Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการอบรมออนไลน์ AI for Schools Level 1 - 4

รายงานผลการอบรมออนไลน์ AI for Schools Level 1 - 4

Published by Prapaluck Piama, 2021-02-04 04:32:23

Description: รายงานผลการอบรมออนไลน์
หลักสูตรอบรมออนไลน์ปัญญาประดิษฐ์สำหรับโรงเรียน หลักสูตร 1 - 4
(AI for Schools Level 1 - 4)
รหัสหลักสูตร : CS020 CS025 CS026 และ CS027

Search

Read the Text Version

จดั โดย สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำขน้ั พ้นื ฐำน (สพฐ.) รว่ มกับสถำบนั สง่ เสรมิ กำรสอนวิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) เกยี่ วกับหลักสูตร หลักสูตรที่ให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ที่พบใน ชวี ติ ประจาวนั และการใชว้ ิจารณญาณในการรับข้อมูลจาก AI เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจพื้นฐานและใช้งาน อย่างรู้เท่าทนั นอกจากน้ยี ังไดใ้ ห้แนวคดิ เกย่ี วกับการเรียนรขู้ อง AI ผา่ นกิจกรรมแบบใช้คอมพิวเตอร์และไม่ใช้ คอมพิวเตอร์ เกณฑ์ผำ่ นกำรอบรม มคี ะแนนแบบฝกึ หัดและคะแนนแบบทดสอบสรุปความรรู้ วมกนั ไมต่ า่ กว่า 80% คณุ สมบัติผเู้ ขำ้ รบั กำรอบรม เป็นนักเรยี น นักศกึ ษา ครผู ูส้ อน หรือบุคคลท่ัวไป มีความพร้อมในการเข้าร่วมศึกษาและทากิจกรรม ตา่ ง ๆ ในระบบการอบรม จนจบหลกั สตู ร ระยะเวลำดำเนินกำรโครงกำร (เร่มิ ตน้ - สิน้ สุดโครงกำร) รบั สมัคร 30 กนั ยายน – 30 มกราคม 2564 อบรมออนไลน์ 5 ตลุ าคม 2563 – 30 มกราคม 2564 ตามท่ีข้าพเจ้า นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ตาแหน่ง ครู อันดับ คศ.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้เข้าร่วมการอบรมออนไลน์หลักสูตรปัญญาประดิษฐ์สาหรับโรงเรียน (AI for Schools) ผ่านระบบออนไลน์ ช่องทาง https://teacherpd.ipst.ac.th จัดโดย สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ.) ร่วมกับสถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) โดยข้าพเจ้า ได้สมัครเข้าร่วมการอบรมออนไลน์ต้ังแต่วันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2563 และอบรมในช่วงระยะเวลาระหว่างวันท่ี 5 ตุลาคม พ.ศ.2563 – 4 มกราคม พ.ศ.2564 ระยะเวลาในการอบรมหลักสูตรละ 8 ช่ัวโมง รวมเวลาท้ัง 4 หลกั สูตร จานวนท้ังหมด 32 ช่ัวโมง มีเนื้อหา/สาระการอบรม ดังนี้

เนือ้ หำประกอบดว้ ย 1. บทนา : ชว่ งเวลาของ AI และความรูเ้ บื้องตน้ เกี่ยวกบั AI 2. AI รอบตวั เรา : AI ท่ีมีบทบาทในด้านต่าง ๆ เช่น AI ในชีวิตประจาวัน AI ด้านบันเทิง AI ที่ช่วยใน การศกึ ษา AI ในการทางาน AI ด้านความปลอดภยั 3. รู้เท่าทัน AI : รู้จักกับปัญหาของ AI และการใช้วิจารณญาณในการรับข้อมูลจากระบบ AI การ หลอกระบบ AI และการปกป้องข้อมูลส่วนตวั 4. เรียนรู้ผา่ นกิจกรรม AI : ศึกษาแนวคิดเกยี่ วกบั การเรียนรู้ของ AI ผ่านกิจกรรมแบบใช้คอมพิวเตอร์ และไมใ่ ช้คอมพิวเตอร์ วตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตร เพอื่ สร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับปัญญาประดิษฐ์ในระดับพื้นฐาน ตระหนักถึงความสาคัญและมี วิจารณญาณในการใชง้ าน 1. AI ในชีวิตประจำวนั วัตถุประสงค์ : 1) เพือ่ ให้สามารถอธิบายประเภทของการทางานของ AI ได้ 2) เพอ่ื ให้สามารถยกตัวอยา่ งการนา AI มาใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้  หวั ข้อ 1 กำรทำงำนของ AI สามารถแบง่ การทางานของ AI ได้ 2 ประเภท ดงั นี้ 1) AI ทางานโดยการค้นหา (Search) คาตอบท่ีถกู ตอ้ งจากสง่ิ ทเี่ ป็นไปได้ทัง้ หมด 2) AI ทางานโดยการเรยี นรู้ (Learn) จากตวั อยา่ ง และใช้ความน่าจะเปน็ ในการทานายคาตอบ  หัวขอ้ 2 กำรนำ AI มำใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ตัวอย่างการนา AI มาใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น หาทางไปร้านอาหารที่ต้องการไป แป้นพิมพ์โดยใช้ เสียง ช่วยแต่งอีเมล์ให้ ปลดลอ็ คโทรศพั ท์ด้วยใบหนา้ หนุ่ ยนต์กวาดบ้าน 2. AI ผชู้ ว่ ยในกำรศึกษำ (AI : An Educational Aid) วตั ถุประสงค์ : 1) เพ่อื ให้รู้จักแอปพลิเคชันต่าง ๆ ทางดา้ นการศึกษาที่มี AI เปน็ องค์ประกอบหลัก 2) เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจเบอ้ื งตน้ ถึงหลกั การทางานของ AI ในแอปพลเิ คชันเหล่าน้ี  หัวข้อ 1 กำรเติมคำอัตโนมัติ มีกลไกโดยเครื่องเรียนรู้คาศัพท์ต่าง ๆ จากพจนานุกรม หรือ Dictionary โดยเครื่องเรียนรู้ว่าคาศัพท์ใดใช้บ่อยจากบทความต่าง ๆ และคาศัพท์ต่าง ๆ มักตามด้วยคาใด และนาสิ่งเหล่านี้มาสรา้ งโมเดล เพื่อให้เคร่อื งมคี วามฉลาดในการเตมิ คาให้ผใู้ ช้โดยอัตโนมัติ

 หัวข้อ 2 ระบบแนะนำเนือ้ หำอตั โนมตั ิ มีกลไกใช้ AI ในการวเิ คราะหจ์ ากชื่อ ความยาว คุณสมบัติ อื่น ๆ ของเน้ือหา เพือ่ แนะนาเนือ้ หาท่ีใกล้เคียงกัน โดยเว็บไซต์จะเก็บข้อมูลต่าง ๆ เช่น เพศ อายุ สถานที่อยู่ อาชพี ของผทู้ ่เี ขา้ มาเยี่ยมชม จากนนั้ จงึ นาข้อมลู เหล่านมี้ าใช้ในการตดั สินใจว่าจะแนะนาเน้ือหาใดใหแ้ ก่ผู้ใช้  หัวข้อ 3 กำรรู้จำลำยมือเขียน กลไกโมเดลการแปลงตัวหนังสือเป็นตัวอักษรมี 2 ลักษณะ 1) Online เรยี นรู้จากลาดบั การลากเสน้ ตวั หนังสือ แลว้ นามาแปลงเปน็ ตวั อักษร และ 2) Offline เรียนรู้จากภาพ ของตวั หนังสอื แลว้ นามาแปลงเปน็ ตวั อักษร  หัวข้อ 4 กำรตรวจจับกำรลอกกำรบ้ำน กลไกเปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่างระหว่าง การบ้านแต่ละชุด รวมทัง้ ระหวา่ งการบ้านและเนอื้ หาในอินเทอร์เน็ต 3. AI เพอ่ื ควำมบนั เทิง (Artificial Intelligence) วัตถปุ ระสงค์ : 1) แนะนาสอ่ื เพ่อื ความบันเทิงที่ใช้เทคโนโลยที างด้านปัญญาประดษิ ฐ์ 2) อธบิ ายถงึ วธิ ีการทางานอยา่ งง่ายของปญั ญาประดิษฐข์ องสือ่ เพื่อความบนั เทิง  หวั ข้อ 1 องค์ประกอบของส่ือเพอ่ื ควำมบนั เทิง แบ่งออกเปน็ 2 องค์ประกอบ 1) ตัวกลางของสื่อ และ 2) เนือ้ หาของส่อื  หวั ขอ้ 2 AI ในตัวกลำงของส่ือ โดยการใหป้ ระสบการณ์เฉพาะบคุ คลกับผใู้ ช้ AR และ VR  หัวข้อ 3 AI ในเน้ือหำของสื่อ เช่น Game Bot การตัดต่อวีดิโอด้วย AI งานศิลปะสร้างโดย AI และผู้ประกาศขา่ ว AI 4. AI ในกำรทำงำน วัตถุประสงค์ : 1) เพอื่ ใหส้ ามารถยกตัวอยา่ งการนา AI มาใช้ในการทางานได้ 2) เพ่ือให้สามารถอภปิ รายประเดน็ ตา่ ง ๆ ทม่ี กั ถกู หยิบยกมาพดู คุยในเร่อื งการนา AI มาใช้ใน การทางานได้  หัวขอ้ 1 กำรใชง้ ำน AI ใชเ้ พอื่ การสนับสนุนการทางานของคน ใช้เพ่ือทดแทนคน และใช้เพื่อทา ในสิง่ ทีค่ นทาไมไ่ ดม้ ากอ่ น  หัวข้อ 2 ตัวอย่ำงกำรนำปัญญำประดิษฐ์มำใช้ในกำรทำงำน เช่น การแพทย์ การเกษตร การ อตุ สาหกรรม การเงินการธนาคาร การให้บรกิ ารภาครัฐ  หัวข้อ 3 ประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับกำรนำปัญญำประดิษฐ์มำใช้ในกำรทำงำน เราสามารถนา AI มาใชใ้ นการทางานได้อยา่ งหลากหลายในทกุ ๆ อตุ สาหกรรม

5. AI ดำ้ นควำมปลอดภัย วตั ถุประสงค์ : 1) การประยกุ ต์ใช้ AI ดา้ นความปลอดภัย 2) ประโยชน์และขอ้ จากัดของ AI ด้านความปลอดภยั  หัวขอ้ 1 ควำมปลอดภยั บนทอ้ งถนน ตัวอยา่ ง AI for Road Safety แอปพลิเคชนั “ขับดี”  หัวข้อ 2 ควำมปลอดภัยภำยในบ้ำน ตัวอยา่ ง AI Sentinel Deep Sentinel  หวั ข้อ 3 ควำมปลอดภัยทำงไซเบอร์ ตัวอย่าง Watson for Cyber Security 6. เรำหลอก AI ได้ไหม? วัตถปุ ระสงค์ : 1) เพื่อใหร้ จู้ ักตวั อย่างของช่องโหว่ของ AI 2) เพ่ือให้มีความรูค้ วามเข้าใจในจรยิ ธรรมในการหาประโยชน์จากช่องโหวข่ อง AI  หวั ขอ้ 1 ตวั อยำ่ งช่องโหวข่ อง AI  หัวข้อ 2 จริยธรรมกับกำรหลอก AI เราควรปฏิบัติต่อระบบ AI ด้วยเจตนาท่ีสุจริต และ ผลกระทบที่อาจจะเกดิ ข้นึ ตอ่ ตนเอง คนรอบขา้ ง และสังคมในวงกวา้ ง 7. กำรใชว้ ิจำรณญำณในกำรรับข้อมลู จำกระบบ AI และปัญหำของ AI วัตถปุ ระสงค์ : 1) เพอ่ื ใหส้ ามารถระบุประเด็นทค่ี วรใชว้ จิ ารณญาณในการรับข้อมูลจาก AI ได้ 2) เพอ่ื ให้สามารถระบปุ ญั หาของ AI ได้  หัวข้อ 1 ประเด็นทค่ี วรใชว้ จิ ำรณญำณในกำรรับขอ้ มลู จำก AI โดยพจิ ารณาคาตอบของ AI ว่ามี ความถกู ต้องนา่ เชอื่ ถือมากน้อยเพยี งใด และเหตใุ ด AI จงึ ตอบเช่นนั้น  หัวขอ้ 2 ปัญหำของ AI ปัญหาที่เกี่ยวกับการให้ตัวอย่างกับระบบ AI ได้แก่ ความเอนเอียง และ ความทนทางจากข้อมูลต่าง ๆ ปัญหาเกี่ยวกับการนาระบบ AI ไปใช้อย่างไม่เหมาะสม เช่น การละเมิดความ เปน็ สว่ นตวั 8. AI กับควำมเป็นส่วนตวั วตั ถุประสงค์ : 1) AI ใชข้ อ้ มูลส่วนตวั อะไรของเราบา้ ง 2) ตระหนกั ถึงความสาคัญของขอ้ มลู ส่วนตวั  หัวข้อ 1 Cayla ตุ๊กตำ AI สอ่ื สารกบั เด็ก ๆ โดยการสนทนา โดยการเช่ือมต่ออินเทอร์เน็ต บันทึก การสนทนาของเด็ก ๆ และส่งขอ้ มลู ไปยงั ผผู้ ลิตเพอื่ วเิ คราะห์  หัวข้อ 2 China’s surveillance cameras ลักษณะการทางานโดยกล้องวงจรปิดวิเคราะห์ ตรวจจับใบหน้าจากฐานข้อมูลของพลเมอื ง

9. กจิ กรรมปญั ญำประดิษฐ์ กจิ กรรม : 1) กระดาษฉลาดจุง 2) เค้าเป็นใคร ช่วยบอกที 3) ทายใจลงิ 4) หวานเว่อร์ คอมพิวเตอรเ์ รยี นรู้ รู้จกั AI ในรปู แบบท่ีเปน็ กฎการทางานเป็นข้อ ๆ คล้ายโปรแกรมท่ัว ๆ ไปซ่ึงผู้เช่ียวชาญจะต้องคิดไว้ ล่วงหน้าวา่ จะใหโ้ ปรแกรมทางานอยา่ งไร ในสถานการณ์ใด ซงึ่ AI ชนดิ นี้ดูเหมือนง่ายมาก สาหรับการเล่น OX และทางานบรรลุเปา้ หมายไดจ้ ริง 10. เค้ำเป็นใคร ชว่ ยบอกที วัตถปุ ระสงค์ : 1) เรียนรู้ว่าคอมพวิ เตอร์มีกระบวนการตัดสินใจเพื่อรู้จาคนอย่างไร 2) เรียนรู้กระบวนการ Feature Extraction (การดึงลักษณะเด่น) ที่คอมพิวเตอร์ใช้ใน กระบวนการร้จู าคน - การรจู้ าคนดว้ ยคอมพิวเตอร์ ไมส่ ามารถเปรยี บเทียบรูปภาพโดยตรง เพราะคนเดียวกันใน 2 ภาพมี ความแตกตา่ งกัน - การร้จู าคนดว้ ยคอมพวิ เตอร์ ใชก้ ารดงึ ลักษณะเดน่ (Feature Extraction) ซ่ึงคือการแปลงข้อมูลต้ัง ตน้ เช่น ภาพ เปน็ ขอ้ มลู ลกั ษณะเด่น ซึ่งคอมพิวเตอร์นาไปประมวลผลต่อโดยการเปรียบเทียบข้อมูลลักษณะ เด่นของภาพอน่ื ซ่งึ การร้จู าคนดว้ ยคอมพิวเตอร์มีโอกาสผิดพลาดได้ 11. ทำยใจลงิ วตั ถปุ ระสงค์ : 1) เรียนรู้วา่ คอมพวิ เตอรม์ กี ระบวนการตัดสินใจเพือ่ จาแนกประเภทอย่างไร 2) ลองสร้างโมเดลเพอื่ จาแนกประเภท เช่น การสรา้ งตน้ ไม้ตดั สินใจ 3) วดั ความถกู ต้องในการจาแนกประเภท - AI จะจาแนกข้อมูลโดยใช้ pattern และหาวิธีการจาแนกที่ดีที่สุดสาหรับข้อมูลสอน โดยโมเดลการ จาแนกหนง่ึ คือการใช้ตน้ ไมต้ ดั สินใจ (Decision Tree) ซ่ึงโมเดลการจาแนกไมส่ ามารถทาไดถ้ กู ต้องตลอดเวลา 12. หวำนเวอ่ ร์ คอมพิวเตอร์เรยี นรู้ วัตถุประสงค์ : 1) เลน่ เกม Hexapawn แข่งกับ Sweet Learning Computer 2) รจู้ ัก AI ประเภททเ่ี รียนรจู้ ากการผดิ พลาดของตนเอง - AI สามารถเรียนรู้จากข้อผิดพลาด โดยทุกคร้ังท่ีเกิดข้อผิดพลาดก็จะไม่ทาซ้าแบบเดิมอีก และเม่ือ เวลาผา่ นไป กท็ าใหข้ อ้ ผดิ พลาดน้อยลง เพราะสิ่งทีท่ าใหเ้ กดิ ขอ้ ผดิ พลาดตา่ ง ๆ ถูกตัดออกไปแลว้

13. กจิ กรรมปัญญำประดิษฐ์ วัตถปุ ระสงค์ : 1) ศึกษาการเรยี นร้ขู อง AI ในการทานายภาพทีว่ าด 2) ทากจิ กรรมง่าย ๆ เพ่ือรู้จกั AI ใหม้ ากขน้ึ - AI เรียนรู้จากข้อมูลท่ีเราป้อนเข้าไป ซึ่งการเรียนรู้จะมีประสิทธิภาพหรือไม่ ขึ้นอยู่กับข้อมูลท่ีเรา ป้อนเข้าไป โดยขอ้ มลู ท่ปี อ้ นให้ AI ต้องเปน็ ข้อมลู ทถ่ี กู ตอ้ ง ไม่เอนเอียง ซ่งึ ในการเพิม่ ชดุ ข้อมูลท่ีซับซ้อนข้ึนจะ ชว่ ยให้ AI ฉลาดขน้ึ หรอื ทางานได้ตามผลลพั ธ์ตามที่เราต้องการมากยง่ิ ขน้ึ

หลักสตู รอบรมออนไลนป์ ัญญาประดิษฐ์สาหรับโรงเรียน หลักสูตร 2 มีเน้ือหาประกอบด้วย 7 หน่วย การเรยี นรู้ ได้แก่ หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 ร้จู ัก AI ประวตั คิ วามเปน็ มาและพัฒนาการของ AI จากอดีตถึงปัจจุบัน หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2 หลักการพ้นื ฐานของ AI หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 รปู แบบการตัดสนิ ใจของ AI หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 4 การประยกุ ต์ใชแ้ นวคิดของ AI เพ่อื แก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 5 วิเคราะหห์ ลักการทางานของ AI ในชวี ิตประจาวัน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 ประโยชนข์ อง AI ในชีวติ ประจาวัน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 7 การใช้งาน AI อยา่ งรเู้ ทา่ ทัน วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร 1. รจู้ ักแนวคิดในการพฒั นา AI องคป์ ระกอบ ความสามารถและรปู แบบการตัดสินใจของ AI agent 2. เข้าใจการนาหลกั การของ AI ไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั 3. ตระหนักถึงผลกระทบจากเทคโนโลยี AI หลักสูตรอบรมออนไลน์ปัญญาประดิษฐ์สาหรับโรงเรียน หลักสูตร 3 เป็นหลักสูตรสาหรับผู้ท่ีสนใจ ศึกษาความรดู้ า้ นปญั ญาประดิษฐ์ 1. แนะนาหลกั สตู รอบรมออนไลน์ ปญั ญาประดิษฐ์สาหรับโรงเรียน (AI For school) หลักสูตร 3 2. หลักการทางานของการเรยี นรู้ของเคร่ือง 3. ขอ้ มลู ในการเรยี นร้แู บบมีผู้สอน 4. การจาแนกประเภทดว้ ยต้นไม้ตดั สนิ ใจ 5. การถดถอยเชงิ เสน้ 3. ผลกระทบของข้อมลู ต่อโมเดล

หลักสตู รอบรมออนไลนป์ ญั ญาประดิษฐ์สาหรับโรงเรียน หลักสูตร 4 มีเนื้อหาประกอบด้วย 8 หน่วย การเรยี นรู้ ได้แก่ หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 แนะนาหลักสตู รปญั ญาประดษิ ฐ์หลกั สูตร 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การออกแบบระบบปัญญาประดิษฐ์ ประกอบด้วยเนื้อหา การออกแบบระบบ แชต็ บอต และการออกแบบระบบห่นุ ยนต์ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 3 ทบทวนแนวคดิ ต้นไม้ตัดสินใจ ประกอบด้วยเนื้อหา แนวคิดต้นไม้ตัดสินใจ การ แบง่ กลุ่ม มาตรวัด Gini การทางานของอลั กอรทิ ึม CART การเขยี นโปรแกรมเพื่อสร้างต้นไม้ตัดสินใจ และการ ปรับแตง่ ตน้ ไม้ตดั สินใจ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 4 การสรา้ งแชต็ บอต ประกอบด้วยเนือ้ หา สว่ นตอ่ ประสานกับผู้ใช้ด้วยการสนทนา การส่อื สารระหว่างมนุษยแ์ ละคอมพิวเตอร์ การออกแบบองค์ประกอบและบุคลิกของแช็ตบอต การออกแบบ บทสนทนา การสรา้ งแชต็ บอตดว้ ยอับดุล และการประยกุ ต์ใชแ้ ชต็ บอตผ่าน LINE หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 KidBright AI Platform ประกอบด้วยเนื้อหา KidBright AI Platform, KidBright AI IDE กระบวนการเรยี นรปู้ ัญญาประดิษฐ์และการประยกุ ตใ์ ชผ้ ่าน KidBright AI หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 6 การสร้างแอปพลิเคชัน AI ดว้ ย MIT App Inventor ประกอบด้วยเน้ือหา การสร้าง แอปพลิเคชนั ร้จู าภาพ การสรา้ งเกม และการเขียนแอปพลเิ คชัน AI Assistant หน่วยการเรียนรู้ท่ี 7 ผลกระทบต่องานและอาชีพ ประกอบด้วยเน้ือหา งานและลักษณะของอาชีพท่ี ได้รบั ผลกระทบจาก AI ขอ้ จากัดของปญั ญาประดิษฐ์ ลักษณะของงานที่เปล่ียนแปลงไป และแนวทางการพัฒนา ตนเอง หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 AI กับจริยธรรม ประกอบด้วยเนื้อหา ความสาคัญและตัวอย่างของ AI ด้าน จรยิ ธรรม ประเดน็ สาคัญด้านจรยิ ธรรมกับ AI และเมือ่ ปญั ญาประดษิ ฐ์เก่งกว่ามนุษย์



โปสเตอรป์ ระชำสมั พันธเ์ ชิญสมัครเข้ำร่วมกำรอบรมออนไลน์ หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรยี น (AI for Schools)

โปสเตอร์ประชำสมั พันธ์เชญิ สมคั รเขำ้ ร่วมกำรอบรมออนไลน์ หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐส์ ำหรบั โรงเรยี น หลักสตู ร 1 (AI for Schools Level 1)

โปสเตอร์ประชำสมั พันธ์เชญิ สมคั รเขำ้ ร่วมกำรอบรมออนไลน์ หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐส์ ำหรบั โรงเรยี น หลักสตู ร 2 (AI for Schools Level 2)

โปสเตอร์ประชำสมั พันธ์เชญิ สมคั รเขำ้ ร่วมกำรอบรมออนไลน์ หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐส์ ำหรบั โรงเรยี น หลักสตู ร 3 (AI for Schools Level 3)

โปสเตอร์ประชำสมั พนั ธเ์ ชิญสมคั รเขำ้ ร่วมกำรอบรมออนไลน์ หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐส์ ำหรับโรงเรยี น หลักสตู ร 4 (AI for Schools Level 4)

วธิ ีกำรเขำ้ อบรมออนไลน์หลักสูตรปญั ญำประดิษฐ์สำหรับโรงเรยี น (AI for Schools) วธิ ลี งชอ่ื เขำ้ ใช้งำน 1. ไปยงั เว็บไซตข์ องระบบอบรมครู 2. คลิกปุม่ “เขา้ สู่ระบบ”  3. กรอกขอ้ มูล ช่อื ผู้ใช้และรหสั ผ่าน เพื่อลงชอื่ เข้าใชง้ าน  

ผลกำรอบรมออนไลน์หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรียน หลกั สตู ร 1 (AI for Schools Level 1)

เกียรตบิ ัตรกำรเข้ำรับกำรอบรมออนไลน์ หลักสูตรปัญญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรยี น หลักสูตร 1 (AI for Schools Level 1) รหสั หลักสตู ร : CS020 สมคั รเข้ำรว่ มกำรอบรมออนไลน์ในชว่ งวันที่ 5 ตลุ ำคม พ.ศ.2563 และอบรมในช่วงระยะเวลำระหวำ่ ง วนั ท่ี 5 – 15 ตุลำคม 2563 ผ่ำนช่องทำง https://teacherpd.ips.ac.th เปน็ เวลำ 8 ช่ัวโมง ขำ้ พเจ้ำขอรับรองวำ่ ข้อมูลขำ้ งต้นเปน็ ควำมจริงทุกประกำร (นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ) ผู้เข้ารบั การอบรม คำรับรองของผ้บู ังคบั บัญชำ ขำ้ พเจ้ำขอรับรองวำ่ ขอ้ มูลท่รี ำยงำนข้ำงต้นเป็นควำมจริงทุกประกำร (นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถติ ) ผ้อู านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถัมภ์”

ผลกำรอบรมออนไลน์หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรียน หลกั สตู ร 2 (AI for Schools Level 2)

เกยี รติบัตรกำรเขำ้ รับกำรอบรมออนไลน์ หลกั สูตรปัญญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรยี น หลักสตู ร 2 (AI for Schools Level 2) รหสั หลกั สตู ร : CS025 สมัครเข้ำรว่ มกำรอบรมออนไลนใ์ นช่วงวนั ท่ี 1 พฤศจกิ ำยน พ.ศ.2563 และอบรมในชว่ งระยะเวลำระหวำ่ ง วนั ที่ 30 ตลุ ำคม – 2 พฤศจกิ ำยน 2563 ผ่ำนช่องทำง https://teacherpd.ips.ac.th เปน็ เวลำ 8 ชว่ั โมง ขำ้ พเจำ้ ขอรับรองว่ำขอ้ มลู ขำ้ งตน้ เปน็ ควำมจรงิ ทกุ ประกำร (นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ) ผูเ้ ขา้ รับการอบรม คำรับรองของผูบ้ ังคบั บญั ชำ ข้ำพเจ้ำขอรบั รองว่ำข้อมลู ท่ีรำยงำนข้ำงต้นเป็นควำมจริงทกุ ประกำร (นางมนัสดากาณฑ์ รกั ษพ์ งศ์สถติ ) ผู้อานวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา “สีสุกหวาดจวนอุปถัมภ์”

ผลกำรอบรมออนไลน์หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรียน หลกั สตู ร 3 (AI for Schools Level 3)

เกยี รตบิ ตั รกำรเขำ้ รับกำรอบรมออนไลน์ หลกั สูตรปญั ญำประดษิ ฐ์สำหรบั โรงเรยี น หลกั สูตร 3 (AI for Schools Level 3) รหัสหลกั สตู ร : CS026 สมัครเขำ้ รว่ มกำรอบรมออนไลน์ในช่วงวนั ที่ 1 ธันวำคม พ.ศ.2563 และอบรมในชว่ งระยะเวลำระหวำ่ ง วันที่ 30 พฤศจิกำยน 2563 – 4 มกรำคม 2564 ผำ่ นช่องทำง https://teacherpd.ips.ac.th เปน็ เวลำ 8 ชวั่ โมง ขำ้ พเจ้ำขอรบั รองว่ำขอ้ มูลข้ำงตน้ เปน็ ควำมจริงทุกประกำร (นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ) ผเู้ ข้ารับการอบรม คำรับรองของผบู้ ังคับบัญชำ ขำ้ พเจ้ำขอรับรองวำ่ ขอ้ มูลท่ีรำยงำนข้ำงตน้ เปน็ ควำมจริงทุกประกำร (นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์”

ผลกำรอบรมออนไลน์หลกั สตู รปญั ญำประดิษฐ์สำหรบั โรงเรียน หลกั สตู ร 4 (AI for Schools Level 4)

เกยี รตบิ ตั รกำรเขำ้ รับกำรอบรมออนไลน์ หลกั สูตรปญั ญำประดษิ ฐ์สำหรบั โรงเรยี น หลกั สูตร 4 (AI for Schools Level 4) รหัสหลกั สตู ร : CS027 สมัครเขำ้ รว่ มกำรอบรมออนไลน์ในช่วงวนั ที่ 1 ธันวำคม พ.ศ.2563 และอบรมในชว่ งระยะเวลำระหวำ่ ง วันที่ 30 พฤศจิกำยน 2563 – 4 มกรำคม 2564 ผำ่ นช่องทำง https://teacherpd.ips.ac.th เปน็ เวลำ 8 ชวั่ โมง ขำ้ พเจ้ำขอรบั รองว่ำขอ้ มูลข้ำงตน้ เปน็ ควำมจริงทุกประกำร (นางสาวประภาลกั ษณ์ เพยี มะ) ผเู้ ข้ารับการอบรม คำรับรองของผบู้ ังคับบัญชำ ขำ้ พเจ้ำขอรับรองวำ่ ขอ้ มูลท่ีรำยงำนขำ้ งตน้ เปน็ ควำมจริงทุกประกำร (นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศส์ ถิต) ผอู้ านวยการโรงเรยี นบางมดวิทยา “สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook