Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

Published by Nurse Suwannalai, 2020-06-13 13:21:05

Description: เนื้อเยื่อพืช Plant tissue

Search

Read the Text Version

เนอ้ื เยอื่ พืช หน่วยที่ 1 โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องพืชดอก รายวิชาชวี วทิ ยา3 รหสั วิชา ว32241 ผูส้ อน นางสาวจิตตพิ ร สุวรรณาลยั ครชู ำนาญการ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นวีรวฒั น์โยธนิ อำเภอเมือง จังหวดั สรุ นิ ทร์ สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 33

• หนว่ ยที่เลก็ ที่สุดของสิ่งมชี วี ิต คือ เซลล์ (Cell) • เซลล์หลายๆ เซลลท์ ีม่ ีรปู รา่ งเหมือนกนั ทำหน้าทีอ่ ยา่ งเดียวกัน คือ เนื้อเยอื่ (Tissue) • เนื้อเยือ่ หลายๆ ชนิดร่วมกนั ทำงาน คือ อวยั วะ (Organ) • อวัยวะหลายๆ อย่างร่วมกันทำงานเกิดเปน็ ระบบอวัยวะ (Organ system)

เนื้อเยือ่ ของพืช (Plant tissue) แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ  เนื้อเยื่อเจริญ (Meristem)  เนื้อเยื่อถาวร (Permanent tissue) เนือ้ เยือ่ เจรญิ (Meristem) เนื้อเยือ่ ทมี่ ีเซลล์กำลงั แบง่ ตัวแบบไมโทซิส (Mitosis) เพื่อสรา้ งเซลล์ใหม่ มีลกั ษณะเดน่ คือ เซลลย์ ังมีชีวติ อยู่ ผนังเซลล์บาง เหน็ นิวเคลียสไดช้ ัดเจน เซลล์อยู่ชดิ ติดกันมาก และ สามารถเปลย่ี นแปลงไปทำหน้าทีต่ า่ งๆ

การเจริญเตบิ โตทีเ่ กิดจากเนือ้ เยื่อเจรญิ มี 2 แบบ คือ 1. การเจริญเตบิ โตขน้ั แรก (Primary growth) คือ รากและลำต้นมีความยาวเพม่ิ ขึ้น 2. การเจริญเตบิ โตขนั้ ทสี่ อง (Secondary growth) คือ รากและลำต้นมีความกว้างเพ่มิ ขนึ้ เนื้อเยือ่ เจรญิ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 กลุม่ คือ 1. เนื้อเยื่อเจริญส่วนปลาย (Apical meristem) 2. เนื้อเยือ่ เจริญเหนือข้อ (Intercalary meristem) 3. เนื้อเยื่อเจริญดา้ นข้าง (Lateral meristem) 1. เนือ้ เยื่อเจรญิ สว่ นปลาย (Apical meristem) เนื้อเยื่อเจริญทีอ่ ย่บู ริเวณปลายยอดหรือปลายราก รวมทั้งท่ีตา (Bud) ของลำตน้ ของ พืช เมื่อแบง่ เซลลแ์ ล้วทำให้ปลายยอดหรือปลายรากยืดยาวออกไป

2. เนือ้ เยื่อเจรญิ เหนอื ข้อ (Intercalary meristem) เนื้อเยือ่ เจริญทีอ่ ย่เู หนือโคนปลอ้ ง (Internode) หรือเหนือขอ้ (Node) ทำให้ปล้องยืด ยาวขึน้ พบได้ในพืชใบเล้ยี งเดีย่ วบางชนิด เช่น หญ้า ข้าว ข้าวโพด ไผ่ อ้อย เปน็ ต้น ภาพท่ี 1-3 แสดงข้อ (Nodes) และปลอ้ ง (Internodes) ของต้นไผ่

3. เนื้อเยือ่ เจรญิ ดา้ นขา้ ง (Lateral meristem) เนื้อเยือ่ เจริญที่อยทู่ างดา้ นข้างของรากหรือลำต้น เมือ่ แบง่ ตวั ทำใหเ้ พิม่ ขนาดของราก หรือลำต้น เนื้อเยื่อเจรญิ ชนิดนี้ เรียกได้อีกอย่างหนึง่ วา่ แคมเบียม (Cambium) พบในพืชใบ เล้ียงคทู่ ว่ั ๆ ไป และพชื ใบเล้ียงเดีย่ วบางชนิด เช่น จนั ทนผ์ า หมากผู้หมากเมยี เป็นต้น ภาพท่ี 1-4 แสดงเนอื้ เยื่อเจริญดา้ นข้าง (The American Phytopathological Society,1994-2007)

เนือ้ เยือ่ ถาวร (Permanent tissue) เนื้อเยือ่ ถาวรเปน็ กล่มุ เซลล์ที่มีรปู ร่างและหน้าที่แตกตา่ งกนั ไป แบ่งไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 1. เนื้อเยือ่ ถาวรเชงิ เดี่ยว (Simple permanent tissue) 2. เนื้อเยื่อถาวรเชงิ ซอ้ น (Complex permanent tissue) 1. เนื้อเยือ่ ถาวรเชิงเดย่ี ว (Simple permanent tissue) กลุ่มเซลล์ที่ประกอบด้วยเซลล์ชนิดเดยี วกนั ทำหน้าที่อยา่ งเดียวกัน ประกอบดว้ ย เนื้อเยื่อป้องกนั (Protective tissue) และเนื้อเยื่อพื้น (Ground tissue)

เนือ้ เยื่อป้องกนั (Protective tissue) ประกอบดว้ ย o เอพเิ ดอรม์ ิส (Epidermis) o คอร์ก (Cork) หรือเฟลเลม (Phellem) ภาพท่ี 1-5 แสดงเน้อื เยื่อปอ้ งกนั เอพเิ ดอรม์ ิส (University of Illinois, 2006) ภาพที่ 1-6 แสดง คอรก์ (University of Hamburg, 2006)

เนือ้ เยือ่ พนื้ (Ground tissue) ประกอบดว้ ย o พาเรงคิมา (Parenchyma) o คอลเลงคิมา (Collenchyma) o สเกลอเรงคิมา (Sclerenchyma) o เอนโดเดอร์มิส (Endodermis) ภาพท่ี 1-7 แสดงพาเรงคมิ า (Pearson Prentice Hall School, 2006)

ภาพท่ี 1-8 แสดงคอลเลงคิมา (Simmons, K., 2004) ภาพท่ี 1-9 แสดงสเกลอเรงคิมา (Arizona State University, 2006)

ภาพท่ี 1-10 แสดงเอนโดเดอรม์ ิส (Farabee, M., No Date) 2. เนือ้ เยื่อถาวรเชิงซอ้ น (Complex permanent tissue) กล่มุ เซลล์ทีป่ ระกอบด้วยเซลลห์ ลายชนิดอยู่รวมกันและทำงานรว่ มกนั เปน็ เนื้อเยือ่ ลำเลยี ง (Vascular tissue) ได้แก่ ไซเลม (Xylem) และโฟลเอม (Phloem)

ไซเลม (Xylem) เนื้อเยื่อของพืชที่ทำหน้าที่ลำเลียงน้ำและแร่ธาตุต่างๆ ไปส่สู ว่ นตา่ งๆ ของพืช ประกอบดว้ ยกล่มุ เซลล์ท่ที ำหน้าที่หลักในการลำเลยี งน้ำ ได้แก่ เซลล์พาเรงคิมา (Parenchyma) ไฟเบอร์ (Fiber) เทรคีด (Tracheid) และเวสเซล อีลีเมนต์ (Vessel element) โฟลเอม (Phloem) เนื้อเยือ่ ของพืชที่ทำหน้าที่ลำเลียงอาหาร ไปส่สู ่วนต่างๆ ของพืช ประกอบดว้ ยกลมุ่ เซลล์ ได้แก่ เซลลพ์ าเรงคิมา (Parenchyma) ไฟเบอร์ (Fiber) ซีฟทวิ บ์เมมเบอร์ (Sieve tube member) และคอมพาเนียนเซลล์ (Companion cell) ภาพท่ี 1-11 แสดงไซเลม (Xylem) และโฟลเอม (Phloem)

ภาพท่ี 1-12 แสดงไซเลม ชนดิ ไฟเบอร์ (คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 2548)

ภาพท่ี 1-13 (ซ้าย) แสดงไซเลม ชนดิ เทรคีด (Armstrong, W. P., 2006) และ (ขวา) แสดงไซเลม ชนดิ เวสเซลอีลเี มนต์ (Armstrong, W.P., 2006)

ภาพท่ี 1-14 แสดงโฟลเอม็ (SparkNotes LLC, Plant Classification, Tracheophytes, 2006)

พืชมีท่อลำเลียง ประกอบด้วย ระบบเนื้อเยือ่ (Tissue system) 3 ชนิด คือ 1. ระบบเนื้อเยื่อพนื้ (Ground tissue system) 2. ระบบเนื้อเยือ่ ลำเลยี ง (Vasscular tissue system) 3. ระบบเนื้อเยื่อผิว (Dermal tissue system) ภาพท่ี 1-15 แสดงระบบเน้ือเยื่อพ้ืน ระบบเนือ้ เยื่อลำเลียงและระบบ เนือ้ เยือ่ ผิวในสว่ นต่าง ๆ ของพืช ทง้ั ใบ ลำต้น และราก (สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี, 2548, หน้า 50)

เน้อื เยอื่ พืช หนว่ ยที่ 1 โครงสรา้ งและหน้าทขี่ องพืชดอก รายวิชาชวี วทิ ยา3 รหสั วิชา ว32241 จัดทำโดย นางสาวจิตตพิ ร สุวรรณาลยั กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นวีรวฒั นโ์ ยธนิ อำเภอเมือง จงั หวดั สรุ นิ ทร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook