ผู้เรียน มีความสนใจ กระตอื รอื ร้นในการทากิจกรรมต่าง ๆ เพราะบทเรียนออนไลน์ เป็นสื่อที่มีความสวยงาม ทนั สมยั และเข้าถึงได้งา่ ยเรียนได้ทุกทที่ ุกเวลา และสามารถเข้าถงึ กลมุ่ เปา้ หมายไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 3. สะทอ้ นผลการใช้ส่ือนวัตกรรมในการแกป้ ัญหา สมาชกิ ในกลุ่ม PLC รว่ มกันอภปิ รายพจิ ารณาทบทวนปญั หา อุปสรรคและแนวทางการแก้ปัญหาด้าน การเรยี นรขู้ องนักเรียน เพ่ือปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรียนรู้ของครผู ูส้ อน 4. ผลการนาส่อื นวตั กรรมฯไปแก้ปญั หา ประสบความสาเร็จ ประเด็นท่นี าไปส่รู ายงานการวจิ ัย เรื่อง “การพฒั นารปู แบบการจัดการเรียนการสอน ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้ และ พฒั นาความรูค้ วามสามารถครบตามหลักสูตร รายวชิ าวิทยาการคานวณ ระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563” 5. สมาชิกร่วมกนั ปรบั ปรงุ แบบกิจกรรมตามทไ่ี ดส้ ะทอ้ นผล และ ปรับแผนกจิ กรรม นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่แก้ไขปรับปรุงตามคาแนะนาของครูร่วมเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ และหัวหน้า กลุ่มสาระฯ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพร่วมสังเกตการณ์ ซึ่ง แผนการจดั การเรยี นรนู้ ี้มีขนั้ ตอนสาคัญในการจัดกิจกรรมการพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการสอนโดยเน้นรูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model) ซ่ึงครูมอบหมายให้นักเรียนเป็นผู้ศึกษาจากบทเรียนออนไลน์ท่ีครูได้สร้างข้ึน และ ศึกษาเน้ือหาจากบทเรียนออนไลน์ด้วยตนเอง ซ่ึงครูจะทาหน้าที่ช้ีแนะ และอธิบายเพิ่มเติม จากน้ันครูและ นักเรียนจะรว่ มกันสรปุ องค์ความรู้ท่ีไดจ้ ากการจดั กจิ กรรมภายในชั้นเรียน 6. กจิ กรรมทไี่ ด้ร่วมทา ผูส้ อนนาเสนอผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง วิทยาการคานวณ จากบทเรียนออนไลน์ จากน้ันครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และผู้เช่ียวชาญได้ให้ข้อคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเด่น จุดด้อย ปัญหาและ อปุ สรรค รวมท้ังใหค้ าแนะนาในการพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ เมื่อสิ้นสุดขั้นตอนการสะท้อนคดิ แล้ว ผู้สอน บันทึกผลการสะท้อนคิดหลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากน้ันปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ และทาวจิ ัยปฏิบตั ิการในชน้ั เรียนตอ่ ไป 7. แนวทางการนาความรูไ้ ปใช้ ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาอภิปราย เพือ่ แลกเปลี่ยนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเก่ียวกับความสาเร็จ จุดเด่นและจุดที่ต้อง พฒั นาในการจดั การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ จากน้ันนาไปสู่การอบรมคูปองพัฒนาครู และนาผลการประชุมไป บนั ทกึ ใน Log book ของตนเอง เพื่อเกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป เลิกประชุมเวลา 16.55 น.
ลงช่อื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กลุ จิตติธร ) หวั หน้ากลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารวิชาการ ลงชอ่ื ........................................................ผรู้ ับรอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ) ผูอ้ านวยการโรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอุปถัมภ\"์
ภาพการปฏิบัติกจิ กรรม PLC ภาพการจัดกจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิของครรู ว่ มเรียนรู้ (After Action Review : AAR) โดยดำเนินกำรในวันท่ี 17 กมุ ภำพนั ธ์ 2564
แบบบนั ทึกกจิ กรรมชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ\"์ ชื่อกลุ่ม “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้งั ที่ 13 ภาคเรยี นท่ี 2/2563 วนั /เดือน/ปี : 24 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 เร่มิ ดาเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จสนิ้ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาท้งั ส้นิ 2 ชว่ั โมง กจิ กรรมครั้งนีส้ อดคล้องกบั การพัฒนาบทเรยี นรว่ มกนั ( Lesson study ) ( ทาเครอ่ื งหมาย ลงในชอ่ ง ) ข้นั ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ขั้นท่ี 2 ปฏบิ ัตแิ ละสงั เกตการเรียนรู้ (Do& See) ขั้นที่ 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรุงใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูทีเ่ ข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมรี ายช่ือและบทบาทตอ่ กิจกรรม ดังน้ี ท่ี ชอื่ -สกลุ บทบาทหน้าที่ ลายมอื ชอ่ื 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ผู้อานวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานชุ รัตนวิชยั ผเู้ ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หวั หน้ากลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครผู ้สู อนหลกั 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ่วมเรยี นรู้ 6. นางสาวณัฐทติ า รักษา ครูรว่ มเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพียมะ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายรัฐชา รัตนวรรณ์ ครูร่วมเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจริญ ครูรว่ มเรียนรู้ 10. นายวรกิตติ์ กาแพงเมอื ง ครูรว่ มเรยี นรู้ 1. งาน/กิจกรรม สรปุ รายงานผล ครัง้ ท่ี 1 (การอภิปรายผล) 2. ประเด็นปญั หา/ประเด็นการพฒั นา จากปัญหาที่สาคัญท่ีสุดของกลุ่ม คือ ปัญหาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาให้ไม่สามารถจัดการเรยี นการสอนได้ตามปกติ จาเป็นต้องมี การเว้นระยะหา่ งทางสังคม มีการแบ่งกลมุ่ นกั เรียน แบง่ เวลาเรยี น ทาให้เวลาเรียนในห้องเรียนน้อยลงทาให้การ
จดั การเรียนการสอนไมค่ รอบคลมุ ตามเนอ้ื หาการเรยี นรู้ ครูผสู้ อนและสมาชิกในกลมุ่ PLC ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพอ่ื แก้ไขปญั หาดงั กล่าว แลว้ นาไปใชจ้ ดั กจิ กรรมให้แกผ่ ูเ้ รียน 3. สาเหตุของปัญหา เนื่องจากมีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (COVID-19) ทาให้มีการเว้นระยะห่างทาง สังคม มีการแบง่ กลุ่มนกั เรียน แบ่งเวลาเรยี น ทาให้เวลาเรียนในห้องน้อยลง ทาให้การจัดการเรียนการสอนไม่ ครอบคลุมตามเนือ้ หา 4. ความรู้หรือหลกั การทนี่ ามาประยกุ ตใ์ ช้/แนวทางการแกไ้ ขปญั หา ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรรู้ ่วมกันสะทอ้ นความคิดทง้ั จดุ เดน่ จุดด้อย ปัญหา-อปุ สรรค รวมทั้งแนะนาวิธีการ แก้ปัญหา โดยพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นแบบ distance learning การเรียนการ สอนทางไกล ใชส้ ือ่ การเรียนออนไลน์ เช่น Google Classroom , Google Site มาช่วยเพิ่มเติมจากการเรียน ในห้องเรยี นปกติ ทาให้นักเรยี นศกึ ษาบทเรียนย้อนหลังไดท้ กุ ที่ ทุกเวลา 5. กิจกรรมท่ีได้ร่วมทา (อธิบายลักษณะของกิจกรรม) ผสู้ อนนาเสนอผลการปฏิบตั ิการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากนั้นครูร่วมเรียนรู้ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ และ ผเู้ ชยี่ วชาญใหข้ ้อคดิ เหน็ เกี่ยวกบั จุดเดน่ จดุ ดอ้ ย ปัญหาและอุปสรรค รวมทั้งให้คาแนะนาในการพัฒนาการจัด กจิ กรรมการเรยี นรู้ เมอ่ื ส้นิ สุดขนั้ ตอนการสะทอ้ นคดิ แล้ว ผูส้ อนบนั ทึกผลการสะทอ้ นคดิ หลังปฏิบัติการ (After Action Review : AAR) จากนั้นปรับปรงุ แผนการจัดการเรยี นรู้ และทาวจิ ัยปฏบิ ัตกิ ารในชน้ั เรียนตอ่ ไป 6. สมาชิกร่วมกันอภิปรายผล นาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการ สอน เพอื่ อานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยส่ือการเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าสนใจ และ ทาให้ผู้เรียนสามารถอา่ นทบทวนเนอื้ หายอ้ นหลงั ได้และยงั เปิดโอกาสใหผ้ ้เู รียนเขา้ ถึงแหล่งเรียนรไู้ ดท้ ุกท่ี ทกุ เวลา เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงช่อื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กุลจติ ติธร ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระฯ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผูอ้ านวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ ลงชื่อ........................................................ผรู้ บั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รกั ษ์พงศ์สถิต ) ผอู้ านวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สสี ุกหวาดจวนอปุ ถมั ภ\"์
ภาพการปฏิบตั กิ ิจกรรม PLC ภาพการจดั กจิ กรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลมุ่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” สรปุ รายงานผล คร้ังที่ 1 (การอภิปรายผล) โดยดำเนนิ กำรในวันท่ี 24 กุมภำพันธ์ 2564
แบบบันทึกกจิ กรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (Professional Learning Community : PLC) กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสกุ หวาดจวนอุปถมั ภ์\" ช่ือกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” ครัง้ ท่ี 14 ภาคเรียนท่ี 2/2563 วัน/เดอื น/ปี : 3 มนี าคม 2564 เร่ิมดาเนนิ การเวลา 14.55 น. เสร็จสน้ิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 2 ชวั่ โมง กิจกรรมคร้ังนี้สอดคล้องกับการพัฒนาบทเรยี นรว่ มกัน ( Lesson study ) ( ทาเคร่ืองหมาย ลงในช่อง ) ข้นั ที่ 1 วเิ คราะหแ์ ละวางแผนการจัดการเรยี นรู้ (Analyze & Plan) ข้นั ที่ 2 ปฏบิ ัตแิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do& See) ขั้นท่ี 3 สะท้อนความคิดและปรบั ปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครทู ่เี ข้ารว่ มกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายช่ือและบทบาทต่อกจิ กรรม ดังนี้ ท่ี ชือ่ -สกลุ บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือช่ือ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษ์พงศ์สถิต ผอู้ านวยการโรงเรยี น 2. นางสาวชัญญานุช รตั นวชิ ยั ผ้เู ช่ียวชาญ 3. นายยศกร เรืองไพศาล หัวหน้ากลุ่มสาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครูผสู้ อนหลัก 5. นายประพาฬ แกว้ วงษา ครูร่วมเรียนรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รักษา ครรู ่วมเรียนรู้ 7. นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ครูรว่ มเรียนรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 9. นางสาวอรสา ดิษฐเจรญิ ครูรว่ มเรยี นรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมอื ง ครรู ่วมเรยี นรู้ 1. สภาพหรอื กลุม่ ปัญหา ปญั หาการจดั การเรียนการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาใหไ้ มส่ ามารถจดั การเรยี นการสอนไดต้ ามปกติ 2. งาน/กจิ กรรม สรุปรายงานผล ครั้งที่ 2 (การสรปุ ผล และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนา) 3. สรุปสงั เคราะห์การเรียนรู้จากสมาชิกในทีม จุดอ่อน จดุ เดน่ ของการดาเนินการ 3.1 ประเดน็ ดา้ นผเู้ รียน - นักเรียนมีแรงจูงใจในการเรียนและสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการสอน บทเรียน ออนไลน์ และจากเวบ็ ไซต์ตา่ ง ๆ ที่ครแู นะนา ทาให้การจัดการเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเน้อื หาการเรียนรู้
- ผู้เรียนมีความรับผิดชอบ มีความกระตือรือร้นในการเรียนมากกว่าปกติ มีความตั้งใจใฝ่หาความรู้ ใหม่ๆ ตรงกับระบบการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผเู้ รียนเปน็ ศนู ยก์ ลาง โดยมผี สู้ อนเป็นเพียงผู้แนะนา ทป่ี รึกษา และแนะนา แหล่งความรใู้ หม่ๆ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการเรยี น ผูเ้ รียนสามารถทราบผลย้อนกลับของการเรียน รู้ความก้าวหน้าได้ จาก E-Mail การประเมินผล การประเมินย่อย โดยใชเ้ วบ็ ไซตเ์ ป็นท่สี อบ และการประเมินผลรวม ท่ีใช้การสอบ แบบปกตใิ นห้องเรยี น เพอ่ื เป็นการยืนยนั วา่ ผเู้ รียนเรยี นจริงและทาข้อสอบจรงิ ได้หรอื ไม่อยา่ งไร 3.2 ประเดน็ ด้านกจิ กรรม - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านสื่อเทคโนโลยี ICT ตลอดจนเอกสารประกอบการสอน เป็น ลกั ษณะการเรยี นร้จู ากแหลง่ เรยี นรนู้ อกช้นั เรยี นท่ีทาใหผ้ เู้ รียนสามารถเรยี นรไู้ ดท้ กุ ทท่ี กุ เวลา - การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนออนไลน์ทาให้การเรียนการสอนครอบคลมุ ตามเน้อื หา 3.3 ประเด็นด้านครู - ครูจะทาหน้าทค่ี อยใหค้ วามช่วยเหลือ ให้คาปรึกษา และดึงศกั ยภาพของผู้เรียนให้สามารถเรียนรู้ได้ ด้วยตนเอง สรา้ งแรงจงู ใจและแรงบันดาลใจในการเรียน 3.4 ประเด็นสื่อการสอน - สื่อกจิ กรรมและแหลง่ การเรียนรู้มคี วามถูกต้องเหมาะสมมีประสิทธิภาพ (ดา้ นคุณภาพ) - สือ่ มีความเพยี งพอเหมาะสม (ดา้ นปริมาณ) - ผู้เรียน และผู้สอนสามารถเข้าถึงสื่อการเรียนการสอนได้ง่าย โดยจะใช้ web browser ใดก็ได้ ผเู้ รียนสามารถเรยี นจากเครื่องคอมพวิ เตอร์ทีใ่ ดก็ได้ และในปัจจุบนั นกี้ ารเขา้ ถงึ เครอื ขา่ ยอนิ เตอร์เน็ตกระทาได้ งา่ ยขนึ้ มาก และยงั มีค่าเชื่อมตอ่ อินเตอร์เน็ตทม่ี รี าคาตา่ ลงมากว่าแต่ก่อนอกี ดว้ ย 3.5 ประเด็นด้านบรรยากาศ - การออกแบบบรรยากาศในห้องเรียนแบบออนไลน์ เป็นสิ่งที่สาคัญที่จะทาให้ผู้เรียนให้ความสนใจ ใคร่รูแ้ ละพร้อมที่จะร่วมพดู คุยแลกเปล่ียนเรยี นรู้อยา่ งมีส่วนรว่ มมากขน้ึ จุดแข็งจดุ อ่อนของการสอน - มกี ารนาเทคโนโลยเี ขา้ มาบูรณาการ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน - กระบวนการทางานพฒั นาวชิ าชพี ครแู บบชุมชนแห่งการเรียนรู้ มีระบบการทางานตามรปู แบบ PDCA - เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการเรยี นการสอน - สนับสนนุ การเรียนการสอน - เนน้ การเรียนแบบผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ตรงตามหัวใจของการปฏริ ูปการศกึ ษา 4. ผลการดาเนินงาน นาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์มาใช้ในการแก้ไขปัญหา และเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียน การสอน เพื่ออานวยความสะดวกให้ผู้สอนสามารถจัดเตรียมการสอนด้วยสื่อการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย น่าสนใจ และทาให้ผู้เรียนสามารถอ่านทบทวนเน้ือหาย้อนหลังได้และยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ได้ทุกที่ ทกุ เวลา
5. ร่องรอย/หลกั ฐาน 5.1 แผนการจัดการเรยี นรู้ พรอ้ มบนั ทกึ หลงั การสอน 5.2 ภาพการพูดคยุ ปรึกษากบั สมาชิกกล่มุ PLC 5.3 ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน 5.4 แบบสังเกตการณจ์ ดั กจิ กรรมการเรียนการสอน 5.5 ภาพการนิเทศการสอน 6. ผลลพั ธ์ทไ่ี ดจ้ ากกิจกรรม 6.1 ผลลพั ธ์ทเ่ี กิดจากกระบวนการ 1) มีองค์ความรู้ นวตั กรรม และประเด็นความรู้ทนี่ า่ สนใจ ทเี่ กดิ ขึน้ จากการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ของ สมาชิกเครือข่าย ท่ีเป็นประโยชน์กับครู และครูสามารถนาไปใช้ในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์กับผู้เรียนได้ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม (สมาชกิ เครอื ข่ายมีการนาไปใชไ้ ด้อยา่ งชดั เจน) 2) มรี อ่ งรอยการรายงานผลการนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และประเด็นความร้ทู ่นี ่าสนใจ ที่เกิดข้ึน ของสมาชิกเครือข่ายไปใช้ตลอดระยะทด่ี าเนินโครงการทกุ คร้ังที่มีการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้โดยสมาชิกทกุ คน 3) ผู้สอนหลักและสมาชิกในกลุ่ม PLC สามารถนาผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู้มา อภิปรายเพื่อแลกเปล่ียนความคิด โดยมีครูผู้สอนหลักเป็นผู้สะท้อนความคิดเกี่ยวกับความสาเร็จ จุดเด่นและ จุดทต่ี ้องพัฒนาในการจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6.2 ผลลัพธ์ทเ่ี กิดกับผ้เู รียน / ครู / สมาชกิ ทเ่ี ข้าร่วมเครอื ข่าย PLC 1) ผู้เรยี นไดก้ ารเรียนร้ตู ามเปา้ หมาย และวัตถปุ ระสงคท์ กี่ าหนดไว้ทกุ ประการ และมีความชัดเจน ทั้งเชิงปรมิ าณและคุณภาพ 2) ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนดีข้ึน และทาให้ผู้เรียนได้พัฒนาและเกิดคุณลักษณะอย่าง ชดั เจน 3) ผู้สอนได้รับความรู้และประสบการณ์ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงและพัฒนาแผนการ จัดการเรียนรู้ และผู้สอนได้รับนวัตกรรมและเร่ิมวางแผนจดั ทาวิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในช้นั เรยี น 4) ผู้สอนสามารถนาความรู้และประสบการณท์ ่ีไดร้ ับจากการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ ในการออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ และสามารถนาวัตกรรมการเรียนรู้ท่ีได้รับจากการทาวิจัยปฏิบัติการใน ชั้นเรยี นไปใช้พฒั นาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ 6.3 คณุ คา่ ทเี่ กดิ ต่อวงการศกึ ษา 1) มีเครอื ข่ายท่ชี ดั เจน และการขยายเครอื ข่ายแล้วและมคี วามชัดเจน เป็นรปู ธรรมและมแี นวโนม้ การเกิดเครอื ขา่ ยเพม่ิ ข้นึ 2) การร่วมกันรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของนักเรียน ให้ผลการเรียนรู้ท่ีต้องการให้เกิดขึ้นในตัว นักเรยี น โดยครทู ่เี ป็นสมาชกิ ในชุมชนการเรียนร้ทู างวชิ าชีพทุกคนวางเป้าหมายร่วมกนั
เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงช่ือ.......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรอื งไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กลุ จติ ตธิ ร ) หัวหน้ากล่มุ สาระฯ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รองผ้อู านวยการกล่มุ บรหิ ารวิชาการ ลงชื่อ........................................................ผู้รบั รอง ( นางมนัสดากาณฑ์ รักษ์พงศส์ ถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวิทยา \"สีสกุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์\"
ภาพการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” สรปุ รายงานผล คร้งั ที่ 2 (การสรุปผล และเสนอแนะแนวทางในการพฒั นา) โดยดำเนินกำรในวันท่ี 3 มีนำคม 2564
แบบบนั ทึกกิจกรรมชุมชนแหง่ การเรยี นรทู้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นบางมดวทิ ยา \"สสี กุ หวาดจวนอปุ ถมั ภ์\" ชื่อกล่มุ “PLC Teaching for the Critical Thinking” คร้งั ท่ี 15 ภาคเรยี นที่ 2/2563 วนั /เดอื น/ปี : 10 มนี าคม 2564 เรม่ิ ดาเนินการเวลา 14.55 น. เสร็จส้นิ เวลา 16.55 น. รวมระยะเวลาทัง้ ส้นิ 2 ชั่วโมง กิจกรรมครั้งนสี้ อดคลอ้ งกับการพัฒนาบทเรียนรว่ มกัน ( Lesson study ) ( ทาเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ ง ) ขน้ั ที่ 1 วเิ คราะห์และวางแผนการจัดการเรียนรู้ (Analyze & Plan) ข้ันที่ 2 ปฏิบตั แิ ละสังเกตการเรยี นรู้ (Do& See) ข้นั ที่ 3 สะทอ้ นความคิดและปรับปรงุ ใหม่ (Reflect & Redesign) จานวนครูที่เขา้ ร่วมกจิ กรรม 10 คน โดยมีรายชื่อและบทบาทต่อกิจกรรม ดงั นี้ ท่ี ช่อื -สกุล บทบาทหนา้ ท่ี ลายมือชอื่ 1. นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศส์ ถิต ผูอ้ านวยการโรงเรียน 2. นางสาวชญั ญานุช รตั นวิชัย ผู้เช่ยี วชาญ 3. นายยศกร เรอื งไพศาล หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ 4. นางสาวรงั สมิ า ไกรนรา ครูผ้สู อนหลกั 5. นายประพาฬ แก้ววงษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 6. นางสาวณฐั ทิตา รักษา ครรู ว่ มเรยี นรู้ 7. นางสาวประภาลักษณ์ เพยี มะ ครรู ว่ มเรยี นรู้ 8. นายรฐั ชา รัตนวรรณ์ ครรู ่วมเรียนรู้ 9. นางสาวอรสา ดษิ ฐเจริญ ครูร่วมเรียนรู้ 10. นายวรกติ ต์ิ กาแพงเมอื ง ครูร่วมเรยี นรู้ 1. สภาพหรือกลุม่ ปัญหา ปัญหาการจัดการเรยี นการสอนในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) ทาใหไ้ มส่ ามารถจัดการเรียนการสอนไดต้ ามปกติ 2. งาน/กจิ กรรม เผยแพร่กจิ กรรม/ชิน้ งาน/นวตั กรรม (Best Practices)
3. ผลการดาเนินงาน 4.1 ได้นวัตกรรมในการแกไ้ ขปญั หา 4.2 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียนดขี ึน้ หรือเปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่ตกลงกันไว้ 4.3 พฤติกรรมการตดิ ตามงานของนกั เรียนท่มี ปี ัญหาเปลีย่ นไปในทางท่ีดขี ้ึนตามข้อตกลงท่ีตั้งไว้ 4.4 นาไปส่กู ารอบรมพัฒนาครู และรวบรวมส่ง เพอ่ื เกบ็ เป็นหลักฐานในการรายงานต่อไป 4. รอ่ งรอย/หลักฐาน 4.1 แผนการจดั การเรียนรู้ พร้อมบันทกึ หลงั การสอน 4.2 ภาพการพูดคยุ ปรกึ ษากับสมาชิกกล่มุ PLC 4.3 ภาพกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4.4 แบบสังเกตการณ์จัดกิจกรรมการเรียนการสอน 4.5 ภาพการนิเทศการสอน 5. การเผยแพร่กจิ กรรม/ช้ินงาน/นวัตกรรม 5.1 รวบรวมเอกสารรอ่ งรอยหลักฐานต่าง ๆ ท่ีเกิดจากการจัดกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563 5.2 จัดทารูปแบบการนาเสนอเป็นหนังสืออเิ ล็กทรอนิกส์ หรือ E-Book เพือ่ การนาเสนอท่นี ่าสนใจ 5.3 เผยแพร่ไฟล์หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ออนไลน์ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และส่ือสังคมโซเชียล จะทาให้การกระจายสอ่ื ทาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และกว้างขวางกว่าสอื่ ทีอ่ ยู่ในรูปส่อื สง่ิ พมิ พ์ เลกิ ประชุมเวลา 16.55 น. ลงชอ่ื .......................................................... ผู้บันทึก ( นางสาวประภาลกั ษณ์ เพียมะ ) ( นายยศกร เรืองไพศาล ) ( นางสาวณภทั ร กุลจิตติธร ) หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองผูอ้ านวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ ลงช่ือ........................................................ผู้รบั รอง ( นางมนสั ดากาณฑ์ รักษพ์ งศ์สถิต ) ผู้อานวยการโรงเรียนบางมดวทิ ยา \"สีสกุ หวาดจวนอปุ ถัมภ\"์
ภาพการปฏิบัตกิ ิจกรรม PLC ภาพการจัดกิจกรรม PLC (Professional Learning Community : PLC) ของกลุม่ “PLC Teaching for the Critical Thinking” เผยแพรก่ จิ กรรม/ชิน้ งาน/นวตั กรรม (Best Practices) โดยดำเนินกำรในวันที่ 10 มีนำคม 2564
Search