Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์

ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์

Published by E-book_nkpsci, 2021-09-10 04:39:38

Description: ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์

Search

Read the Text Version

ปรากฏการณท์ างดาราศาสตร์ ศูนย์วทิ ยาศาสตร์เพ่ือการศกึ ษานครพนม สานกั สงาานนักสงง่ าเนสรปิมลกัดากรรศะกึ ทษราวนงศอึกษระาบธบกิ าแรละกราะรทศรกึ วษงาศตกึ าษมาอธัธกิ ยาารศยั

ปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ระบบวงโคจรของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ (Sun - Earth - Moon connection) ทาให้เกิดปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ ในรอบวัน รอบเดือน หรือรอบปี ส่วนใหญ่จะเป็นปรากฏการณ์ทางแสง ได้แก่ กลางวันกลางคืน, ฤดูกาล, ข้างข้ึนข้างแรม, สรุ ยิ ปุ ราคา, จนั ทรุปราคา ส่วนปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขนึ้ จากแรงโน้มถว่ ง ได้แก่ นา้ ขนึ้ นา้ ลง - กลางวันกลางคนื เกิดจาก โลกหมุนรอบตัวเอง - ฤดกู าล เกดิ จากแกนโลกเอยี งขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ - ข้างขึ้นข้างแรม เกิดจากภาพปรากฏของดวงจันทร์ท่ีมองจากโลกเปลี่ยนไป เน่ืองจากดวงจนั ทร์โคจรรอบโลก - น้าข้ึนน้าลง เกดิ จาก แรงโน้มถ่วงของดวงจนั ทร์ทกี่ ระทาตอ่ น้าในมหาสมทุ ร - สุริยปุ ราคา เกิดจาก เงาของดวงจนั ทรท์ อดลงมายังโลก - จันทรปุ ราคา เกิดจาก เงาของโลกทอดไปยงั ดวงจนั ทร์

การเกิดกลางวนั กลางคนื การเคลอ่ื นที่ของโลกมี 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การหมนุ รอบตวั เองและการโคจรรอบดวงอาทติ ย์ โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกมาทิศตะวันออก หรือการหมุนทวนเข็มนาฬิกา ขณะที่โลกหมุนแกนของโลกเอียงทามุมกับระนาบการโคจรของโลก 66องศาคร่ึง หรือเอียง จากแนวด่ิง 23องศาครึ่ง การหมุนรอบตัวเองของโลกรอบหน่ึงๆ กินเวลา 1 วัน หรือ 23 ช่ัวโมง 56 นาที 4.09 วินาที เป็นเหตุทาให้เกิดกลางวันและกลางคืน โดยด้านที่ได้รับแสง จากดวงอาทิตย์จะเป็นเวลากลางวัน ส่วนด้านไม่ได้รับแสงจะเป็นเวลากลางคืน ซ่ึงตาแหน่ง ต่างๆ บนพ้ืนผิวโลกจะมี ระยะเวลาที่เป็นกลางวันและกลางคืนยาวไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับ ตาแหน่งท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปอยู่ที่ใด ตามฤดูกาลใน 1ปี จะมีเพียง 2 วันเท่าน้ัน ที่ตาแหน่งต่างๆ บนพ้ืนผิวโลก จะมีระยะเวลากลางวัน 12 ชั่วโมงและกลางคืน 12 ชั่วโมง (เวลากลางวันเทา่ กบั กลางคนื ) คือ ตาแหน่งท่โี ลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ไปอยู่ ณ ตาแหน่ง ท่ี เรียกว่า วิษุวัต equinox มี 2 ตาแหน่ง คือ วสันตวิษุวัต vernal equinox ตรงกับ วันท่ี 21 มนี าคมและตาแหนง่ ศารทวษิ ุวัต autumnal equinox ตรงกับวันที่ 23 กันยายน ซึ่งท้ังสองตาแหน่งดังกล่าว เป็นตาแหน่งท่ี แสงดวงอาทิตย์ ส่องต้ังฉากกับพื้นผิวโลก บริเวณเส้นศนู ยส์ ตู ร (ละติจดู 0 องศา)

ในเวลา กลางวนั จะมดี วงอาทิตยเ์ สมอ ทาหน้าท่ีให้แสงสวา่ งทาให้เรามองเห็นสงิ่ ต่างๆ ความร้อนจากดวงอาทติ ย์ทาให้โลกอบอุ่น ผา้ แหง้ เร็ว และยงั นามาถนอมอาหารไดด้ ้วย แสงสวา่ งจากดวงอาทติ ย์สามารถนามาผลติ เปน็ กระแสไฟฟ้าให้ความสวา่ งในบา้ นเรอื นได้ และเมอื่ ถึงตอนกลางคนื ดวงอาทติ ยจ์ ะหายไป ในเวลา กลางคืน เมื่อดวงอาทิตย์ตก เราจะมองเห็นดวงจันทร์ และดวงดาวแทน อากาศจะเย็นลงเน่ืองจากไม่มคี วามอบอนุ่ จากดวงอาทติ ย์ (ดวงจันทรส์ ว่างเพราะได้รับแสง จากดวงอาทิตย์ ถ้าไม่มีดวงอาทิตย์เราก็จะมองไม่เห็นดวงจันทร์) และเมื่อดวงอาทิตย์ขึ้น อีกครง้ั กลางวันและกลางคนื จะหมนุ เวียนสลับกนั ไปเสมอ

โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ มีลักษณะเป็นวงรีในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา หมุนรอบ หน่งึ ๆ กนิ เวลา 1 ปี(365 วัน 5ชวั่ โมง 48 นาท)ี ทาให้เกิดฤดูกาลต่างๆ ข้ึน ในขณะที่โลก โคจรรอบดวงอาทิตย์แกนโลกเอียง 23.5 องศา มิได้ตั้งฉากกับทางโคจรของโลกจึงทาให้ โลกทุกสว่ นไดร้ บั แสงอาทติ ยไ์ ม่เทา่ กนั โลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออก ทาให้เกิดกลางวันและ กลางคืน ด้านท่ีหันรับแสงอาทิตย์เป็นกลางวัน ด้านตรงข้ามท่ีไม่ได้รับแสงอาทิตย์ เปน็ กลางคืน

การเกิดฤดูกาล ฤดกู าล (Seasons) เกดิ จากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์โดยที่แกนของโลกเอียง 23.5° ในฤดรู อ้ นโลกเอียงขัว้ เหนอื เข้าหาดวงอาทิตย์ ทาให้ซีกโลกเหนือกลายเป็นฤดูร้อน และ ซีกโลกใต้กลายเป็นฤดหู นาว หกเดือนตอ่ มาโลกโคจรไปอยู่อีกด้านหนึ่งของวงโคจร โลก เอียงข้ัวใต้เข้าหาดวงอาทิตย์ (แกนของโลกเอียง 23.5° คงที่ตลอดปี) ทาให้ซีกโลกใต้ กลายเป็นฤดูร้อน และซกี โลกเหนือกลายเป็นฤดูหนาว วันท่ี 20 - 21 มิถุนายน เปน็ วนั ครีษมายัน (Summer Solstice) โลกหนั ซีกโลกเหนือ เข้าหาดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่ค่อนไปทางทิศเหนือ (Dec+23.5°) ดวงอาทติ ย์ขน้ึ เรว็ ตกชา้ เวลากลางวนั ยาวกว่ากลางคืน ซกี โลกเหนือเป็นฤดรู ้อน

วันที่ 22 - 23 กันยายน เป็นวันศารทวิษุวัต (Autumnal Equinox) ดวงอาทิตย์ขึ้น ตรงทิศตะวันออกและตกตรงทิศตะวันตกพอดี กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ซีกโลก เหนือเป็นฤดูใบไม้ร่วง เนื่องจากโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ลดลงเมื่อเทียบกับฤดู ร้อน ต้นไม้จึงผลัดใบทง้ิ วันท่ี 20 - 21 ธันวาคม เป็นวันเหมายัน (Winter Solstice) โลกหันซีกโลกใต้เข้า หาดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเห็นดวงอาทิตย์อยู่ค่อนไปทางทิศใต้ (Dec -23.5°) ซีกโลก เหนือเป็นฤดูหนาว ดวงอาทิตย์ขึ้นช้าตกเร็ว เวลากลางวันสั้นกว่ากลางคืน โลกจึงได้รับ พลังงานจากดวงอาทิตย์น้อยที่สุด ต้นไม้ในเขตละติจูดสูงทิ้งใบหมด เนื่องจากพลังงาน แสงแดดไมพ่ อสาหรับการสงั เคราะหแ์ สง วันที่ 20 - 21 มีนาคม (Vernal Equinox) ดวงอาทิตย์ข้ึนตรงทิศตะวันออกและ ตกตรงทิศตะวันตกพอดี กลางวันและกลางคืนยาวเท่ากัน ซีกโลกเหนือเป็นฤดูใบไม้ผลิ เน่ืองจากโลกได้รับพลังงานจากดวงอาทิตย์มากข้ึนเม่ือเทียบกับฤดูหนาว ต้นไม้ผลิใบ ออกมาเพอ่ื สงั เคราะหแ์ สงผลติ อาหาร

ความแตกต่างของชว่ งเวลากลางวันและกลางคืนมีอิทธิพลต่อการผลิและผลัดใบใน เขตละติจูดสูงๆ เช่น ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือ แต่ในเขตละติจูดต่าใกล้เส้นศูนย์สูตร จะไม่มีผลมากนัก เนื่องจากดวงอาทิตย์ปรากฏเป็นมุมสูงใกล้จุดเหนือศีรษะ พ้ืนผิวโลก ไดร้ บั พลงั งานจากดวงอาทิตยม์ ากตลอดทัง้ ปี ต้นไมจ้ งึ ไมผ่ ลดั ใบ ภาพลมมรสมุ ทพ่ี ดั ผ่านประเทศไทย ถา้ หากพ้นื ผิวของโลกมีสภาพเป็นเน้ือเดียวเหมือนกันหมด (ทรงกลมที่สมบูรณ์) ทุกบริเวณของโลกจะมี 4 ฤดูตามท่ีกล่าวมาแล้วข้างต้น อย่างไรก็ตามพ้ืนผิวโลกมี สภาพแตกต่างกัน เช่น ภูเขา ท่ีราบ ทะเล มหาสมุทร ซ่ึงส่งอิทธิพลต่อสภาพลมฟ้า อากาศ ประเทศไทยตั้งอยู่บนคาบสมุทรอินโดจีน ขนาบด้วยมหาสมุทรอินเดียกับทะเล จนี ใต้ จึงตกอยใู่ นอทิ ธิพลของลมมรสมุ (Monsoon) ทาให้ประเทศไทยมี 3 ฤดู ดงั น้ี ฤดรู อ้ น: ตงั้ แต่เดอื นมีนาคม ถึงกลางเดือนพฤษภาคม ฤดฝู น: ตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม ถึงปลายเดือนตลุ าคม ฤดหู นาว: ตั้งแตป่ ลายเดือนตุลาคม ถึงเดอื นกุมภาพนั ธ์

การเกดิ ข้างขึ้นขา้ งแรม ข้างข้ึนข้างแรม (The Moon’s Phases) เกิดขึ้นเน่ืองจากดวงจันทร์มีรูปร่างเป็น ทรงกลม ไม่มีแสงในตัวเอง ด้านสว่างได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ แต่ด้านตรงข้ามกับดวง อาทติ ยถ์ กู บังด้วยเงาของตวั เอง ดวงจันทรโ์ คจรรอบโลก ทาให้มุมระหว่างดวงอาทิตย์-ดวง จันทร์-โลก เปล่ียนแปลงไปวันละ 12 องศา เมื่อมองดูดวงจันทร์จากโลก เราจึงมองเห็น เส้ียวของดวงจนั ทร์มีขนาดเปลีย่ นไปเป็นวงรอบดังภาพท่ี 1 ใชป้ ระมาณ 30 วนั ภาพการเกิดขา้ งข้นึ ขา้ งแรม คนไทยแบ่งเดือนทางจันทรคติ (Lunar month) ออกเป็น 30 วัน คือ วันข้ึน 1 ค่า - วันข้ึน 15 ค่า และ วันแรม 1 ค่า - วันแรม 15 ค่า โดยถือให้วันขึ้น 15 ค่า (ดวงจันทร์ สว่างเต็มดวง), วันแรม 15 ค่า (ดวงจันทร์มืดทั้งดวง), วันแรม 8 ค่า และวันข้ึน 8 ค่า (ดวงจนั ทร์สว่างครึ่งดวง) เปน็ วันพระ

วันแรม 15 ค่า (New Moon): เม่ือดวงจันทร์อยู่ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ หนั ด้านเงามืดเขา้ หาโลก ตาแหนง่ ปรากฏของดวงจนั ทรอ์ ย่ใู กล้กบั ดวงอาทติ ย์ แสงสวา่ งของ ดวงอาทิตย์ ทาใหเ้ ราไม่สามารถมองเหน็ ดวงจนั ทร์ได้เลย หรือทเี่ ราเรยี กว่า วนั เดือนดับ วันขึ้น 8 ค่า (First Quarter): เมื่อดวงจนั ทรเ์ คลอื่ นมาอยู่ในตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลก กบั ดวงอาทติ ย์ ทาใหเ้ รามองเหน็ ด้านสวา่ งและด้านมดื ของดวงจนั ทร์มขี นาดเท่ากัน วันข้ึน 15 ค่า หรือ วันเพ็ญ (Full Moon): ดวงจันทร์โคจรมาอยู่ด้านตรงข้ามกับดวง อาทติ ย์ ดวงจันทร์หันดา้ นทไี่ ด้รบั แสงอาทิตยเ์ ข้าหาโลก ทาใหเ้ รามองเหน็ ดวงจนั ทร์เตม็ ดวง วนั แรม 8 คา่ (Third Quarter): ดวงจนั ทร์โคจรมาอยใู่ นตาแหน่งมุมฉากระหว่างโลกกับ ดวงอาทิตย์ ทาให้เรามองเหน็ ด้านสวา่ งและด้านมืดของดวงจนั ทรม์ ีขนาดเท่ากัน

วิธสี งั เกตดวงจันทร์ ข้างขึ้น - ขา้ งแรม คนโบราณมองเห็นพ้ืนที่สีคล้าซ่ึงเต็มไปด้วยหลุมอุกาบาตบนดวงจันทร์เป็นรูป กระต่าย ดังภาพที่ 2 เราสามารถใช้รูปกระต่ายบนดวงจันทร์ช่วยสังเกตข้างข้ึนข้างแรม ไดด้ ังนี้ ภาพ กระต่ายบนดวงจันทร์ วันข้ึน 15 ค่า (Full Moon): ดวงจันทรอ์ ยู่ทางด้านตรงข้ามกับดวงอาทติ ย์ เราจะ มองเห็นดวงจันทรเ์ ตม็ ดวง ขนึ้ ท่ีขอบฟ้าด้านทิศตะวันออกเวลาประมาณ 6 โมงเย็น ขา้ งแรม (Waning Moon): เน่ืองจากดวงจันทรโ์ คจรรอบโลก 1 รอบใชเ้ วลา 29.5 วนั ทาให้เรามองเหน็ ดวงจนั ทรข์ ้ึนชา้ วันละ 50 นาที หรอื ประมาณ 12 องศา เราจงึ มองเห็น ดวงจันทร์ตอนเยน็ กอ่ นดวงอาทิตยต์ ก และเห็นหัวกระต่าย เสีย้ วของดวงจันทร์บางข้ึน จนกระทงั่ มดื หมดท้งั ดวงในวันแรม 15 คา่

วันแรม 15 ค่า (New Moon): ดวงจันทร์อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กับโลก เราจึง มองเหน็ แตเ่ งามืดของดวงจนั ทร์ ดวงจนั ทรจ์ ะขนึ้ และตกพร้อมๆ กับดวงอาทติ ย์ ข้างขึ้น (Waxing Moon): เราจะมองเห็นดวงจันทร์ตอนรุ่งเช้าก่อนดวงอาทิตย์ข้ึน และไม่เหน็ หวั กระต่าย เสี้ยวของดวงจันทร์จะหนาข้ึนจนกระทั่งสว่างเต็มดวงในวันขึ้น 15 คา่

นา้ ขน้ึ น้าลง เม่ือดาวดวงหน่ึงได้รับอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงจากดาวอีกดวงหน่ึง ด้านท่ีอยู่ใกล้จะ ถูกดึงดูดมากกว่าด้านที่อยู่ไกล ความแตกต่างของแรงทั้งด้านจะทาให้เกิดความเครียด ภายใน ถ้าเน้ือของดาวไม่แข็งแรงพอก็อาจจะทาให้ดาวแตกได้ ถ้าเน้ือของดาวมีความ หยุ่นก็จะทาให้ดาวยืดออกเป็นทรงรี เราเรียกแรงภายในท่ีแตกต่างนี้ว่า \"แรงไทดัล\" (Tidal force) ยกตัวอย่างเช่น แรงท่ีทาให้ดวงจันทร์บริวารแตกเป็นวงแหวนของดาว เสาร์ แรงท่ที าให้ดาวพธุ เปน็ ทรงรี และแรงทท่ี าใหเ้ กดิ นา้ ข้ึนนา้ ลง เหตใุ ดนา้ จึงข้นึ สองด้าน แรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์กระทา ณ ตาบลต่างๆ ของโลกแตกต่างกัน โดย สามารถวาดลูกศรแสดงขนาดและทิศทาง ของแรงดึงดูด ซ่ึงเกิดจากอิทธิพลความ โนม้ ถว่ งของดวงจนั ทร์ ภาพแรงโนม้ ถว่ งของดวงจนั ทร์ทก่ี ระทาต่อโลก เม่ือพิจารณาแรงไทดัล ณ จุดใดๆ ของโลก แรงไทดัลภายในโลกมีขนาดเท่ากับ ความแตกต่างระหว่างแรงดึงดูดจากดวงจันทร์ท่ีกระทาต่อจุดนั้นๆ กับแรงดึงดูดจากดวง จันทร์ท่ีกระทาต่อศูนย์กลางของโลก ซึ่งสามารถเขียนลูกศรแสดงขนาดและทิศทางของ แรงดังภาพแรงไทดัลบนพ้ืนผิวโลก ภาพแรงไทดัลบนพน้ื ผวิ โลก

เน่ืองจากเปลือกโลกเป็นของแข็ง จึงไม่สามารถยืดหยุ่นตัวไปตามแรงไทดัลซ่ึงเกิด จากแรงโน้มถ่วงของดวงจันทร์ได้ แต่ทว่าพ้ืนผิวส่วนใหญ่ของโลกปกคลุมด้วยน้าใน มหาสมุทร จึงปรับตัวเป็นรูปทรงรี ตามแรงไทดัลท่ีเกิดข้ึนดังรูปท่ี 6 ทาให้เกิด ปรากฏการณ์ \"น้าขึ้นน้าลง\"(Tides) โดยท่ีระดับน้าทะเลจะข้ึนสูงสุดบนด้านท่ีหันเข้า หาดวงจันทร์และด้านตรงข้ามดวงจันทร์ (ตาแหน่ง H และ H’) และระดับน้าทะเลจะลง ต่าสุดบนด้านที่ต้ังฉากกับดวงจันทร์ (ตาแหน่ง L และ L’) โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ ทาให้ ณ ตาแหน่งหนึ่งๆ บนพื้นผิวโลก จึงเคล่ือนผ่านบริเวณที่เกิดน้าขึ้นและน้าลงทั้ง สองด้าน ทาให้เกิดน้าขน้ึ น้าลงวนั ละ 2 ครัง้ ภาพแรงไทดัลทาใหเ้ กดิ น้าขีน้ น้าลง เนื่องจากดวงจันทร์โคจรรอบโลก ขณะท่ีโลกเองก็หมุนรอบตัวเองจึงทาให้เรา มองเห็นดวงจันทร์ขึน้ ช้าไปวันละ 50 นาที หน่ึงวันมีน้าข้ึน 2 ครั้ง ดังนั้นน้าขึ้นครั้งต่อไป จะต้องบวกไปอีก 12 ช่ัวโมง 25 นาที เช่น น้าข้ึนครั้งล่าสุดน้าขึ้นเวลา 24.00 น. น้าขึ้น คร้งั ตอ่ ไปประมาณเวลา 12.25 น. และในวนั ถดั ไปน้าจะขน้ึ ประมาณเวลา 00.50 น.

น้าเกิดนา้ - ตาย ในวันข้ึน 15 ค่า และวันแรม 15 ค่า ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์เรียงตัวอยู่ ในแนวเดียวกัน แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์เสริมกัน ทาให้แรงไทดัล บนโลกเพิ่มข้ึน ส่งอิทธิพลให้ระดับน้าข้ึนสูงสุดและระดับน้าลงต่าสุดแตกต่างกันมากดัง ภาพเรยี กวา่ \"น้าเกดิ \" (Spring tides) ภาพการเกดิ ภาวะน้าเกิด ในวนั ขึ้น 8 คา่ และวนั แรม 8 ค่า ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์อยู่ในแนวต้ังฉาก กัน แรงโน้มถ่วงของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ไม่เสริมกัน ทาให้แรงไทดัลบนโลกลดลง ส่งอิทธิพลให้ระดับน้าข้ึนสูงสุดและระดับน้าลงต่าสุดไม่แตกต่างกันมากดังภาพท่ี 8 เรียกว่า \"น้าตาย\" (Neap tides) ภาพการเกดิ ภาวะนา้ ตาย

การเกดิ สรุ ิยปุ ราคา ดวงอาทิตย์มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางยาวกว่าดวงจันทร์ 400 เท่า แต่อยู่ห่าง จากโลกมากกว่าดวงจันทร์ 400 เท่า เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มีขนาด ปรากฎเท่ากันพอดี สุริยุปราคา หรือ สุริยคราส เป็นปรากฏการณ์ท่ีเกิดขึ้นจากดวง จันทร์โคจรผ่านหน้าดวงอาทิตย์ เราจึงมองเห็นดวงอาทิตย์ค่อยๆ แหว่งมากข้ึน จนกระทง่ั มดื มิดหมดดวงและโผล่กลับมาอีกคร้ัง คนในสมัยโบราณเรียกปรากฏการณ์นี้ วา่ “ราหูอมดวงอาทิตย์” สุริยุปราคาเกิดขึ้นเฉพาะในวันแรม 15 ค่า แต่ไม่เกิดขึ้นทุกเดือน เนื่องจาก ระนาบท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์และดวง จันทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกัน หากตดั กนั เปน็ มุม 5 องศา ดังน้ันโอกาสท่ีจะ เกิดสุริยุปราคาบนพื้นผิวโลก จึงมีเพียง ประมาณปีละ 1 คร้ัง และเกิดไม่ซ้าท่ีกัน เน่ืองจากเงาของดวงจันทร์ท่ีทาบไปบน พ้ืนผิวโลกครอบคลุมพ้ืนท่ีขนาดเล็ก และ โลกหมนุ รอบตัวเองอยา่ งรวดเรว็ ภาพ ระนาบวงโคจรของดวงจนั ทร์ตัดกบั ระนาบวงโคจรของโลกเปน็ มมุ 5°

เงาของดวงจันทร์ ดวงจนั ทรบ์ ังแสงจากดวงอาทติ ย์ ทาให้เกิดเงา 2 ชนิด คอื เงามืด และเงามวั เงามืด (Umbra) เป็นเงาท่ีมืดที่สุด เนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดสิ้น หากเราเขา้ ไปอยู่ในเขตเงามืดจะไมส่ ามารถมองเหน็ ดวงอาทติ ยไ์ ด้เลย เงามัว (Penumbra) เป็นเงาท่ีไม่มืดสนิท เน่ืองจากโลกบังดวงอาทิตย์เพียง ด้านเดียว หากเราเข้าไปเขตเงามัวจะมองเห็นบางส่วนของดวงอาทิตย์โผล่พ้นส่วน โค้งของโลก เงาท่ีเกดิ ขึ้นจงึ ไม่มืดนัก ภาพ การเกิดสรุ ิยุปราคา

ประเภทของสรุ ยิ ปุ ราคา เนือ่ งจากวงโคจรของดวงจนั ทรร์ อบโลกเป็นรูปวงรี ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์และ ระนาบวงโคจรของโลกไม่ซอ้ นทับกนั พอดี จึงทาให้เกดิ สุริยปุ ราคาได้ 3 แบบ ดงั น้ี 1. สุรยิ ปุ ราคาเตม็ ดวง (Total Solar Eclipse) เกดิ ขึ้นเมือ่ ผสู้ งั เกตการณ์อยู่ในเงา มดื บนพ้ืนผิวโลก (A) จะมองเห็นดวงจนั ทร์บังดวงอาทติ ยไ์ ด้มิดดวง 2. สุริยุปราคาบางส่วน (Partial Solar Eclipse) เกิดขึ้นเมื่อผู้สังเกตการณ์อยู่ใน เงามัวบนพ้ืนผิวโลก (B) จะมองเห็นดวงอาทติ ยส์ วา่ งเป็นเสยี้ ว 3. สุริยุปราคาวงแหวน (Annular Solar Eclipse) เนื่องจากวงโคจรของดวง จันทร์เป็นรูปวงรี บางครั้งดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกมาก จนเงามืดของดวงจันทร์ทอด ยาวไม่ถึงผิวโลก (C) ดวงจันทร์จึงมีขนาดปรากฏเล็กกว่าดวงอาทิตย์ ทาให้ผู้ สงั เกตการณม์ องเหน็ ดวงอาทิตย์เปน็ รูปวงแหวน สุริยุปราคา เกิดข้ึนในเวลากลางวันเมื่อดวงจันทร์เคลื่อนที่ผ่านหน้าดวงอาทิตย์ ปรากฏการณ์น้ีจะเกิดขึ้นนานประมาณ 3 ช่ัวโมง แต่ช่วงเวลาท่ีเกิดสุริยุปราคาเต็มดวง จะกินเวลาเพียง 2 - 5 นาทีเท่านั้น เนื่องจากเงามืดของดวงจันทร์มีขนาดเล็กมาก และ ดวงจนั ทรเ์ คลอื่ นทผี่ ่านดวงอาทิตยด์ ว้ ยความเรว็ 1 กโิ ลเมตรตอ่ วนิ าที ภาพ การเกิดสรุ ิยุปราคา แบบตา่ งๆ

จันทรุปราคา จันทรุปราคา หรือ จันทรคราส เกิดข้ึนจากดวงจันทร์โคจรผ่านเข้าไปใน เงาของโลก เราจึงมองเห็นดวงจันทร์แหว่งหายไปในเงามืดแล้วโผล่กลับออกมาอีกคร้ัง คนไทยสมัยโบราณเรียกปรากฎการณ์นี้ว่า \"ราหูอมจันทร์\" จันทรุปราคาจะเกิดข้ึน เฉพาะในคืนวันเพ็ญ 15 ค่า หรือคืนวันพระจันทร์เต็มดวง อย่างไรก็ตามปรากฏการณ์ จันทรปุ ราคาไม่เกดิ ข้นึ ทกุ เดอื น เนอื่ งจากระนาบท่ีโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์และระนาบ ท่ีดวงจันทร์โคจรรอบโลกไม่ใช่ระนาบเดียวกัน หากตัดกันเป็นมุม 5 องศา ดังน้ันจึงมี โอกาสทีจ่ ะเกิดจนั ทรปุ ราคาเพียงปลี ะ 1 - 2 ครัง้ ภาพ ระนาบวงโคจรของดวงจันทร์ ตัดกับ ระนาบวงโคจรของโลก เป็นมมุ 5° เงาของโลก โลกเป็นดาวเคราะห์ ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง หากแต่ได้รับแสงจาก ดวงอาทิตย์ ด้านที่หันหน้าเข้าหาดวงอาทิตย์เป็นเวลากลางวัน ส่วนด้านตรงข้าม กับดวงอาทิตย์เป็นเวลากลางคืน โลกบังแสงอาทิตย์ทาให้เกิดเงา 2 ชนิด คือ เงา มดื และเงามัว ภาพ การเกดิ จันทรปุ ราคา

เงามืด (Umbra) เป็นเงาที่มืดที่สุด เน่ืองจากโลกบังดวงอาทิตย์จนหมดส้ิน หากเราเข้าไปอย่ใู นเขตเงามืด จะไมส่ ามารถมองเห็นดวงอาทติ ย์ได้เลย เงามัว (Penumbra) เป็นเงาที่ไม่มืดสนิท เนื่องจากโลกบังดวงอาทิตย์เพียง ด้านเดียว หากเราเข้าไปเขตเงามัว เราจะมองเห็นบางส่วนของดวงอาทิตย์โผล่พ้น สว่ นโค้งของโลก เงาทเ่ี กดิ ขน้ึ จึงไม่มืดนัก จันทรปุ ราคาเกดิ ขนึ้ เฉพาะในคืนที่ดวงจันทร์เต็มดวง โดยท่ีดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทรเ์ รียงตัวเป็นเส้นตรง ผสู้ งั เกตการณ์ในซีกโลกกลางคนื สามารถมองเห็น ปรากฏการณ์ท้ังหมดได้นานประมาณ 3 ชั่วโมง แต่จะเห็นดวงจันทร์อยู่ในเงามืดได้ นานท่ีสุดไม่เกิด 1 ช่ัวโมง 42 วินาที เนื่องจากเงามืดของโลกมีขนาดเล็ก ดวงจันทร์ เคล่อื นทผี่ ่านเงามืดด้วยความเร็ว 1 กโิ ลเมตรตอ่ วนิ าที ประเภทของจันทรุปราคา เน่อื งจากระนาบวงโคจรของดวงจนั ทร์และระนาบวงโคจรของโลกไม่ซ้อนทับกัน พอดี จงึ ทาให้เกิดจันทรุปราคาได้ 3 แบบ ดงั นี้ จันทรุปราคาเต็มดวง (Total Eclipse) เกิดขึ้นเม่ือดวงจันทร์ท้ังดวงเข้าไป อยใู่ นเงามืดของโลก จันทรุปราคาบางส่วน (Partial Eclipse) เกิดข้ึนเม่ือบางส่วนของดวงจันทร์ เคล่ือนท่ีผ่านเข้าไปในเงามดื จันทรุปราคาเงามัว (Penumbra Eclipse) เกิดข้ึนเมื่อดวงจันทร์โคจรผ่าน เข้าไปในเงามัวเพียงอย่างเดียว เราจึงมองเห็นดวงจันทร์เต็มดวงมีสีคล้าเนื่องจาก ความสว่างลดน้อยลง จันทรุปราคาเงามัวหาดูได้ยาก เพราะโดยท่ัวไปดวงจันทร์ มกั จะผ่านเข้าไปในเงามดื ดว้ ย ภาพ การเกดิ จนั ทรปุ ราคา แบบต่างๆ

เอกสารอ้างองิ ศูนย์การเรียนร้วู ิทยาศาสตรโ์ ลกและดาราศาสตร์ http://www.lesa.biz/astronomy/astro-events สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ(องค์การมหาชน) http://www.narit.or.th/index.php


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook