ภายหลังการวางแผนไดMจัดใหMมีการจัดการเรียน การสอนตาม กระบวนการการดําเนินงานที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบริการวิชาการทาง สังคม และการทาํ นบุ าํ รุงศลิ ปะและวัฒนธรรม ดังน้ี การจัดการเรียนการสอนท่ีมีการบูรณาการกับการวิจยั พบว>าหลักสูตรไดMมกี าร ดําเนินงานการบูรณาการการเรียนการสอบควบค>ูกับการวิจัย โดยการกําหนด กิจกรรมการเรียนสอนท่ีใหMนักศึกษาในรายวิชาที่ปฏิบัติการวิจัยตามหลักการวิจัย

60 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน ดงั น้ี - รายวิชาการเตรียมฝjกประสบการณHวิชาชีพท>องเท่ียวและนันทนาการ ไดMมีการ มอบหมายใหนM ักศึกษาจดั ทาํ การคนM ควMาอสิ ระ ซ่ึงมรี ูปแบบกระบวนการ เชน> เดยี วกับ การทําวิจัย นกั ศึกษากําหนดหัวขMอทางการท>องเทยี่ วและนันทนาการทสี่ นใจ โดยมี อาจารยHประจําวิชาเปOนที่ปรึกษาการคMนควMาอิสระ ระยะเวลาในไม>นMอยกว>า 12 สัปดาหH วิเคราะหHขMอมูล ประเมินและสรุปผล โดยผ>านคําแนะนําของอาจารยHท่ี ปรึกษา และนาํ เสนอผลการวิจัยใหคM ณะกรรมการพิจารณา ซึ่งนกั ศึกษาไดMนาํ ความรูM จากวชิ าสถติ แิ ละการวิจยั สำหรับการทอ> งเที่ยวและนันทนาการมาประยกุ ตHใชMกบั การ คนM ควาM อสิ ระทําใหไM ดMทบทวนกระบวนการในการวจิ ัยมากข้ึน (KB-ART- bTR-5-5.2-1-9) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-10) การจดั การเรยี นการสอนที่มกี ารบริการวชิ าการแกส> ังคม พบว>า หลกั สูตรมีการ ดําเนินงานการบูรณาการการเรียนการสอนควบคู>กับการบริการวิชาการแก>สังคม โดยอาศัยความรMูความสามารถและความเชี่ยวชาญทางดMานการท>องเท่ียวและ นนั ทนาการ ดังนี้ - รายวิชาการจัดและการบริหารการท>องเที่ยวและนันทนาการ ทท 042003 โดยใหนM ักศึกษาท่ีเรยี นในรายวชิ า เขยี นโครงการเพอื่ นำไปบริการวิชาการแกส> งั คมใน ดาM นต>าง ๆ อาทิ เช>น โครงการเรารอM งเพอ่ื นพอM งไดMฟeง นนั ทนาการแกป> ระชาชนและ นักท>องเที่ยว ณ สวนสาธารณะธารา และโครงการTrash Human เพ่ือบริการ สาธารณะ ในบริเวณอุทยานแห>งชาตหิ าดนพรตั นธH ารา (KB-ART- bTR-5-5.2-1-11) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-12) - รายวิชาการจัดโปรแกรมนันทนาการ ภายหลังการเรียนในสัปดาหHที่ 5 อาจารยH ผสMู อนมกี ารกาํ หนดใหMนกั ศึกษาทีเ่ รยี นในรายวิชา บรกิ ารดาM นนันทนาการแก> ผสMู ูงอายุ ณ องคHการบริหารส>วนตำบลคลองขนาน อำเภอเหนอื คลอง จังหวัดกระบี่ (KB-ART- bTR-5-5.2-1-13) การจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการทํานุบํารุงศิลปะและ วฒั นธรรม โดยหลกั สูตรมีการดําเนินงานการบูรณาการการเรยี นการสอนควบคู>กับ การทาํ นบุ าํ รงุ ศลิ ปะและวัฒนธรรม - ในรายวิชาค>ายพักแรม ไดMบูรณาการเน้ือหารายวิชาร>วมกับโครงการทํานุ บาํ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม การละเลน> พ้นื บMานและกีฬา โดยการประยุกตHความรMูในรายวิชา คา> ยพักแรม กิจกรรมการละเล>นพน้ื บMาน (การยิงลูกนู) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-14) (KB-ART- bTR-5-5.2-1-15) l การประเมินกระบวนการ ในการประเมนิ กระบวนการโดยคณะกรรมการผMรู บั ผิดชอบหลักสูตร ไดมM ีการนํา สรปุ แผนการดําเนินงานตามแผนจัดการเรยี นการสอนท่ีมีการบูรณาการกบั การวจิ ัย

ตัวบงR ชี้ 61 การประเมินผเูM รยี น (ตวั บง> ชี้ 5.3) ผลการดำเนินงาน การบริการวิชาการทางสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมมาประชุม พบว>า การดําเนนิ งานดังกล>าวเปOนไปตามแผน และบรรลวุ ัตถุประสงคHทไี่ ดกM ําหนดไวM นอกจากน้ยี ังพบวา> มีกระบวนการในการดําเนนิ งานทเี่ ปนO ไปตามเปkาหมายท่หี ลกั สูตร ไดMกาํ หนดไวM ทง้ั เชิงคณุ ภาพ คอื นักศกึ ษาสามารถ อธบิ ายและเขาM ใจในหลักการการ ทาํ วิจยั จากการสัมภาษณHอาจารยHผMสู อนพบว>า นกั ศึกษาสามารถเขMาใจหลักการและ กระบวนการในการทําวิจัย มกี ารนาํ ความรทูM างดMานการท>องเที่ยวและนนั ทนาการไป บริการวิชาการทางสังคม และไดMเขMาร>วมกิจกรรมท่ีมีการทํานุบํารุงศิลปะและ วฒั นธรรม ส>วนเชงิ ปรมิ าณ หลักสตู รไดมM กี ารจดั การเรยี น การสอนทมี่ กี ารบูรณาการ กับการวิจัย การบริการวชิ าการทางสังคมและการทํานบุ ํารุงศลิ ปะและวัฒนธรรมท่ี ครอบคลุมครบทั้ง 3 ดาM น l ปรับปรงุ /พัฒนาเพอ่ื ไดZแนวทางปฏบิ ตั ิทช่ี ดั เจน จากการประเมนิ กระบวนการ คณะกรรมการบริหารหลักสตู รมีความเห็นวา> ควร มกี ารประชุมวางแผนจัดการเรียนการสอนที่มีการบูรณาการกับการวิจัย การบรกิ าร วชิ าการทางสังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม การบริการวิชาการทาง สังคม และการทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมในทุกป% โดยใหMอาจารยHผูMสอนไดMมี บทบาทในการกาํ หนดการบรู ณาการและกิจกรรมดMวยตนเอง ผ>านความเห็นชอบจาก ทางคณะ โดยเฉพาะอย>างยงิ่ ในดาM นการทํานบุ าํ รงุ ศิลปะและวฒั นธรรมที่ในปจe จุบนั มี ช>องทางการเผยแพร>สู>สังคมไดMอย>างหลากหลายมากข้ึน เช>น การถ>ายทอดสดผ>าน ทางช>องทางโซเชียลมีเดียและเผยแพรศ> ลิ ปวฒั นธรรมอันดงี ามของไทยในป%การศึกษา 2564 ต>อไป 1. การประเมนิ ผลการเรยี นรูตZ ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ เปาx หมายเชงิ ปริมาณ คณะกรรมการบริหารหลกั สูตรมกี ารตรวจสอบการทวนสอบผลสัมฤทธทิ์ างการ เรยี น ไมน> อM ยกวา> รอM ยละ 25 ของรายวชิ าทท่ี าํ การเรยี นการสอนในปก% ารศกึ ษา 2563 และมกี ารทบทวนผลการเรียนรขูM องนักศกึ ษาในจำนวน 15 รายวชิ า เปxาหมายเชงิ คณุ ภาพ อาจารยHผูMสอนในรายวิชาสามารถทวนสอบผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนท่ีตรงกับ มาตรฐานผลการเรียนรทMู ี่กําหนดไวแM ตล> ะรายวิชาตรงตาม มคอ.2 l ระบบและกลไก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการไดMมีการ แตง> ตั้งคณะกรรมการตรวจสอบผลการประเมนิ การเรยี นรMขู องนักศกึ ษา โดยอาจารยH ผูMรับผิดชอบหลักสูตรมีส>วนร>วม รวมถึงมีคณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตาม มาตรฐานการเรยี นรตMู าม มคอ.3 ตามเกณฑกH รอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ ระดบั อุดมศกึ ษา

62 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน มกี ารประชมุ เพ่ือวางแผนการประเมนิ ผลการเรียนรMู รายงานผล การตรวจสอบ และ นาํ ผลทไ่ี ดไM ปวางแผนพัฒนาการประเมนิ ผูMเรยี น l การนำระบบและกลไกสูRการปฏบิ ัติ ในป%การศึกษา 2563 พบว>า มีการตรวจสอบผลการเรียนรMูของนักศึกษา จำนวน 15 รายวิชา และเขMาระบบการประเมินผลการเรียนรMูตามกําหนดเวลา ไดMมี การประชุมทบทวนการประเมนิ ผลการเรยี นรMู และหลกั สตู รมีการกาํ หนดภาระหนาM ท่ี คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเปนO คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐาน การเรียนรMูตาม มคอ.3 ตามเกณฑHกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ซึ่งในป% การศึกษา 2563 หลกั สูตรไดMทาํ การทวนสอบดMวยแบบประเมนิ ตนเองของนักศกึ ษา เพ่ือทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ซ่ึงจากการดําเนินงานในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรไดMใหMนักศึกษาประเมินตนเองโดยการทําแบบสอบถามพรMอมกับการสอบ ปลายภาค ซึ่งพบปญe หาวา> นักศึกษาไมม> ีเวลาในการอ>านหวั ขMอในการประเมินตนเอง ทําใหMไดMผลการประเมินที่มีความคลาดเคลื่อนและไดMขMอมูลไม>ครบถMวน ทาง คณะกรรมการหลักสูตรจึงมีมติใหMทำการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใชM รูปแบบการประเมินตนเองผ>านทางช>องทางออนไลนHในป%การศึกษาถัดไป ในป% การศึกษา 2563 คณะกรรมการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานผลการเรียนรMูไดM ดาํ เนินการทวนสอบ จํานวน 15 รายวิชา จาก 51 รายวิชา คดิ เปนO รMอยละ 30 ของ รายวิชาทีเ่ ปดá สอนในป% การศึกษา 2563 ซ่ึงแต>ละวิชาเปนO ไปตาม มคอ. 2 นอกจากนี้ คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรร>วมกับอาจารยผH MูสอนไดมM ีการตรวจสอบการทวนสอบ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น และมีการทบทวนผลการเรียนรMูของนักศกึ ษา (KB-ART- bTR-5-5.3-1-1) (KB-ART- bTR-5-5.3-1-2) l การประเมนิ กระบวนการ ในป%การศึกษา 2563 พบวา> มีการตรวจสอบผลการเรียนรMูของนกั ศึกษา จำนวน 15 รายวิชา และเขMาระบบการประเมินผลการเรียนรูMตามกําหนดเวลา นอกจากน้ี หลักสูตรไดMมีการประชุมทบทวนการประเมินผลการเรียนรูM พบว>า มีการกําหนด นโยบายใหMทุกรายวชิ าดําเนินการประเมินผลการเรียนรูใM หMมีผลการเรียนที่สมบูรณH ภายในภาคการศึกษาน้ัน โดยคณะกรรมการผูMรับผิดชอบหลักสูตรไดMใหMอาจารยHท่ี ปรึกษาคอยกํากบั และติดตามใหMนักศึกษาไดMแกMไขผลการเรียนกับอาจารยHผสMู อนใหM เสรจ็ สิน้ ตามกรอบระยะเวลาท่ีงานทะเบียนไดMกําหนด ในส>วนของการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิตามมาตรฐานผลการเรียนรูM จากการ ประเมนิ กระบวนการดวM ยการประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร พบวา> อาจารยH ผูสM อนในรายวิชาสามารถทวนสอบผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนทตี่ รงกับมาตรฐานผลการ เรียนรMูทกี่ ําหนดไวM และคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรมีการตรวจสอบการทวนสอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน และมีการทบทวนผลการเรียนรูMของนักศึกษาจำนวน 15

63 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนินงาน รายวชิ าในป%การศกึ ษา 2563 l ปรบั ปรงุ /พฒั นาเพื่อไดแZ นวทางปฏบิ ตั ทิ ช่ี ัดเจน จากการประเมินกระบวนการ ในป%การศึกษา 2563 พบว>าภายหลังจากการ ดาํ เนินการเกบ็ ขอM มูลการประเมินตนเองของนักศึกษาโดยการทําแบบสอบถาม ทาํ ใหM ทางหลักสตู รไดMรับขMอมลู จากนักศกึ ษาครบทุกคนคิดเปนO รMอยละ 100 นอกจากน้กี าร เก็บขอM มูลโดยการทําแบบสอบถามยังช>วยในการวิเคราะหขH Mอมูลทางสถิติพน้ื ฐาน ทํา ใหMไดMขMอมูลที่ง>ายต>อการสรุปผล สามารถนํามาวิเคราะหHและนําไปพัฒนาในป% การศึกษา 2564 นอกจากนีพ้ บว>า คณะกรรมการผMูรบั ผิดชอบหลกั สูตรและอาจารยH ผMสู อน ควรดําเนินการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย>างชัดเจน โดยหลักสูตร ควรแจงM ใหMอาจารยHผสMู อนทราบว>าจะมีการติดตามประเมินผล การเรยี นรใMู หMครบถMวน ในทุกรายวชิ า และมกี ารกําหนดกรอบระยะเวลาในการดําเนินการใหอM าจารยผH ูMสอน ทกุ คนทราบในป%การศกึ ษาถัดไป 2. การตรวจสอบการประเมนิ ผลการเรยี นรZขู องนักศึกษา เปxาหมายเชงิ ปรมิ าณ - หลกั สตู รมีการตรวจสอบวธิ กี ารประเมินผเMู รยี นในการกําหนดสัดสว> นคะแนนอิง เกณฑH ไม>ตำ่ กว>า 50 คะแนน ( ระดบั ผลการเรยี น D) สอดคลอM งตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ จำนวน 15 รายวชิ า เปาx หมายเชิงคณุ ภาพ - อาจารยผH สูM อนสามารถกําหนดวธิ กี ารประเมนิ นักศึกษาทส่ี อดคลMองและครอบคลมุ ผลการเรยี นรตMู ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒใิ นแต>ละรายวิชาตรงตาม มคอ.2 และ สอดคลอM งกบั มาตรฐานการอุดมศึกษาแห>งชาติ พ.ศ.2561 l ระบบและกลไก หลักสตู รศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเท่ียวและนันทนาการ ไดMมีการ แตง> ตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธ์ติ ามมาตรฐานการเรียนรตูM าม มคอ.3 ตาม เกณฑHกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา มีการประชุมเพื่อวางแผน การ ประเมินผลการเรยี นรMู รายงานผลการตรวจสอบ และนาํ ผลทีไ่ ดMไปวางแผนพัฒนาการ ประเมนิ ผเMู รียน l การนำระบบและกลไกสRูการปฏิบัติ ในป%การศึกษา 2563 หลักสูตรมีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรูMของ นักศึกษาโดยใชMแบบตรวจสอบวิธีการการประเมินผูMเรียนโดยอาจารยHผูMรับผิดชอบ รายวิชาตรวจสอบการกําหนดเกณฑHการประเมินผูMเรียน วิธีการประเมิน เคร่ืองมือ และวิธีการประเมินในแต>ละรายวชิ า ซ่ึงพบว>า ในแต>ละรายวิชามีการออกแบบการ ประเมินผMเู รยี นที่สอดคลMองตามผลลัพธใH น มคอ.2 ทง้ั 15 รายวชิ า และมีการประเมนิ ดMวยวิธีการท่ีครอบคลุมผลการเรียนรูMตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

64 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน แห>งชาติ เช>น มีการประเมินการเขMาช้ันเรียน ความรับผิดชอบในการส>งงานท่ีไดMรับ มอบหมาย แบบทดสอบแบบปรนัยและอตั นัย การประเมนิ ชิ้นงาน การประเมินโดย ใหMผMเู รียนมีสว> นร>วม การสงั เกตพฤติกรรม การทํางานเปOนทีม เปOนตMน และอาจารยH ผูMรับผิดชอบรายวิชาทั้ง 15 รายวิชามีการดําเนินการจัดการเรียนการสอนและ ประเมินผMูเรียนเปOนไปตาม มคอ.3 และมีการรายงานผลการดําเนินงานรายวิชา มคอ.5 ท่สี อดคลอM งกับ มคอ.3 (KB-ART- bTR-5-5.3-1-3) l การประเมินกระบวนการ จากการประชุมคณะกรรมการประเมนิ ผลการเรยี นรMตู ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ พบว>า กระบวนการดําเนินการเปOนไปตามขั้นตอน PDCA โดยการประเมินผลการ เรียนรูM ครอบคลุมทุกดMาน ประสิทธผิ ลของการสอนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขา การทอ> งเที่ยวและนันทนาการ พบวา> วิธกี ารประเมินผMูเรียนใน 15 รายวิชาใชM วิธีการทสี่ อดคลMองกบั มาตรฐานการเรียนรทMู ่ีกาํ หนดเปOนไปตามเปkาหมายท่ีวางไวMท้ัง เชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ l ปรบั ปรงุ /พัฒนาเพื่อไดZแนวทางปฏิบัติทช่ี ัดเจน จากการประชมุ คณะกรรมการประเมนิ ผลการเรียนรตMู ามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ พบว>า หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยวและนันทนาการไดM ดําเนินการวิเคราะหHและปรับปรุงเพ่ือกําหนดแผนการกํากับติดตามและการ ตรวจสอบ การประเมินผลการเรียนรMูใหMมีความสอดคลMองและชัดเจน รวมถึงวาง แผนการนําผลการทวนสอบไปใชMในการพัฒนาการเรียนการสอนอย>างต>อเนื่องเพื่อ เปOนการพัฒนาคุณภาพการประเมินผลการเรียนรMูตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิในป% การศึกษาตอ> ไป 3.การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7) เปาx หมายเชงิ ปริมาณ หลักสูตรกํากับตดิ ตามและตรวจสอบการจดั ทาํ มคอ.5 มคอ. 6 และ มคอ.7 ครบทุกรายวิชา จำนวน 51 รายวชิ าทจี่ ดั การเรียนการสอนในป%การศึกษา 2563 และมรี ายงานการดาํ เนินงาน มคอ.7 ครบทุกตวั บง> ชี้ เปาx หมายเชงิ คณุ ภาพ การจัดทํา มคอ. 5 มคอ. 6 และ มคอ.7 ของหลักสูตรเปOนไปตามกรอบ มาตรฐานผลการเรยี นรรMู ะดับอุดมศึกษา l ระบบและกลไก หลักสูตรมีระบบและกลไกในการกํากับ ติดตาม และตรวจสอบการกํากับการ ประเมินการจัดการเรียนการสอนใหMใชMแบบฟอรHมเดียวกันในการรายงานผล และมี การกํากับติดตามการรายงานผลใหMเปOนไปตามกรอบระยะเวลาที่กําหนด และ

65 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน ประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) โดยคณะกรรมการผูMรับผิดชอบ หลักสูตรตรวจสอบและทําการประเมิน กําหนดแนวปฏิบัติ จัดระบบการกํากับ ติดตาม มกี ารประเมินผล รายงานผลการประเมิน และนําผลการประเมินมาใชเM พ่ือ พัฒนาระบบการกํากับการประเมินการจดั การเรียนการสอน และประเมินหลกั สตู ร (มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7) มกี ารรายงานผลการประเมนิ และนําผลการประเมินไป ใชใM นทกุ ภาคการศึกษา l การนำระบบและกลไกสกRู ารปฏิบัติ ในป%การศึกษา 2563 คณะศิลปศาสตรHไดMนําแบบฟอรHม มคอ.5 ที่ไดMมาตรฐาน เผยแพร>แก>อาจารยH ทั้งในหลักสูตรและนอกหลักสูตรเพ่ือใหMการเขียนรายงานผล มคอ.5 เปOนไปในทิศทางเดียวกัน โดยไดMมีการชี้แจงแก>อาจารยHใหม>เก่ียวกับวิธีการ ดาํ เนินการจัดทํา มคอ.5 ในแต>ละรายวิชา ในสว> นการกาํ กับติดตามการประเมนิ การ สอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน และประเมินหลักสูตร คณะกรรมการ บริหารหลักสูตรไดMมีการกําหนดบทบาทใหMคณะกรรมการผูMรับผิดชอบหลักสูตร ร>วมกันตรวจสอบคุณภาพ มคอ.5 และ มคอ.6 เพื่อตรวจสอบประเมินความ สอดคลMองกับ มคอ.3 และ มคอ.4 นอกจากนี้ทางหลักสตู รยังมีการทบทวนผลการ จดั การเรียนการสอนของรายวิชา โดยหากพบว>ารายวิชาใดมผี ลการเรียนท่ีผิดปกติ หลกั สตู รจะมีการเชิญอาจารยปH ระจํารายวิชามาสอบถามเกีย่ วกบั ผลคะแนน และหา แนวทางแกMไขกรณีทป่ี eญหาเกิดจากตัวนักศกึ ษาเอง แต>หากปeญหาดังกล>าวเกิดจาก กระบวนการสอนของอาจารยHผูMสอน ก็จะมีการเสนอแผนการปรับปรุงสาํ หรับภาค การศกึ ษาหรือป%การศึกษาถัดไปรว> มกนั ระหวา> งหลักสตู รและผูMสอน (KB-ART- bTR-5-5.3-1-4) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรทุกคนมสี >วนในการกํากับตดิ ตามและประเมิน คณุ ภาพแผนการเรียน มคอ.3 และ มคอ.4 รวมถึงการประเมินการจัดการเรียนการ สอน และประเมินหลักสูตร มคอ.5 และ มคอ.6 เพ่ือเปOนแนวทางในการรายงาน มคอ. 7 ที่ครบถMวน โดยคณะกรรมการผMูรับผิดชอบหลักสูตรทุกคนมีหนMาที่และ บทบาทในการควบคุมดูแลองคปH ระกอบต>าง ๆ ใหสM อดคลMองกับแผนการดาํ เนินงาน ของหลักสตู รเพื่อเชอ่ื มโยงตอ> การเขียนรายงานผล มคอ.7 ดวM ย การดําเนินการตามแผนประเมินผลการดําเนินงานกํากับการดําเนินการ จัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร พบว>า อาจารยHผMูสอนทุกคนไดMมีการ จัดทํา มคอ.5 ตามแบบฟอรHมที่ทางหลักสูตรกําหนด และรายงานผลในแต>ละ องคHประกอบอย>างครบถMวน โดยคณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตรไดMมีการตรวจสอบ คณุ ภาพของ มคอ.5 และ มคอ.6 เม่ือพบ ขMอผิดพลาดหรือไม>สอดคลMองกับ มคอ.3 และ มคอ.4 หลกั สตู รจะส>งกลบั ไปยังอาจารยผH Mูสอนเพ่ือใหMแกไM ขใหMถกู ตอM ง

66 ตัวบงR ช้ี ผลการดำเนนิ งาน l การประเมินกระบวนการ จากการตรวจสอบคุณภาพ ของ มคอ.5 และมคอ.6 ดMวยแบบตรวจสอบ คณุ ภาพรายงานในภาคปลายป%การศึกษา 2563 พบว>ากระบวนการดาํ เนินงานบรรลุ ตามเปkาหมายท้ังในเชิงปริมาณ และคุณภาพ โดยในเชิงคุณภาพพบว>า การ ประเมินผลการจัดการเรียนการสอน มคอ.5 สอดคลMองกบั มคอ.3 และเปOนไปตาม กรอบมาตรฐานผลการเรียนรรMู ะดับอุดมศึกษา สําหรับ มคอ.7 ในป%การศึกษา 2563 ไดMมีการจัดทํา มคอ.3 มคอ.4 มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ใหMสอดคลMองกับการ ประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสตู รเพิ่มขึ้น ในเชิงปริมาณ จากการกํากับติดตาม ของคณะกรรมการบริหารหลักสตู รในการตรวจสอบการจัดทํา มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 พบว>าคณะกรรมการบริหารหลักสูตรไดMมีการตรวจสอบครบในท้ัง 51 รายวิชาทีเ่ ปáดสอนในปก% ารศกึ ษา 2563 (KB-ART- bTR-5-5.3-1-5) (KB-ART- bTR-5-5.3-1-6) l ปรับปรุง/พัฒนาเพ่อื ไดแZ นวทางปฏิบตั ิท่ีชัดเจน จากผลการดําเนินงานและประเมินกระบวนการ พบว>า ภายหลังจากการ ตรวจสอบคณุ ภาพรายงานผลการดําเนินการของรายวิชา มคอ.5 และมคอ.6 ทําใหM หลกั สูตรไดทM ราบถงึ ปeญหาการจัดทาํ มคอ.5 และมคอ.6 และเมอื่ ชแ้ี จงไปยงั อาจารยH ผูMสอนในแต>ละรายวิชา พบว>า ในแต>ละรายวิชาไดMมีการแกMไขตามท่ีคณะกรรมการ ระบไุ วM จากกระบวนการดงั กลา> วจึงสง> ผลใหกM ารการจัดทาํ มคอ.5 และมคอ.6 เปนO ไป ในทิศทางเดียวกนั และมีคุณภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากน้ี ในป%การศึกษา 2562 ท่ีผ>านมา งานประกันคณุ ภาพการศึกษา วทิ ยา เขตกระบ่ีไดMจดั ใหมM ีการประเมินการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน ระดับหลกั สูตร โดยคณะกรรมการประเมนิ ประกันคุณภาพระดับหลักสูตรของมหาวทิ ยาลยั การกฬี า แห>งชาติ ภายในวิทยาเขต ส>งผลใหMหลักสูตรไดMรับแนวคิดและหลักการที่ถูกตMองใน การ จัดทํา มคอ.7 ในป%การศึกษา 2563 ทางหลักสูตรและคณะจึงเห็นควรว>า คณะกรรมการผูMรับผิดชอบหลักสูตรและอาจารยHผูMสอนควรดําเนินการกํากับการ ประเมินการจัดการเรยี นการสอนและประเมินหลกั สูตร จัดทํา มคอ.5 มคอ.6 และ มคอ.7 ในการปก% ารศกึ ษาต>อไป

67 ผลการดำเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ (ตัวบงR ช้ี 5.4) ดัชนีบRงชผ้ี ลการดำเนินงาน (Key Performance ผลการดำเนนิ งาน Indicators) 1) อาจารยHประจำหลักสูตรอยา> งนMอยรMอยละ 80 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การท>องเที่ยว มีส>วนรว> มในการประชุมเพ่ือวางแผน ติดตาม และนันทนาการ มีอาจารยHประจำหลักสูตรจำนวน 6 และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร คน มีสว> นรว> มในการประชมุ เพ่ือวางแผน ติดตามและ ทบทวนการดำเนินงานหลกั สูตร จำนวน 4 ครง้ั ดังน้ี การประชุมครง้ั ท่ี 4 / 63 วันที่ 10 กรกฎาคม 2563 การประชมุ ครั้งที่ 5 / 63 วนั ท่ี 15 ตุลาคม 2563 การประชุมครง้ั ที่ 1 / 64 วนั ท่ี 19 มนี าคม 2564 การประชุมครัง้ ที่ 2 / 64 วนั ที่ 19 เมษายน 2564 (KB-ART- bTR-5-5.4-1-1) 2) มีรายละเอยี ดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท>องเที่ยว ท่ีสอดคลMองกับกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิ และนันทนาการ มรี ายละเอียดของหลักสตู ร ตามแบบ มคอ.2 ทไ่ี ดรM บั การเห็นชอบจากสภาวชิ าการ 1/56 แห>งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2556 และสภาสถาบันการพล สาขาวิชา (ถาM มี) ศกึ ษา ครั้งที่ 2/56 เมอ่ื วันท่ี 28 มนี าคม 2556 และไดM รับรองจาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เมื่อวันท่ี 22 กันยายน 2558 3) มรี ายละเอียดของรายวชิ า และรายละเอยี ด หลักสูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชาการทอ> งเท่ยี ว ของประสบการณHภาคสนาม (ถMามี) ตามแบบ และนันทนาการ มีรายละเอยี ดของรายวิชาตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยา> งนMอยก>อนการเปดá สอนในแตล> ะภาคการศกึ ษาใหคM รบทุกรายวิชา มคอ.3 และ มคอ.4 โดยสง> ครบทรุ ายวิชากอ> นการ เปáดสอนในแต>ละภาคการศกึ ษา ภาค วนั เปáดการเรียนการ จำนวนรายวชิ าทสี่ ง> การศกึ ษาที่ สอน 1 3 ส.ค.63 29 รายวชิ า 2 14 ธ.ค.63 22 รายวิชา 4) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของรายวชิ า หลักสตู รศลิ ปศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าการทอ> งเทย่ี ว และรายงานผลการดำเนนิ การของ และนนั ทนาการ มรี ายละเอยี ดของรายวิชา ตามแบบ มคอ.5และ มคอ.6 โดยสง> ครบทรุ ายวชิ ากอ> นการเปáด ประสบการณภH าคสนาม (ถาM มี) ตามแบบ สอนในแตล> ะภาคการศกึ ษา มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังส้ินสดุ ภาคการศกึ ษาที่เปดá สอนใหMครบทุกรายวชิ า ภาค วันเปดá การเรียนการ จำนวนรายวิชาทส่ี ง> การศึกษาที่ สอน 1 3 ส.ค.63 29 รายวิชา 2 14 ธ.ค.63 22 รายวิชา

68 ผลการดำเนินงานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ (ตัวบงR ช้ี 5.4) ดัชนบี Rงช้ีผลการดำเนินงาน (Key Performance ผลการดำเนนิ งาน Indicators) 5) จดั ทำรายงานผลการดำเนินการของหลกั สูตร หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท>องเที่ยว ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วนั หลงั สิ้นสดุ ป% และนันทนาการ มกี ารจัดทำรายงานผลการดำเนนิ การ ของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วัน หลัง การศกึ ษา สิ้นสุดป%การศึกษา โดยเสร็จสิ้นภายในวันที่ 30 พฤษภาคม 2564 6) มกี ารทวนสอบผลสัมฤทธข์ิ องนักศึกษาตาม หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท>องเท่ียว มาตรฐานผลการเรียนรMู ที่กำหนดใน มคอ.3 และนันทนาการ มีการทวนสอบผลสัมฤทธ์ิของ นักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูMท่ีกำหนดใน และมคอ.4 (ถMามี) อย>างนMอยรMอยละ 25 ของ มคอ.3 จํานวน 15 วิชา คิดเปOนรMอยละ 29.42 โดย รายวิชาที่เปáดสอนในแตล> ะป%การศึกษา แยกเปOน ภาคเรียนที่ 1 มีการทวนสอบ 8 รายวิชา จาก 29 รายวชิ า คดิ เปOนรอM ยละ 28 ภาคเรียนท่ี 2 มีการทวนสอบ 7 รายวิชา จาก 22 รายวิชา คิดเปนO รMอยละ 31.82 7) มกี ารพัฒนา/ปรบั ปรงุ การจดั การเรียนการ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการท>องเที่ยว สอน กลยทุ ธHการสอน หรือ และนันทนาการ มีการนำผลจากมคอ.7 พัฒนา/ การประเมนิ ผลการเรียนรMู จากผลการประเมิน ปรบั ปรุง การ จัดการสอน โดยนําผลการประเมินการ การดำเนินงานท่ีรายงานใน มคอ.7 ป%ทแี่ ลMว ดําเนินงานที่รายงานใน มคอ. 7 ในปก% ารศึกษา 2562 มาจัดทําแผนงาน/โครงการ/ กิจกรรมในป%การศึกษา 2563 ไดMแก> - หลักสูตรมีการจัดทําโครงการใหMคําปรึกษาดMาน วิชาการและ การใชMชีวิต เพ่ือวางระบบการกํากับ ติดตามดูแลใหMคาํ ปรกึ ษาแก> นักศึกษา ทกุ วนั พุธ เวลา 14.30 – 15.30 น . น อ ก จ าก นี้ ยั งไดM วางร ะบ บ ตรวจสอบนักศึกษาท่ีมีผลการเรียนในเกณฑHต่ำและ เส่ียงต>อการพMนสภาพ โดยอาจารยHท่ีปรึกษานําเสนอ ตอ> ทปี่ ระชุมคณะเพื่อวางแผนรว> มกับอาจารยผH Mูสอนใน การดูแลหรือหากระบวนการแกMไขปeญหาก>อนส>งผล การเรียน - คณะและหลกั สตู รจัดทําโครงการ เตรยี มความพรMอม เพอ่ื สอบวัดระดับความสามารถดMานภาษาอังกฤษและ วิชาชพี ระหว>างวนั ท่ี 18-19 มีนาคม 2564 -. หลกั สูตรมกี ารตรวจสอบการจดั ทาํ มคอ.3 และ

69 ผลการดำเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ิ (ตวั บงR ช้ี 5.4) ดัชนบี Rงชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance ผลการดำเนนิ งาน Indicators) มคอ.4 โดยการจัดประชมุ อาจารยผH สMู อนในการจัดทาํ มคอ.3 และ มคอ.4 ใหMสอดคลMองกบั กรอบมาตรฐาน คุณวฒุ ิระดบั อุดมศกึ ษาแหง> ชาติ (TQF) และเปนO ไป ตามมาตรฐานการอดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2561 (มาตรฐานท่ี 1 ดาM นผลลพั ธผH Mเู รยี น) 8) อาจารยใH หม> (ถาM ม)ี ทุกคน ไดรM ับการ ไมม> ีอาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลกั สูตรใหมใ> นรอบป% ปฐมนิเทศหรอื คำแนะนำดMานการจัดการเรียน การศึกษา 2563 การสอน 9) อาจารยHประจำหลักสูตรทุกคนไดMรับการ ในป%การศกึ ษา 2563 อาจารยHผูMรับผิดชอบหลักสูตรทั้ง พฒั นาทางวชิ าการ และ/หรอื วชิ าชีพ อยา> ง 6 คน ไดMรบั การพัฒนาทางวิชาการและวิชาชีพ อย>าง นMอยป%ละหน่งึ คร้งั นMอยป%ละ 1 ครั้ง ครบถMวนทุกคน คิดเปOนรMอยละ 100 (ภาคผนวกตารางที่ 5.4-2) 10) จำนวนบคุ ลากรสนบั สนนุ การเรยี นการสอน หลักสตู รมีบคุ ลากรสนับสนุนการเรียนการสอนจาํ นวน (ถาM มี) ไดMรบั การพัฒนาวิชาการ และ/หรือ 2 คน และไดMรับการพัฒนาจํานวน 2 คน คิดเปOนรMอย วชิ าชีพ ไมน> Mอยกวา> รอM ยละ 50 ตอ> ป% ละ 100 (ภาคผนวกตารางที่ 5.4-3) 11) ระดบั ความพึงพอใจของนักศกึ ษาป%สุดทMาย/ หลกั สูตรศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวชิ าการท>องเท่ียว บัณฑิตใหม>ท่ีมตี >อคุณภาพหลักสูตร เฉล่ยี ไม> และนันทนาการ มกี ารประเมินคุณภาพของหลกั สูตรป% การศกึ ษา 2563 โดยมีคา> เฉล่ียเท>ากบั 4.12 จาก นMอยกว>า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 คะแนนเต็ม 5 คะแนน (KB-ART- bTR-5-5.1-1-2) 12) ระดับความพงึ พอใจของผูMใชบM ัณฑติ ทม่ี ีตอ> หลกั สตู รศลิ ปศาสตรบณั ฑติ สาขาวิชาการทอ> งเท่ียว บัณฑติ ใหม> เฉล่ยี ไม>นMอยกว>า 3.5 จากคะแนน และนันทนาการ มกี ารประเมินความพงึ พอใจของผูMใชM เต็ม 5.0 บณั ฑติ ป%การศึกษา 2563 โดยมคี า> เฉล่ยี เท>ากบั 4.60 จากคะแนนเตม็ 5 คะแนน รวมตัวบง> ชใ้ี นปน% ี้ 12 ขZอ จำนวนตัวบง> ชท้ี ดี่ ำเนินการผา> นเฉพาะตวั บ>งช้ีท่ี 1-5 5 ขอZ 100 รMอยละของตวั บง> ชท้ี ่ี 1-5 11 ขอZ จำนวนตัวบ>งชี้ในป%นี้ทด่ี ำเนินการผ>าน 100 รMอยละของตวั บง> ชี้ทง้ั หมดในป%น้ี หมายเหตุ : เกณฑHขอM 11 ถMาเปนO หลักสูตรใหม>ทีย่ ังไม>มบี ัณฑติ ไม>ตอM งประเมิน แตห> ากเปOนหลักสตู รปรบั ปรุงตอM งประเมิน (ทีม่ า: คำอธิบายเพ่ิมเตมิ ค>ูมือการประกันคุณภาพภายในระดบั อุดมศึกษา พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2559)

รายการเอกสารอาZ งอิง 70 ลำดับท่ี ชอื่ เอกสารอาM งอิง KB-ART- bTR-5-5.1-1-1 รายงานการประชุมหลกั สูตร ครงั้ ที่ 4/2563 เรือ่ ง การวเิ คราะหHหลกั สตู ร วิชาทจ่ี ะเปáดสอน การกําหนดผูสM อน ภาคตMน 2563 KB-ART- bTR-5-5.1-1-2 รายงานผลการประเมนิ ความพึงพอใจของนกั ศึกษาปส% ดุ ทาM ยต>อหลกั สตู ร KB-ART- bTR-5-5.1-1-3 รายงานผลการประเมินความพงึ พอใจของผูMใชMบัณฑติ ทมี่ ตี >อบัณฑติ KB-ART- bTR-5-5.1-1-4 มคอ. 3 วิชาการทอ> งเทีย่ วเชิงนิเวศ KB-ART- bTR-5-5.1-1-5 มคอ. 3 วชิ าการจดั การงานสว> นหนาM โรงแรม KB-ART- bTR-5-5.2-1-1 รายงานการประชุมหลกั สตู ร ครง้ั ที่ 4/2563 เรอ่ื ง การกําหนดผสMู อน ภาค ตนM 2563 KB-ART- bTR-5-5.2-1-2 รายงานการประชุมหลกั สตู ร ครง้ั ที่ 5/2563 เรือ่ ง การกาํ หนดผสMู อน ภาค ปลาย 2563 KB-ART- bTR-5-5.2-1-3 คําสั่งคณะศลิ ปศาสตรH มหาวิทยาลัยการกีฬาแหง> ชาติ วิทยาเขตกระบี> เรื่อง แต>งตง้ั ขMาราชการและบคุ ลากรปฏิบตั หิ นาM ทส่ี อน ประจาํ ภาคตMน ป% KB-ART- bTR-5-5.2-1-4 การศึกษา 2563 คําส่งั คณะศิลปศาสตรH มหาวิทยาลัยการกฬี าแหง> ชาติ วทิ ยาเขตกระบี่ KB-ART- bTR-5-5.2-1-5 เร่อื ง แต>งตง้ั ขMาราชการและบุคลากรปฏิบัตหิ นMาทส่ี อน ประจาํ ภาคปลาย ป% KB-ART- bTR-5-5.2-1-6 การศึกษา 2563 KB-ART- bTR-5-5.2-1-7 สรปุ ผลแบบประเมนิ การสอนของอาจารยH KB-ART- bTR-5-5.2-1-8 รายงานการสง> มคอ.3-4 ภาคตนM ป%การศกึ ษา 2563 รายงานการสง> มคอ.3-4 ภาคปลาย ปก% ารศกึ ษา 2563 KB-ART- bTR-5-5.2-1-9 รายงานการตรวจสอบคุณภาพ มคอ.3-4 ภาคตMน-ภาคปลาย ปก% ารศกึ ษา 2563 KB-ART- bTR-5-5.2-1-10 มคอ.4 วิชาการเตรยี มฝjกประสบการณวH ชิ าชีพ สาขาวชิ า การทอ> งเท่ยี ว และนนั ทนาการ ตัวอย>างรปู เลม> งานคMนควาM อสิ ระ KB-ART- bTR-5-5.2-1-11 มคอ.3 วชิ าการจดั และการบริหารการท>องเท่ยี วและนันทนาการ KB-ART- bTR-5-5.2-1-12 ภาพการบริการชุมชน โครงการเรารอM งเพือ่ นพอM งไดฟM eง นนั ทนาการแก> KB-ART- bTR-5-5.2-1-13 ประชาชนและนักทอ> งเท่ยี ว ณ สวนสาธารณะธารา และโครงการTrash Human เพ่อื บริการสาธารณะ ในบรเิ วณอุทยานแหง> ชาติหาดนพรตั นธH ารา มคอ.3 วิชาการจดั โปรแกรมนันทนาการ KB-ART- bTR-5-5.2-1-14 มคอ.3 วิชาค>ายพกั แรม

ลำดบั ท่ี 71 KB-ART- bTR-5-5.2-1-15 ชอื่ เอกสารอาM งอิง KB-ART- bTR-5-5.3-1-1 รายงานโครงการทาํ นุบาํ รงุ ศลิ ปวัฒนธรรม การละเล>นพื้นบาM นและกีฬา โดยการประยกุ ตคH วามรMใู นรายวชิ าค>ายพกั แรม กจิ กรรมการละเล>นพื้นบาM น KB-ART- bTR-5-5.3-1-2 (การยิงลกู น)ู คาํ สงั่ แตง> ตั้งคณะกรรมการทวนสอบผลสมั ฤทธิ์ของนกั ศกึ ษาตามมาตรฐาน KB-ART- bTR-5-5.3-1-3 ผลการเรียนรูM ปก% ารศึกษา 2563 KB-ART- bTR-5-5.3-1-4 KB-ART- bTR-5-5.3-1-5 รายงานการทวนสอบผลสมั ฤทธข์ิ องนกั ศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรMู KB-ART- bTR-5-5.3-1-6 ป%การศึกษา 2563 KB-ART- bTR-5-5.3-1-7 รายงานผลการตรวจสอบวธิ ีการประเมินผเูM รยี น รายงานการประชุมหลกั สูตร ครง้ั ที่ 4/2563 เร่ือง การจัดทาํ มคอ. 5 รายงานการสง> มคอ.5-6 ภาคตนM ป%การศกึ ษา 2563 รายงานการสง> มคอ.5-6 ภาคปลาย ป%การศึกษา 2563 รายงานการประชมุ อาจารยผH Mรู บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ทั้ง 4 ครง้ั รายงานการ ประชุมอาจารยผH รูM บั ผิดชอบหลักสูตร ทง้ั 4 ครงั้

72 องคVประกอบที่ 6 สง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรูZ ตัวบRงช้ี ผลการดำเนนิ งาน สิง่ สนบั สนุนการเรยี นรZู (ตวั บRงชี้ 6.1) หลกั สตู รเพื่อใหมM สี ิ่งสนับสนุนการเรยี นรูM l ระบบและกลไก มหาวิทยาลัยการกีฬาแห>งชาติ วิทยาเขตกระบ่ี คณะศิลปศาสตรHใหM คณะกรรมการผูMรับผิดชอบหลักสูตรดำเนินงานโดยการมีส>วนร>วมเพื่อจัดใหMมีสิ่ง สนับสนุนการเรียนรูMตาม ตามระบบและกลไกในการดำเนินงานของหลักสูตรดMวย การจัดหาวสั ดุอปุ กรณH สงิ่ กอ> สราM ง และเอกสารประกอบการเรยี นการสอน งานวิจัย ใหM เพี ย ง พ อ แ ล ะ เ ห ม า ะ ส ม ต> อ ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น ก า ร ส อ น ดM ว ย ก า ร ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการผรูM บั ผดิ ชอบหลกั สตู ร มีการเสนอเครือ่ งมือ อุปกรณHกฬี าทางนำ้ และ หMองเรียนอจั ฉรยิ ะ ในป%การศกึ ษา 2563 l การนำระบบและกลไกสูRการปฏบิ ตั ิ มีจำนวนสง่ิ สนับสนุนการเรยี นรMทู เี่ พยี งพอและเหมาะสมตอ> การจัดการเรยี นการ สอนดMวยการจัดใหมM หี Mองเรยี นจำนวน 9 หอM งในคณะศิลปศาสตรHเพื่อใหMอาจารยแH ละ นักศึกษาไดMศึกษาและปฏิบัติการณHการสอนในการเรียนการสอนและยังอำนวย ความสะดวกใหMกับอาจารยH โดยจัดใหMมีรMานสวสั ดิการเพ่ือเตรียมความพรMอมของ นักศกึ ษา สาขาการท>องเท่ียวและนันทนาการ โดยผลทีไ่ ดMจากการเรียนการสอนส>ู การปฏิบัติทักษะการทำงานเชิงบูรณาการ นอกจากนี้ยังจัดใหMมีการศึกษานอก สถานที่ และสำรวจความพึงพอใจในกระบวนการเรียนการสอน รวมทั้งมีความ พรMอมทางกายภาพ เช>น ศูนยHปฏิบัตกิ ิจกรรมหนMาผาเพื่อการประกอบอาชีพ ศูนยH กจิ กรรมและกีฬาทางทะเล พรอM มท้งั จดั เตรยี มสถานที่ อาคารละหมาด และศาลา พักผ>อนเชิงนันทนาการ ตลอดจนแหล>งสนับสนุนการเรียนรMูหMองสมุด และติดตั้ง ระบบ Wi-Fi เพ่ือสนับสนุนการเรียนรูMของนักศึกษาตามกระบวนการเรียนรMูใน ศตวรรษที่ 21 l การประเมนิ กระบวนการ ในการประเมนิ กระบวนการพบวา> มีการปรับปรุงและพัฒนาตามความพึงพอใจ ของนักศึกษาและอาจารยHต>อสิ่งสนับสนุนการเรียนรูM คิดเปOนรMอยละ 3.24 นอกจากนี้ยังมีการเชิญผMูท่ีเก่ียวขMองกับการท>องเท่ียว เช>นนายกสมาคมมัคคุเทศกH จังหวัดกระบ่ี และนายกสมาคมท>องเที่ยวจังหวัดกระบ่ี ร>วมกันพัฒนานักศึกษา สาขาวิชาการท>องเที่ยวและนันทนาการ คณะศิลปศาสตรH มหาวิทยาลัยการกีฬา แหง> ชาติ วิทยาเขตกระบี่ l ปรบั ปรุง/พฒั นาเพื่อไดแZ นวทางปฏบิ ตั ิที่ชัดเจน คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รมกี ารวางแผนเชิงระบบเพอ่ื สำรวจความตMองการ และสิ่งจำเปOนต>อการเรียนการสอนเพ่ือจัดหาสิ่งสนับสนุนการเรียนรูM เช>น

73 ตัวบRงช้ี ผลการดำเนนิ งาน คอมพิวเตอรHโน≥ตบุ≥คสำหรับอาจารยH โต≥ะเกMาอ้ี หMองสืบคMนขMอมูลสำหรับนักศึกษา อาคารและหMองปฏิบตั กิ ารทวั รแH ละโรงแรม หMองเรียนปฏิบัตกิ ารสำหรับอาหารและ เครื่องด่ืม ระบบโปรแกรมสำหรับระบบการขายทัวรH การจัดการงานส>วนหนMา โรงแรม หMองปฏิบตั กิ ารสำหรบั ภาษาองั กฤษ รายการเอกสารอาZ งอิง ลำดบั ท่ี ช่ือเอกสารอาM งองิ KB-ART- bTR-6-6.1-1-1 รายงานผลการประเมินความพงึ พอใจของอาจารยตH อ> สงิ่ สนบั สนนุ การเรยี นรูM หมายเหตุ : ใหZหลักสูตรระบสุ ่งิ สนับสนนุ การเรียนรทZู ่ีจำเปrนสำหรับหลักสูตรใหชZ ัดเจน ไมตR Zองพจิ ารณาส่งิ สนับสนนุ ท่วั ไป เชRน หZองเรยี น เครอื่ งฉาย LCD เปrนตนZ (ทมี่ า: คำอธิบายเพิม่ เตมิ คRูมอื การประกนั คณุ ภาพภายในระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. 2557 ณ วันที่ 4 กรกฎาคม 2559) การวเิ คราะหVรายวชิ าท่ีมผี ลการเรยี นไมRปกติ การตรวจสอบ เหตุทที่ ำใหผM ิดปกติ มาตรการแกMไข รหสั ชอ่ื วชิ า ภาค ความผิดปกติ สอบถาม สระว>ายน้ำมีความ สราM งโต≥ะ การศกึ ษา สอบถาม สอบถาม ลึก 2 เมตรทำใหM เพิ่มเตมิ เพอ่ื พล 031309 ตMน/2563 ผลการเรียนไม> นั ก ศึ ก ษ าที่ ไม> มี เพอ่ื ปรบั ระดบั ว>ายน้ำ ผา> น 13 คน พ้ืนฐานมาก>อนไม> ความลกึ ของน้ำ สามารถปฏิบัติไดM นก 023065 ตMน/2563 ผลการเรยี นไม> นักศึกษาไม>เขMารับ ใหM นั ก ศึ ก ษ า นนั ทนาการ ผา> น 13 คน ก า ร ท ด ส อ บ กลับมาทำการ ชมุ ชน ประเมินความรMูใน ท ด ส อ บ อ งคH ร ะ ห ว> า ง ภ า ค ความรMูตามท่ีไดM การศกึ ษา แจงM มศ 042014 ปลาย/2563 ผลการเรยี นไม> นกั ศกึ ษาส>งงานไม> นกั ศกึ ษาส>งงาน วาทการ ผ>าน 12 คน ครบตามกำหนด ใหMครบตาม กำหนด

74 การเปดç รายวิชาในภาคหรอื ป>การศกึ ษา รหสั ช่ือวิชา ภาค/ป% เหตผุ ลที่ไม> มาตรการท่ี หวั ขอM ทีข่ าด สาเหตทุ ี่ วธิ ีแกไM ข การศกึ ษา เปáดสอน ดำเนนิ การ ไม>มี ไม>ไดสM อน มศ 051057 ตนM /2563 ไม>มี ภาษาองั กฤษ ตMน/2563 เพื่อการ ตนM /2563 ไม>มี สื่อสาร ตนM /2563 มศ 121003 ตMน/2563 ไม>มี สารสนเทศ ไม>มี เพ่ือการศึกษา ตนM /2563 คนM ควาM ไม>มี มศ 041013 ตนM /2563 การใชM ไม>มี ภาษาไทยเพ่ือ ตMน/2563 การสอื่ สาร ตนM /2563 ไม>มี ทท 011006 ไม>มี อตุ สาหกรรม การท>องเที่ยว ทท 044005 กฎหมายและ จรรยาบรรณ วิชาชพี การ ท>องเทย่ี วและ นันทนาการ ศท 041004 คุณธรรม จรยิ ธรรม สำหรบั บัณฑิต อุดมคติไทย นก 011030 นนั ทนาการ และการใชM เวลาวา> ง เบอ้ื งตนM พล 031309 วา> ยนำ้ ทท 012002 ประวัตศิ าสตรH และการ ท>องเทยี่ วไทย

รหสั ช่อื วชิ า ภาค/ป% เหตผุ ลทไ่ี ม> 75 หวั ขอM ทีข่ าด สาเหตทุ ี่ วธิ ีแกไM ข ทท 002002 การศกึ ษา เปดá สอน ไม>มี ไม>ไดMสอน การจัดการ มาตรการที่ งานสว> นหนMา ตนM /2563 ดำเนินการ ของโรงแรม ตนM /2563 นก 023067 ตMน/2563 ไม>มี กิจกรรมผจญ ตนM /2563 ภัยทาง ไม>มี นันทนาการ ตนM /2563 ไม>มี พล 051327 ตMน/2563 กฬี าทางน้ำ ไม>มี มศ 051055 ตMน/2563 ไมม> ี ภาษาอังกฤษ ตนM /2563 เพอื่ การ ตนM /2563 ไมม> ี ท>องเทีย่ วและ ตนM /2563 ไม>มี อตุ สาหกรรม การบริการ ไม>มี บธ 103038 ธุรกิจการบนิ ไม>มี ทท 052001 เทคโนโลยี สารสนเทศ สำหรับการ ทอ> งเที่ยวและ นนั ทนาการ พล 031309 วา> ยนำ้ ทท 012002 ประวัตศิ าสตรH และการ ท>องเทีย่ วไทย ทท 002002 การจดั การ งานส>วนหนาM ของโรงแรม นก 023067 กิจกรรมผจญ ภยั ทาง นนั ทนาการ

รหสั ชื่อวิชา ภาค/ป% เหตผุ ลท่ไี ม> 76 หัวขMอทีข่ าด สาเหตุที่ วธิ ีแกไM ข พล 051327 การศกึ ษา เปáดสอน ไม>มี ไม>ไดMสอน กฬี าทางน้ำ มาตรการท่ี มศ 051055 ตMน/2563 ดำเนินการ ภาษาองั กฤษ ตMน/2563 เพอ่ื การ ไม>มี ท>องเท่ยี วและ ตนM /2563 อตุ สาหกรรม ตMน/2563 ไม>มี การบริการ ไม>มี มศ 242002 ตMน/2563 พลวตั รกลม>ุ ตMน/2563 ไมม> ี และการสราM ง ตนM /2563 ไมม> ี ทีม ไมม> ี ทท 044002 ตนM /2563 จติ วิทยาการ ไม>มี บริการดาM น การท>องเท่ยี ว และ นันทนาการ มศ 054028 ภาษาอังกฤษ เพอ่ื การ บรกิ ารแบบมือ อาชพี มศ 053027 ภาษาองั กฤษ เพอ่ื การนำ เที่ยว ทท 014004 การจดั ประชมุ การท>องเทย่ี ว เพ่ือเปOนรางวัล และการจดั แสดง นิทรรศการ นก 023065 นนั ทนาการ ชมุ ชน

รหสั ชื่อวิชา ภาค/ป% เหตผุ ลท่ีไม> 77 หัวขอM ทีข่ าด สาเหตทุ ี่ วธิ ีแกไM ข สข 013039 การศึกษา เปáดสอน ไม>มี ไม>ไดสM อน เพศศึกษาและ มาตรการที่ ชวี ติ ครอบครวั ตMน/2563 ดำเนินการ นก 064002 ตMน/2563 เตรียมฝกj ไม>มี ประสบการณH ปลาย/2563 วิชาชพี ดาM น ปลาย/2563 ไมม> ี การท>องเทยี่ ว ปลาย/2563 ไมม> ี และ ปลาย/2563 ไม>มี นันทนาการ ปลาย/2563 ไม>มี สศ 021002 ปลาย/2563 ไม>มี บทบาท ปลาย/2563 ไม>มี พลเมือง ปลาย/2563 ไมม> ี มศ 051058 ไม>มี หลักการใชM ปลาย/2563 ภาษาองั กฤษ ไมม> ี พล 051327 กฬี าทางนำ้ มศ 042014 วาทการ นก 021076 การเปOนผูMนำ นนั ทนาการ ทท 022018 มัคคุเทศกแH ละ ผนMู ำเทย่ี ว นก 021077 เกมและการ เปOนผMูนำเกม นก 022074 การละเลน> พนื้ บาM นและ กฬี าไทย มศ 052025 ภาษาองั กฤษ เพอื่ การ ท>องเทีย่ ว

รหสั ชอ่ื วชิ า ภาค/ป% เหตผุ ลทไี่ ม> 78 หวั ขอM ทีข่ าด สาเหตุที่ วธิ ีแกไM ข นก 012003 การศกึ ษา เปáดสอน ไม>มี ไมไ> ดสM อน การจดั มาตรการที่ โปรแกรม ปลาย/2563 ดำเนนิ การ นันทนาการ ปลาย/2563 วท 112009 ไม>มี การใชM ปลาย/2563 โปรแกรม ปลาย/2563 ไม>มี สำเร็จรูปใน ปลาย/2563 ไม>มี ชีวติ ประจำวนั ปลาย/2563 ไม>มี นก 022062 การเปนO ผูMนำ ปลาย/2563 ไม>มี นนั ทนาการ ทท 022001 ปลาย/2563 ไม>มี ภูมศิ าสตรกH าร ปลาย/2563 ท>องเทยี่ ว ไม>มี วท 091005 ไม>มี คณิตศาสตรH และสถิตใิ น ชวี ิตประจำวนั ทท 003003 สถติ แิ ละการ วิจัยสำหรับ การทอ> งเท่ียว และ นนั ทนาการ ทท 042003 การจดั และ การบรหิ าร การท>องเทย่ี ว และ นนั ทนาการ นก 024075 การจดั การ คา> ยพักแรม ทท 013003 พฤติกรรม นกั ทอ> งเทีย่ ว

รหสั ช่อื วิชา ภาค/ป% เหตผุ ลที่ไม> 79 หวั ขMอท่ีขาด สาเหตุที่ วิธแี กไM ข การศึกษา เปดá สอน ไม>ไดสM อน มาตรการที่ ดำเนนิ การ ทท044002 ปลาย/2563 ไม>มี จิตวิทยาการ บรกิ ารดMาน ปลาย/2563 ไมม> ี การทอ> งเทีย่ ว ปลาย/2563 ไมม> ี และ ปลาย/2563 ไมม> ี นนั ทนาการ ทท 023004 การทอ> งเท่ียว เชงิ นิเวศ มศ 053027 ภาษาองั กฤษ เพื่อการนำ ทอ> งเที่ยว ทท 064003 การฝกj ประสบการณH วิชาชพี ดMาน การท>องเทย่ี ว และ นนั ทนาการ คุณภาพของการสอน การประเมินรายวิชาท่ีเปดç สอนในปท> ีร่ ายงาน รายวชิ าทีม่ ีการประเมนิ คณุ ภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน รหสั ชือ่ วชิ า ภาคการศกึ ษา ผลการประเมนิ โดย แผนการปรบั ปรงุ นกั ศึกษา มี ไมม> ี มศ 051057 ตนM /2563 √ ภาษาอังกฤษเพื่อการ ตนM /2563 √ ส่อื สาร ตนM /2563 √ มศ 121003 ตนM /2563 √ สารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษาคนM ควาM มศ 041013 การใชMภาษาไทยเพื่อ การสอื่ สาร ทท 011006 อุตสาหกรรมการ ท>องเท่ียว

รหสั ชอื่ วิชา ภาคการศึกษา 80 แผนการปรบั ปรุง ทท 044005 ตMน/2563 ผลการประเมนิ โดย กฎหมายและ นักศึกษา จรรยาบรรณวชิ าชพี ตนM /2563 การท>องเท่ียวและ มี ไมม> ี นันทนาการ ตMน/2563 √ ศท 041004 คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตนM /2563 √ สำหรับบณั ฑติ อดุ ม ตนM /2563 คติไทย ตMน/2563 √ นก 011030 ตMน/2563 นนั ทนาการและการ ตMน/2563 √ ใชเM วลาว>างเบ้ืองตนM ตMน/2563 √ พล 031309 √ ว>ายนำ้ ตMน/2563 √ ทท 012002 ตนM /2563 √ ประวตั ิศาสตรHและ √ การท>องเท่ียวไทย ทท 002002 √ การจัดการงานส>วน √ หนMาของโรงแรม นก 023067 กิจกรรมผจญภยั ทาง นันทนาการ พล 051327 กฬี าทางน้ำ มศ 051055 ภาษาอังกฤษเพอื่ การ ทอ> งเท่ียวและ อุตสาหกรรมการ บริการ บธ 103038 ธรุ กิจการบิน ทท 052001 เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับการทอ> งเที่ยว และนนั ทนาการ

รหสั ช่ือวิชา ภาคการศกึ ษา 81 แผนการปรบั ปรุง พล 031309 ตนM /2563 ผลการประเมนิ โดย ว>ายน้ำ ตนM /2563 นักศึกษา ทท 012002 ตนM /2563 ประวัติศาสตรแH ละ ตMน/2563 มี ไมม> ี การทอ> งเทีย่ วไทย ตMน/2563 √ ทท 002002 ตนM /2563 √ การจดั การงานส>วน √ หนMาของโรงแรม ตMน/2563 √ นก 023067 ตนM /2563 √ กิจกรรมผจญภยั ทาง √ นันทนาการ ตนM /2563 พล 051327 ตMน/2563 √ กฬี าทางนำ้ ตMน/2563 √ มศ 051055 ภาษาองั กฤษเพอื่ การ ตMน/2563 √ ท>องเที่ยวและ √ อตุ สาหกรรมการ √ บริการ มศ 242002 √ พลวัตรกลุ>มและการ สรMางทมี ทท 044002 จิตวทิ ยาการบรกิ าร ดMานการทอ> งเท่ยี ว และนันทนาการ มศ 054028 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การ บริการแบบมอื อาชพี มศ 053027 ภาษาอังกฤษเพอื่ การ นำเทยี่ ว ทท 014004 การจัดประชุมการ ทอ> งเที่ยวเพ่ือเปนO รางวลั และการจดั แสดงนิทรรศการ นก 023065 นันทนาการชมุ ชน

รหสั ช่อื วชิ า ภาคการศึกษา 82 แผนการปรบั ปรุง สข 013039 ตMน/2563 ผลการประเมนิ โดย เพศศกึ ษาและชวี ติ ตนM /2563 นักศึกษา ครอบครัว นก 064002 ปลาย/2563 มี ไมม> ี เตรยี มฝjก ปลาย/2563 √ ประสบการณวH ชิ าชพี ปลาย/2563 ดาM นการท>องเท่ยี ว ปลาย/2563 √ และนนั ทนาการ ปลาย/2563 สศ 021002 ปลาย/2563 √ บทบาทพลเมือง ปลาย/2563 √ มศ 051058 ปลาย/2563 หลักการใชM ปลาย/2563 √ ภาษาองั กฤษ ปลาย/2563 √ พล 051327 √ กฬี าทางน้ำ มศ 042014 √ วาทการ นก 021076 √ การเปOนผูMนำ นนั ทนาการ √ ทท 022018 มัคคุเทศกแH ละผูนM ำ √ เที่ยว นก 021077 √ เกมและการเปนO ผูMนำ เกม นก 022074 การละเล>นพ้ืนบMาน และกฬี าไทย มศ 052025 ภาษาองั กฤษเพ่ือการ ท>องเทย่ี ว นก 012003 การจัดโปรแกรม นันทนาการ

รหสั ช่อื วิชา ภาคการศกึ ษา 83 แผนการปรบั ปรุง วท 112009 ปลาย/2563 ผลการประเมนิ โดย การใชMโปรแกรม ปลาย/2563 นักศึกษา สำเร็จรูปใน ปลาย/2563 ชวี ิตประจำวนั ปลาย/2563 มี ไม>มี นก 022062 ปลาย/2563 √ การเปนO ผนMู ำ ปลาย/2563 นันทนาการ ปลาย/2563 √ ทท 022001 ปลาย/2563 √ ภมู ศิ าสตรกH าร ปลาย/2563 √ ทอ> งเทย่ี ว √ วท 091005 ปลาย/2563 คณิตศาสตรHและสถติ ิ ปลาย/2563 √ ในชวี ิตประจำวนั ทท 003003 √ สถติ แิ ละการวจิ ัย √ สำหรับการท>องเท่ยี ว √ และนนั ทนาการ ทท 042003การจัด √ และการบรหิ ารการ ท>องเท่ียวและ √ นนั ทนาการ นก 024075 การจัดการค>ายพัก แรม ทท 013003 พฤตกิ รรม นกั ท>องเท่ยี ว ทท044002 จิตวทิ ยาการบริการ ดMานการทอ> งเที่ยว และนนั ทนาการ ทท 023004 การท>องเทยี่ วเชงิ นเิ วศ มศ 053027 ภาษาอังกฤษเพอ่ื การ นำทอ> งเท่ียว

รหสั ช่ือวชิ า ภาคการศกึ ษา 84 แผนการปรบั ปรงุ ทท 064003 ปลาย/2563 ผลการประเมินโดย การฝกj ประสบการณH นักศกึ ษา วชิ าชพี ดาM นการ ทอ> งเทย่ี วและ มี ไมม> ี นันทนาการ √ ผลการประเมนิ คุณภาพการสอนโดยรวม รายงานประเมินการสอนปก% ารศึกษา 2563 ทุกรายวิชาทเี่ ปดá สอนอยใ>ู นระดับมาก (ค>าเฉล่ีย เท>ากบั 4.21) สาขาวชิ า การท>องเท่ยี วและนนั ทนาการ ภาคตMน ภาคปลาย ชน้ั ปท% ่ี 1 4.27 4.46 ช้ันปท% ่ี 2 4.34 3.96 ชั้นป%ท่ี 3 4.34 3.90 ช้นั ป%ที่ 4 4.29 - รวม 4.31 4.11 รวม 2 ภาคเรยี น 4.21 ประสิทธผิ ลของกลยุทธVการสอน สรุปขZอคิดเหน็ ของผสZู อน และ แนวทางแกไZ ขปรบั ปรงุ มาตรฐานผลการเรยี นรZู ขอZ มลู ปอx นกลบั จากแหลงR ตาR ง ๆ การจัดการเรียนการสอนใหMกับ หลักสูตรร>วมกับคณะและ คณุ ธรรมจริยธรรม นักศึกษาในปeจจุบันควรฝjกใหMมี วิทยาเขตมีการจัดทําและ น้ำใจนักกฬี า รับผิดชอบตอ> สังคม มี เขMาร>วมโครงการท่ีพัฒนา ความซ่ือสัตยH ขยันประหยัด อดทน นักศึกษาเพ่ือใหM นักศึกษา ยึดหลักธรรมในการดําเนินชีวิต มวี ินัย ตรงต>อเวลา และ มี อยา> งพอเพยี ง โดยเฉพาะอย>างยิง่ ใน ความรับผิดชอบ วิชาชีพ ดMานจิตอาสาในการพัฒนาทMองถ่ิน และสังคม โดยใชMวิชาชีพ ชมุ ชน และสงั คม แล ะ มี จิ ต อ าส าใน ก าร บรกิ ารวิชาการแก>สงั คม

85 มาตรฐานผลการเรยี นรูZ สรปุ ขอZ คดิ เห็นของผสูZ อน และ แนวทางแกไZ ขปรับปรงุ ความรูM ขZอมูลปxอนกลบั จากแหลงR ตRาง ๆ นักศึกษาเขMาใจทฤษฎีพ้ืนฐานดMาน อาจารยHผูMสอนควรมีกล ทักษะทางปeญญา ทกั ษะความสัมพนั ธรH ะหว>างบุคลและ การท>องเที่ยวและนันทนาการ ยทุ ธกH ารสอนที่หลากหลาย ความรับผิดชอบ สามารถวิเคราะหHหลักการ และ มีการบูรณาการความรูMกับ นําไปประยุกตHเพ่ือพัฒนาตนเอง ศาสตรHที่เกี่ยวขMอง จัดหา สรMางสรรคสH ังคม และประเทศชาติ วิท ย าก รที่ มี ค วาม รMู ใน ศาสตรHนั้นๆ และนําผูMเรยี น ไปศึกษาดูงาน ณ แหล>ง เรี ย น รูM ท่ี เ ปO น ตM น แ บ บ ใ น ดาM นต>าง ๆ เพื่อใหMเกิดการ เรี ย น รูM จ า ก ส ภ า พ จ ริ ง (learning by doing) และ นํ าไป ใชM ใน ก ารพั ฒ น า ตนเองและสังคมไดM หลักสูตรควรพัฒนานักศึกษาใหM ห ลั ก สูต รควรมี ก ารจั ด สามารถคิดวิเคราะหH สังเคราะหH กิจกรรม การเรียนการ แล ะป ร ะเมิ น อ ย> างเปO น ระบ บ สอนที่สามารถส>งเสริมใหM ส า ม า ร ถ นํ า ค ว า ม รMู ไป ใ ชM ใ น ผMูเรียนคิดวิเคราะหH โดย สถานการณตH า> ง ๆ อยา> งสรMางสรรคH สอดแทรกกิจกรรม การ เรียนการสอนใหMนักศึกษา คM น ค วMาห า ความ รูM ดM วย ตนเองดวM ย การเรียนรูMจาก ประสบการณตH รง มีการพฒั นานกั ศกึ ษาใหMมีภาวะผMูนํา จดั กิจกรรมการเรียนรMูผ>าน ผูMตาม มีความรับผิดชอบและเปOน ประสบการณHตรงจากการ สมาชกิ ที่ดขี องชมุ ชน สงั คม ทํางานเปOนทีมเพ่ือฝjกใหM เกิดความรับผิดชอบและ เขMาใจสถานภาพความเปOน ผMูนําและผMูตามท่ีดี พรMอม ทงั้ สามารถปรับตัวยอมรับ ตนเองและความแตกต>าง ของคนในสังคม

86 มาตรฐานผลการเรยี นรูZ สรุปขZอคิดเหน็ ของผสZู อน และ แนวทางแกZไขปรับปรุง ขZอมลู ปอx นกลบั จากแหลRงตRาง ๆ ทกั ษะการวเิ คราะหเH ชงิ ตวั เลข การ ห ลั ก สู ต รควรมี ก ารพั ฒ น าใหM จัดกิจกรรมการเรียนการ ส่ือสารและการใชเM ทคโนโลยสี ารสนเทศ นั ก ศึ ก ษ าส าม ารถเลื อ ก ใชM ส่ื อ สอนโดย เนMนการนําเสนอ เทคโนโลยีสารสนเทศในการคMนควMา ขM อ มู ล จ า ก ก า ร ใ ชM หาขMอมูลที่มีประสิทธิภาพ และ เท คโน โล ยีส ารส น เท ศ สามารถใชMภาษาอังกฤษเพื่อการ รวมทั้งจัดกิจกรรมในช้ัน สอื่ สารในชวี ิตประจําวันไดM เรียนหรือนอกช้ันเรียนที่ ฝjกใหMนักศึกษาไดMใชMภาษา เ พื่ อ ก า ร สื่ อ ส า ร ใ น สถานการณจH รงิ การปฐมนเิ ทศอาจารยใV หมR การปฐมนเิ ทศเพอื่ ชี้แจงหลกั สตู ร มี q ไมม> ี þ จำนวนอาจารยใH หม> ………………………. จำนวนอาจารยทH เี่ ขาM รว> มปฐมนเิ ทศ ………………… กิจกรรมการพฒั นาวิชาชีพของอาจารยVและบุคลากรสายสนับสนนุ กจิ กรรมที่จดั หรือเขาZ จำนวน สรุปขZอคิดเห็น และประโยชนVทีผ่ เูZ ขZารวR ม รRวม กจิ กรรมไดZรับ อาจารยV บุคลากรสาย โครงการพัฒนาศกั ยภาพ สนับสนนุ 1. อาจารยHเขMาใจความแตกตา> งระหว>าง งานวิจยั และนวตั กรรม บทความวจิ ยั และบทความวชิ าการ (กิจกรรมอบรมเชงิ P 2. อาจารยHมีแนวทางในการเขียนบทความวิจัย ปฏบิ ตั ิการเขยี นบทความ และบทความวิชาการท่ีเปนO แบบแผนมาตรฐาน วจิ ัย/บทความวชิ าการ เพ่ือเปนO หนง่ึ ในเอกสารสำคัญสำหรบั การขอรบั เพ่อื ตีพมิ พเH ผยแพร)> การพจิ ารณากำหนดตำแหน>งทางวิชาการ โครงการอบรมเชงิ P 1. อาจารยHมแี นวทางทช่ี ัดเจนในการทำผลงาน ปฏบิ ตั ิการการพฒั นา ทางวิชาการเพอ่ื ขอรบั การพจิ ารณากำหนด คุณภาพเอกสารผลงาน ตำแหน>งทางวชิ าการ ทางวชิ าการเพอื่ ขอรบั 2. อาจารยไH ดMมีโอกาสปรึกษาและรบั ความรจูM าก การพิจารณากำหนด วทิ ยากรทเ่ี ปOนผMูทรงคุณวฒุ ิตามสาขาของตนเอง ตำแหน>งรอง ศาสตราจารยH

87 กจิ กรรมท่จี ดั หรือเขZา จำนวน สรุปขZอคิดเห็น และประโยชนVทผ่ี เูZ ขZารRวม รRวม กจิ กรรมไดZรับ อาจารยV บคุ ลากรสาย โครงการอบรมเชงิ สนบั สนนุ 1. อาจารยมH แี นวทางทีช่ ัดเจนในการทำผลงาน ปฏิบตั กิ ารการพฒั นา ทางวชิ าการเพอ่ื ขอรบั การพิจารณากำหนด ทกั ษะการจัดทำเอกสาร P ตำแหนง> ทางวิชาการ ผลงานทางวิชาการเพือ่ 2. อาจารยHไดMมีโอกาสปรกึ ษาและรบั ความรจMู าก ขอรับการพจิ ารณา วิทยากรทเ่ี ปนO ผMทู รงคณุ วฒุ ติ ามสาขาของตนเอง กำหนดตำแหน>งผMูช>วย ศาสตราจารยH คณะศิลป 1. บุคลากรสายสนบั สนนุ มแี นวทางในการ ศาสตรH ปฏบิ ตั ิงานตามสายงานของตนท่ีชดั เจน พฒั นาบุคลากรสายสนบั 2. บคุ ลากรสายสนบั สนุนไดMพฒั นาศักยภาพ สนับดMานการปฏบิ ตั งิ าน P ดMานการทำงานในสายงานของตน 3. บุคลากรสายสนบั สนนุ ของวทิ ยาเขตมโี อกาส ไดพM บปะ ทำกจิ กรรมรว> มกนั ทำใหเM กิดความรกั สามัคคี สง> ผลใหเM กดิ บรรยากาศที่ดกี าร ดำเนินงานร>วมกัน หมวดท่ี 5 การบริหารหลักสตู ร การบรหิ ารหลกั สูตร ปญe หาในการบรหิ ารหลกั สตู ร ผลกระทบของปeญหาต>อสัมฤทธผิ ล แนวทางการปอk งกนั และแกMไข ตามวัตถุประสงคขH องหลักสูตร ปeญหาในอนาคต อาจารยHผMูรับผิดชอบหลักสูตร ส> ง ผ ล ใหM อ า จ า ร ยH ผูM รั บ ผิ ด ช อ บ คณะหรือมหาวทิ ยาลัยควรจดั สรร มีภาระงานนอกเหนือจากงาน หลักสูตรไม>มเี วลาท่ีจะพัฒนาผลงาน บุคลากรใหMเพียงพอต>อความ สอนมากตMองรบั ผดิ ชอบงานใน ทางวชิ าการหรือทําวิจัยของตนเอง ตMองการของหลกั สูตร คณะและในระดับวทิ ยาเขต

88 หมวดท่ี 6 ขอZ คดิ เหน็ และขอZ เสนอแนะเก่ียวกับคณุ ภาพหลักสตู รจากผZูประเมนิ ขอZ คดิ เห็นหรอื สาระจากผปูZ ระเมนิ ความเห็นของหลกั สูตร/ การนำไปดำเนินการวางแผน ผูรZ ับผดิ ชอบหลกั สตู รตRอ หรอื ปรบั ปรงุ หลกั สตู ร ขZอคิดเหน็ หรอื สาระท่ไี ดรZ บั สรุปการประเมินหลักสูตร การประเมนิ จากผทูM สี่ ำเรจ็ การศึกษา (รายงานตามปท% ส่ี ำรวจ) วันทสี่ ำรวจ ระหวา> งวันที่ 29 มนี าคม – 14 พฤษภาคม 2564 ขMอวพิ ากษทH ่สี ำคัญจากผลการประเมนิ ขMอคดิ เห็นของคณาจารยHตอ> ผลการประเมิน ผลการประเมนิ จากผทูM ี่สำเรจ็ การศึกษา พบวา> หลกั สตู รเห็นดวM ยกบั ผลการประเมนิ พรMอมท้ังเรง> นำ 1.หลักสตู รควรมีการพัฒนานกั ศกึ ษาทางดาM นการใชM ผลการประเมินไป ปรับปรงุ แกMไขตามประเด็นต>าง ๆ ภาษาอังกฤษในการสื่อสารเพื่อการประกอบอาชีพ 2.หลกั สตู รควรมีกจิ กรรมการฝกj ปฏิบัติจริงในทกั ษะ ทจี่ ำเปOนในอุตสาหกรรมการทอ> งเทย่ี วและ นันทนาการ ขอM เสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมนิ 1. หลักสูตรมีการจัดดำเนินโครงการเตรียมความพรMอมเพื่อสอบวัดระดับความสามารถดMานภาษาองั กฤษ และวิชาชพี และการดำเนนิ การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษของนักศึกษาทุกชนั้ ป% โดยเฉพาะนกั ศกึ ษาชนั้ ปท% ่ี 4 ทีจ่ ะทดสอบวัดระดับภาษาองั กฤษเมอ่ื จบการศึกษา ซงึ่ ส>งเสริมใหนM กั ศึกษามีทกั ษะในการฟงe การพดู การ อ>าน และการเขยี นภาษาอังกฤษในสถานการณHต>าง ๆ เพอ่ื เตรียมพรอM มสำหรับการประกอบอาชีพดMานการ ทอ> งเที่ยวและนันทนาการ 2. หลกั สตู รไดMวเิ คราะหHและจัดโครงการพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและการเสรมิ สรMางนกั ศกึ ษา สศ>ู ตวรรษท่ี 21 ซึง่ เปนO ไปตามตามกรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อดุ มศกึ ษา (TQF) โดยมีการฝกj อบรมทกั ษะชีวิตและ การทำงาน ทกั ษะการเรียนรูMและนวัตกรรม (การออกแบบผลิตภัณฑใH นยุคดจิ ทิ ัล) การทำการตลาดและ ตลาดออนไลนH

89 การประเมนิ จากผZมู ีสวR นเกย่ี วขอZ ง (ผZูใชบZ ณั ฑติ ) กระบวนการประเมนิ หลักสูตรประเมินคุณภาพบัณฑติ ตามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ โดยใชMแบบประเมินคณุ ภาพบณั ฑิตตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ (ระดบั อุดมศกึ ษา) ประจำปก% ารศกึ ษา 2563 เปOนการประเมนิ ทางออนไลนเH พื่อปฏิบัตติ าม มาตรการปkองกันการแพร>ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โควดิ 19 ขMอวิพากษทH ส่ี ำคัญจากผลการประเมนิ ขMอคดิ เหน็ ของคณาจารยHตอ> ผลการประเมนิ 1.หลักสตู รควรเสรมิ ทกั ษะการพูดภาษาอังกฤษใน หลักสตู รเห็นดวM ยกบั ผลการประเมนิ พรอM มทงั้ เรง> การประกอบอาชพี นำผลการประเมินไปปรบั ปรงุ แกMไขตามประเด็น ต>างๆ ขอM เสนอการเปล่ียนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน 1. หลักสูตรมีการจัดดำเนินโครงการเตรียมความพรMอมเพ่ือสอบวัดระดับความสามารถดาM นภาษาอังกฤษ และวิชาชีพ และการดำเนนิ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของนกั ศึกษาทุกช้นั ป% โดยเฉพาะนกั ศึกษาช้นั ป%ท่ี 4 ทจ่ี ะทดสอบวดั ระดับภาษาอังกฤษเมอื่ จบการศกึ ษา ซง่ึ ส>งเสรมิ ใหนM ักศึกษามีทกั ษะในการฟeง การพูด การ อ>าน และการเขียนภาษาอังกฤษในสถานการณHต>าง ๆ เพือ่ เตรยี มพรอM มสำหรับการประกอบอาชพี ดMานการ ท>องเทย่ี วและนันทนาการ หมวดท่ี 7 แผนการดำเนินการเพือ่ พฒั นาหลกั สูตร ความกาZ วหนาZ ของการดำเนนิ งานตามแผนทเี่ สนอในรายงานของปท> ่ีผาR นมา แผนดำเนินการ กำหนดเวลาท่ี ผรMู บั ผิดชอบ ความสำเรจ็ ของแผน/เหตผุ ลทไ่ี ม> แลวM เสรจ็ สามารถดำเนนิ การไดสM ำเรจ็ โครงการเตรยี มความ ส.ค.63 - ก.ค.64 ผศ.ปวีณา อุทุมภา นักศกึ ษาสามารถปรบั ตัวในช>วง พรMอมก>อนเขาM ศึกษา การเรียนภาคตนM ป1% ไดอM ย>างดี ลด ปญe หาการออกกลางคนั ไดM โครงการเตรียมความ ส.ค.63 - ก.ค.64 อ.อุมาพร แต>งเกลี้ยง นักศกึ ษามคี วามพรMอมดาM นทักษะ พรอM มนกั ศึกษาเขMาส>ู วิชาชพี ตลาดแรงงาน

90 ขZอเสนอในการพัฒนาหลกั สูตร 1. ขMอเสนอในการปรับโครงสรMางหลักสตู ร (จำนวนหน>วยกิต รายวิชาแกน รายวิชาเลอื กฯ) - ไม>มี 2. ขMอเสนอในการเปลยี่ นแปลงรายวชิ า (การเปลยี่ นแปลง เพมิ่ หรอื ลดเนอื้ หาในรายวชิ า การเปลย่ี นแปลง วธิ ีการสอนและการประเมินสมั ฤทธผิ ลรายวชิ าฯ) - มีการนํากรณศี กึ ษาจากงานวจิ ัยหรือบทความวิชาการทท่ี นั สมยั สอดแทรกเปนO กจิ กรรมในการเรียนการ สอนเพอื่ พฒั นาองคHความรใูM หมใ> นการพฒั นานักศึกษา 3. กิจกรรมการพฒั นาคณาจารยแH ละบุคลากรสายสนบั สนนุ - คณะและวทิ ยาเขตควรมีการจดั สรรงบประมาณในการพฒั นาอาจารยใH หเM พยี งพอและเหมาะสมตอ> การ พัฒนาอาจารยแH ละบุคลากรสายสนบั สนนุ แผนปฏิบตั ิการใหมสR ำหรบั ป> 2564 วนั เดอื น ป> ผูZรบั ผดิ ชอบ ตลอดป%การศึกษา 2564 อาจารยปH ระจำหลักสตู ร หวั ขZอแผนปฏิบัตกิ าร ตลอดป%การศกึ ษา 2564 อาจารยปH ระจำหลกั สตู ร แผนสง> เสริมพัฒนาคณุ ภาพบัณฑติ ตลอดป%การศกึ ษา 2564 อาจารยปH ระจำหลกั สูตร แผนสง> เสรมิ พัฒนานักศกึ ษา ตลอดปก% ารศึกษา 2564 อาจารยปH ระจำหลกั สูตร แผนการบูรณาการจัดการเรียนการสอน กบั การวิจยั การบริการวิชาการทางสังคม ตลอดปก% ารศกึ ษา 2564 อาจารยปH ระจำหลกั สตู ร และ การทาํ นุบาํ รงุ ศิลปวฒั นธรรม แผนสง> เสริมพฒั นาอาจารยH และบคุ ลากร ตลอดป%การศึกษา 2564 อาจารยปH ระจำหลักสตู ร สายสนบั สนุน แผนส>งเสริมพัฒนาบรหิ ารการจดั การ หลกั สูตร แผนสง> เสรมิ พัฒนาส่งิ สนบั สนุนการเรียนรูM

91 แบบรับรองความถูกตZองสมบรู ณขV องขอZ มลู ขอรบั รองวา> ขอM มลู ท่นี ำเสนอในรายงานฉบบั นไ้ี ดมM ีการดำเนนิ การจรงิ þ 1.เปOนอาจารยผH Mรู บั ผิดชอบ หลกั สตู รนีเ้ พียงหลักสตู รเดยี ว โดยไมไ> ดรM บั ผิดชอบหลกั สูตรอืน่ ๆ อีก þ 2. มปี ระสบการณผH ลงานวิจยั อาจารยผH รMู บั ผิดชอบหลกั สตู รคนท่ี หนง่ึ อาจารยHอุมาพร แต>งเกลย้ี ง 1. The Current Situation, Problems and Needs for Sustainable Tourism Management in the Krabi Province, Thailand. The 7th Institute of Physical Education International Conference 2017 2. Antecedent Of Expectation For Student Internship In Recreation And Tourism Program, Institute Of Physical Education, Southern Group. The 7th Institute of Physical Education International Conference 2017 อาจารยผH ูMรบั ผิดชอบหลกั สูตรคนที่ สอง ผูชM ว> ยศาสตราจารยสH ลกั เกียรติ ชมุ พรพนั ธุH 1. The Current Situation, Problems and Needs for Sustainable Tourism Management in the Krabi Province, Thailand. The 7th Institute of Physical Education International Conference 2017 อาจารยผH รMู บั ผิดชอบหลักสตู รคนที่ สาม ผMชู >วยศาสตราจารยปH ญe ญา ศักด์ิแกวM 1. The Management of Health Tourism: A case study of Salty Hot Springs in Amphur Klong Thom, Krabi. The 7thInstitute of Physical Education International Conference 2017 อาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลกั สตู รคนท่ี ส่ี ผูชM ว> ยศาสตราจารยHปวณี า อทุ ุมภา 1. The Management of Health Tourism: A case study of Salty Hot Springs in Amphur Klong Thom, Krabi. The 7thInstitute of Physical Education International Conference 2017 อาจารยผH ูMรบั ผดิ ชอบหลักสูตรคนท่ี หMา ผMชู >วยศาสตราจารยHปรศั นี ชว> ยการ ซอลฮิ ี 1. The Current Situation, Problems and Needs for Sustainable Tourism Management in the Krabi Province, Thailand. The 7thInstitute of Physical Education International Conference 2017 อาจารยผH Mรู บั ผดิ ชอบหลักสูตรคนท่ี หก อาจารยHตอ> สกลุ สกุลสริ ชิ าติ 1. Brand Marketing Strategies of Chonburi Football Club. The 7th Institute of Physical Education International Conference 2017

92 อาจารยผH ูMรบั ผดิ ชอบหลักสตู ร คนที่ 1 : อาจารยอH ุมาพร แต>งเกลยี้ ง ลายเซน็ : วนั ทร่ี ายงาน : 30 เมษายน 2564 อาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลักสูตร คนท่ี 2 : ผชMู ว> ยศาสตราจารยสH ลกั เกียรติ ชมุ พรพนั ธุH ลายเซน็ : วนั ทร่ี ายงาน : 30 เมษายน 2564 อาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร คนท่ี 3 : ผMชู ว> ยศาสตราจารยปH ญe ญา ศักด์แิ กMว ลายเซ็น : วนั ที่รายงาน : 30 เมษายน 2564 อาจารยผH ูMรบั ผดิ ชอบหลกั สูตร คนท่ี 4 : ผูMชว> ยศาสตราจารยปH วณี า อทุ มุ ภา ลายเซ็น : วันที่รายงาน : 30 เมษายน 2564 อาจารยผH รMู บั ผิดชอบหลกั สตู ร คนที่ 5 : ผูMชว> ยศาสตราจารยปH รศั นี ช>วยการ ซอลฮิ ี ลายเซน็ : วนั ทรี่ ายงาน : 30 เมษายน 2564 อาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลักสตู ร คนท่ี 6 : อาจารยตH อ> สกลุ สกลุ สริ ชิ าติ ลายเซ็น : วนั ที่รายงาน : 30 เมษายน 2564 เห็นชอบโดย : อาจารยHอมุ าพร แตง> เกลย้ี ง (หัวหนMา/ภาควชิ า) ลายเซน็ : วันท่ีรายงาน : 30 เมษายน 2564 เหน็ ชอบโดย : ผMชู >วยศาสตราจารยH วเิ ชยี ร โบบทอง (รองคณบด)ี ลายเซ็น : วันที่รายงาน : 30 เมษายน 2564 (นางสาวอุมาพร แตง> เกลยี้ ง) (ผMชู ว> ยศาสตราจารยH วิเชยี ร โบบทอง) หวั หนาM สาขาวชิ า การท>องเที่ยวและนนั ทนาการ รองคณบดีคณะศิลปศาสตรH วนั ท่ี 30 เมษายน 2564 วันท่ี 30 เมษายน 2564

93 ขอZ เสนอแนะจากผลการประเมนิ ของคณะกรรมการประเมนิ ปท> ผ่ี Rานมา ป>การศึกษา 2562 จดุ เดนR และแนวทางเสริม/จดุ ที่ควรพัฒนาและแนวทางปรบั ปรงุ องคปV ระกอบท่ี 1 การกำกบั มาตรฐาน แนวทางเสริม จุดเดRน - - จดุ ท่ีควรพัฒนา แนวทางปรบั ปรงุ -หลกั สูตรควรวางแผนในการแตง> ตง้ั อาจารยH -สนับสนุนใหMมีการเผยแพร>ผลงานวิชาการของ ผรูM บั ผดิ ชอบหลกั สตู รแทนอาจารยเH กษียณอายุ อาจารยผH ูรM บั ผิดชอบหลกั สตู รที่จะแต>งต้งั ใหม> เพือ่ ใหM ราชการ มีคุณสมบัติเปOนตามเกณฑHมาตรฐานหลักสูตร พ.ศ. 2558 องคปV ระกอบที่ 2 บณั ฑิต แนวทางเสรมิ จุดเดนR หลักสูตรควรรักษามาตรฐานการดำเนินงานนำ ขMอมูลไปประชาสัมพันธHหลักสูตร และจัดทำ บัณฑติ ไดMงานทำตรงสาขารอM ยละ 100 ฐานขMอมูลเกี่ยวกบั สถานประกอบการเพ่ือประโยชนH สำหรับบัณฑิตรน>ุ ถดั ไป จดุ ท่ีควรพัฒนา - แนวทางปรับปรุง - องคVประกอบที่ 3 นักศึกษา แนวทางเสรมิ จดุ เดRน - - แนวทางปรับปรงุ จดุ ทีค่ วรพัฒนา 1.หลักสูตรควรนำเสนอเชิงนโยบายในประเด็น 1.การรบั นกั ศึกษาไม>เปนO ไปตามแผนท่กี ำหนด กระบวนการรับนักศึกษาต>อผูMบริหารระดับคณะ วิทยาเขตเพ่ือกำหนดทิศทางการแกไM ขปeญหาร>วมกนั 2.การพฒั นาทักษะการเรียนรูขM องนักศกึ ษาใน 2.หลักสูตรควรวางแผนการจัดกิจกรรมทักษะการ ศตวรรษที่ 21 ยังไม>ครอบคลมุ ทกุ ดMาน เรียนรขMู องนักศึกษา โดยใหMครอบคลุมศตวรรษท่ี21 รวมทั้งมีการกำหนดเปkาหมายของกิจกรรมท้ังเชิง ปริมาณและเชิงคุณภาพ

94 องคปV ระกอบที่ 4 อาจารยV จดุ เดนR แนวทางเสรมิ -- จดุ ท่ีควรพัฒนา แนวทางปรบั ปรุง 1.ไมม> ีการนำระบบ กลไกไปส>ูการปฏบิ ตั /ิ ดำเนนิ งาน 1.ควรนำระบบและกลไกไปส>ูการปฏิบัติ โดย ม อ บ ห ม า ย บ ท บ า ท ห นM า ที่ ค วา ม รั บ ผิ ด ช อ บ ข อ ง อาจารยHผูMรับผิดชอบหลักสูตรแต>ละท>านใหMชัเดจน แ ล ะ ส รM า ง จิ ต ส ำ นึ ก ใหM แ ก> อ า จ า ร ยH ผMู รั บ ผิ ด ช อ บ หลักสูตรในการปฏิบัติงานตามบทบาทหนMาที่อย>าง 2.ไมม> แี ผนการพฒั นาอาจารยHผรูM บั ผิดชอบหลักสูตร เขMมแข็ง 2.จัดทำแผนการพัฒ นาอาจารยHผูMรับผิดชอบ หลักสตู รอยา> งเปOนรปู ธรรม เช>น การทำตำแหน>งทาง วิชาการ การจัดทำผลงานวชิ าการ เปOนตนM องคปV ระกอบที่ 5 หลักสูตร การเรยี นการสอน การประเมนิ ผเZู รียน จุดเดRน แนวทางเสรมิ -- จดุ ทค่ี วรพฒั นา แนวทางปรบั ปรุง 1.การจัดทำรายละเอยี ดของรายวิชา (มคอ.3 และ 1.หลักสูตรควรจัดทำระบบการรับส>งรายละเอียด มคอ.4) และรายงานผลการดำเนนิ งานของรายวิชา รายวิชา (มคอ.3 และ มคอ.4) และรายงานผลการ (มคอ.5 และ มคอ.6) ดำเนินงาน (มคอ.5 และ มคอ.6) และควรมีคณะ กรรมตรวจสอบความถูกตMองในดMานคุณภาพของ 2.การจดั การเรียนการสอนทมี่ กี ารบูรณาการกับ มคอ. 2.หลักสูตรตMองมีการวางแผนกำหนดเปkาหมายทั้ง งานวจิ ัย การบริการวิชาการแก>ชมุ ชน และการทำนุ เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ และกำกับติดตาม บำรงุ ศลิ ปะและวฒั ธรรมไมช> ดั เจน การบูรณาการจัดการเรียนการสอนกับงานวิจัย การ บริการวิชาการแก>ชุมชน และทำนุบำรุงศิลปะและ วัฒนธรรมใหMชดั เจนโดยใหปM รากฎอยใ>ู นมคอ.3 และ มคอ.4 องคVประกอบที่ 6 สิง่ สนบั สนนุ การเรยี นรูZ แนวทางเสริม จดุ เดนR - - แนวทางปรบั ปรงุ จดุ ท่ีควรพัฒนา 1.ควรนำระบบและกลไกไปส>ูการปฏบิ ตั ิ และ 1.ไม>มกี ารนำระบบและกลไกไปสก>ู ารปฏบิ ัติ/ วางแผนเพ่อื จดั หาสง่ิ สนบั สนนุ การเรยี นรMู เพ่อื นำผล ดำเนินงาน มาปรบั ปรงุ ในรอบปก% ารศกึ ษาถัดไป 2.ไมม> กี ารประเมนิ ความพงึ พอใจส่งิ สนบั สนุนการ เรียนรMู

95 ตารางสรุปผลการประเมนิ ตนเอง องคปV ระกอบ ตัวบRงช้ี ผRาน/ไมผR Rาน หมายเหตุ 1. การกำกบั มาตรฐาน 1.1 การบรหิ ารจดั การหลกั สตู ร ผา> น ตามเกณฑHมาตรฐานหลกั สูตรท่ี กำหนดโดย สกอ. คะแนน 0-5 2. บัณฑติ 2.1 คณุ ภาพบณั ฑติ ตามกรอบ 4.60 มาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศกึ ษา แห>งชาติ 2.2 การไดMงานทำหรอื ผลงานวจิ ยั 2.43 ของผสูM ำเรจ็ การศกึ ษา 3. นักศึกษา 3.1 การรบั นกั ศกึ ษา 3 3.2 การส>งเสรมิ และพฒั นานักศกึ ษา 3 3.3 ผลทเ่ี กดิ กบั นกั ศกึ ษา 3 4. อาจารยV 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารยH 3 4.2 คณุ ภาพอาจารยH 1.67 4.3 ผลทเี่ กิดกบั อาจารยH 3 5. หลักสตู ร การเรยี นการ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4 สอน การประเมนิ ผเZู รยี น 5.2 การวางระบบผสูM อนและ กระบวนการจัดการเรยี นการสอน 5 5.3 การประเมนิ ผเูM รยี น 4 5.4 ผลการดำเนินงานตามกรอบ 5 มาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อดุ มศกึ ษา แห>งชาติ 6. สิ่งสนับสนนุ การเรียนรูZ 6.1 ส่ิงสนบั สนนุ การเรียนรูM 4 ผลการประเมิน 3.52

96 ตารางการวเิ คราะหผV ลการประเมินตนเอง องคV การแปลผล ประกอ จำนวน I P O คะแนน 0.01-2.00 ระดบั คณุ ภาพนZอย บที่ ตัวบRงช้ี - เฉล่ีย 2.01-3.00 ระดบั คณุ ภาพปานกลาง 3.01-4.00 ระดับคณุ ภาพดี 4.01-5.00 ระดับคณุ ภาพดมี ากระดบั คณุ ภาพปานกลาง 1 ผRาน หลักสูตร ได/Z ไมไR ดมZ าตรฐาน 22 - 2.1, 2.2 3.52 ระดบั คณุ ภาพดี 33 3.1, 3.2, - - 3 ระดบั คุณภาพปานกลาง 3.3 2.56 ระดับคุณภาพปานกลาง 43 - - 4.5 4.1, 4.2, 4 ระดับคุณภาพดมี าก 54 4.3 5.2, 5.3, - ระดับคุณภาพดี 5.1 5.4 6 1 6.1 - รวม 13 - 4 2 ตบช. 7 รวม 2.95 4.5 3.52 3.52 คะแนน แปลผล ระดับ ระดับ ระดบั คณุ ภาพ คณุ ภาพดี คุณภาพดี ปานกลาง มาก หมายเหตุ ในประเดน็ ตัวบง> ชี้ที่ 3.3 และ 4.3 เปOนผลลพั ธขH องกระบวนการยอ> ย

97 รายการขMอมูลพน้ื ฐาน Common Data Set รายการที่ ชอ่ื ขอZ มูลพน้ื ฐาน จำนวน ขอM มลู อาจารยH 6 0 1 อาจารยผH รูM บั ผดิ ชอบหลักสตู ร 6 0 คณุ วฒุ ิปริญญาตรี 15 0 คณุ วฒุ ปิ รญิ ญาโท 13 2 คณุ วฒุ ิปริญญาเอก 4 0 2 อาจารยปH ระจำหลักสูตร 3 1 คุณวุฒปิ รญิ ญาตรี 0 4 คุณวฒุ ิปริญญาโท 0 4 คณุ วุฒปิ รญิ ญาเอก 0 0 3 อาจารยHผMสู อน 0 0 คณุ วฒุ ปิ รญิ ญาตรี 0 0 คณุ วุฒปิ ริญญาโท 0 0 คณุ วฒุ ปิ ริญญาเอก 0 4 อาจารยHผูMรับผดิ ชอบหลักสูตรทม่ี ีคุณวุฒิปรญิ ญาเอก 5 อาจารยผH รMู บั ผดิ ชอบหลักสตู รทีม่ ีตำแหนง> ทางวชิ าการ ตำแหนง> ผูMช>วยศาสตราจารยHทีม่ ีวฒุ ปิ ริญญาตรี ตำแหน>งผูMช>วยศาสตราจารยทH มี่ ีวฒุ ิปริญญาโท ตำแหนง> ผูMช>วยศาสตราจารยทH ีม่ ีวุฒิปริญญาเอก ตำแหนง> รองศาสตราจารยHท่ีมีวุฒิปริญญาตรี ตำแหน>งรองศาสตราจารยHทมี่ วี ฒุ ิปริญญาโท ตำแหน>งรองศาสตราจารยทH ีม่ ีวุฒิปรญิ ญาเอก ตำแหนง> ศาสตราจารยHท่ีมีวฒุ ิปรญิ ญาตรี ตำแหนง> ศาสตราจารยHท่ีมีวุฒปิ ริญญาโท ตำแหนง> ศาสตราจารยทH ี่มีวฒุ ิปรญิ ญาเอก 6 คณุ ภาพผลงานวชิ าการของอาจารยHผMรู บั ผดิ ชอบหลักสูตร บทความวจิ ัยหรือบทความวิชาการฉบบั สมบูรณทH ตี่ ีพิมพHในรายงานสืบเน่ืองจากการ ประชมุ วิชาการระดับชาติ (คา> น้ำหนัก 0.20)